<<
กุมภาพันธ์ 2561
 123
45678910
11121314151617
18192021222324
25262728 
 
18 กุมภาพันธ์ 2561
 

เทคนิคการรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์



การวิเคราะห์ เป็นการแยกแยะสิ่งที่จะพิจารณาออกเป็นส่วนย่อยที่มีความสัมพันธ์กันเพื่อทำความเข้าใจแต่ละส่วนให้แจ่มแจ้ง รวมทั้งการสืบค้นความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆเพื่อดูว่าส่วนประกอบปลีกย่อยนั้นสามารถเข้ากันได้หรือไม่สัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันอย่างไร ซึ่งจะช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างแท้จริงโดยพื้นฐานแล้ว การวิเคราะห์ถือเป็นทักษะที่มนุษย์ฝึกได้

ข้อมูล คือ ข้อมูลที่ทำการเก็บรวบรวม โดยทั่วไปจะมีจำนวนมาก เมื่อได้ข้อมูลมาแล้วก็จะมีการดำเนินกับข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การแยกประเภท การจัดชั้น การสังเขปการหาข้อสรุปเกี่ยวกับลักษณะต่างๆ ของข้อมูล การพิจารณาหาว่าข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ มีความสัมพันธ์กับข้อมูลอื่นหรือไม่อย่างไรตลอดจนอาจทำการพยากรณ์เหตุการณ์ในอนาคต จากข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ กระบวนการต่างๆเหล่านี้เรียกว่า การวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะดำเนินการในรายละเอียดอย่างไรและเพียงไรนั้น ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล และเรื่องที่ต้องการศึกษา ในบางกรณีการวิเคราะห์ข้อมูลก็ทำโดยใช้กราฟ ดังนั้น เมื่อพิจารณาให้ดีจะเห็นว่าบางขั้นตอนของการวิเคราะห์ข้อมูล เช่น การจัดชั้น หรือแยกประเภทของข้อมูล จะต้องเตรียมวางแผนพร้อมกันไปกับการเก็บรวบรวมและการนำเสนอข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลนั้นแบ่งออกเป็นลำดับขั้นตามนี้


     เก็บรวบรวม คือ การตีความหมาย การหากลุ่มเป้าหมาย ชื่อเรื่อง เนื้อเรื่องที่เราจะทำการเจาะ ในส่วนนี้การหาข้อมูลที่เราได้รวบรวมมาจากหลายๆ ที่เป็นขั้นตอนแรกในการทำการวิเคราะห์ข้อมูลก็คือการที่เรา ได้ไปเก็บข้อมูลตามสถานที่ เว็ปไซต์ หนังสือ อ้างอิง ต่างๆจึงได้ข้อมูลที่มีปริมาณพอสมควรแล้วจึงจะเริ่มขั้นที่ 2 ได้

แยกประเภท คือ การแยกประเภทข้อมูลอาจเป็นขั้นตอนที่พอเพียงสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลบางอย่างซึ่งไม่ต้องการศึกษาข้อมูลในขั้นลึกซึ้งนัก แต่สำหรับการศึกษาบางอย่างการแยกประเภทข้อมูลเป็นเพียงขั้นเตรียมงานเท่านั้น ซึ่งในประการหลังนี้ลักษณะต่างๆ ของข้อมูลทั้งที่เป็นรายข้อมูล และในส่วนรวมจะต้องได้รับการพิจารณาและศึกษาอย่างละเอียดมากนัก

    จัดชั้นหรือการสังเขปคือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ในขั้นแรกจะอยู่ในสภาพที่ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยยังไม่สามารถทำการหาข้อสรุปของลักษณะต่างๆ ของข้อมูลได้ข้อมูลที่อยู่ในรูปเช่นนี้มีชื่อเรียกว่า "ข้อมูลดิบ" (Raw data) ดังนั้น เพื่อให้ข้อมูลอยู่ในสภาพพร้อม ที่จะสามารถหาข้อสรุปหรือทำการวิเคราะห์โดยวิธีอื่นๆ ได้ จึงอาจดำเนินการสังเขปข้อมูลดิบหรือจัดข้อมูลดิบทั้งสิ้น ให้อยู่ในรูปแบบใหม่ ซึ่งเป็นระเบียบเรียบร้อยและมีขนาดกะทัดรัดสะดวกต่อการดำเนินการวิเคราะห์ในขั้นต่อไปการสังเขปข้อมูลตามที่กล่าวมานี้เรียกว่า "การแจกแจงความถี่" (Frequency distribution)

     หาข้อสรุป คือ ข้อมูลแต่ละชุดที่เก็บรวบรวมมาได้อาจมีลักษณะการแจกแจงความถี่แตกต่างกันไปดังได้กล่าวแล้วในข้อ ๒ในการวิเคราะห์ข้อมูล เราจำเป็นต้องศึกษาอย่างละเอียดละออว่า ข้อมูลชุดนั้นๆบอกอะไรแก่เราบ้าง เช่น สมมุติว่า มีข้อมูลเกี่ยวกับรายได้ต่อปีของคนจำนวนหนึ่งซึ่งเป็นตัวอย่างของประชากรทั้งประเทศ สิ่งต่างๆ ที่อาจต้องการทราบก็คือประชากรมีรายได้ต่อปีเฉลี่ยคนละเท่าไร รายได้ของคนมั่งมีและคนยากจนแตกต่างกันมากหรือไม่ และถ้าคนส่วนใหญ่ค่อนข้างยากจนคนเหล่านี้มีมากเพียงไร ค่าเหล่านี้คือ ค่าซึ่งบอกลักษณะต่างๆ ของข้อมูลซึ่งเป็นค่าสถิติอย่างหนึ่ง และสามารถคำนวณหาได้

พยากรณ์ คือ พยากรณ์ บางคนอาจนึกถึงโหรหรือหมอดู เพราะการพยากรณ์ก็คือการทำนายล่วงหน้า ซึ่งมักเป็นงานของโหร แต่การพยากรณ์มิใช่งานผูกขาดของโหร ใครๆก็พยากรณ์ได้ ต่างกันก็แต่ว่า หลักเกณฑ์และวิธีการที่ใช้ในการพยากรณ์แตกต่างกันอย่างไรเท่านั้น การพยากรณ์ที่ทำกันโดยทั่วไปมีอยู่ ๓ วิธี คือ

· พยากรณ์โดยอาศัยประสบการณ์และความชำนาญ

· พยากรณ์โดยอาศัยเหตุการณ์ และหลักฐานบางอย่าง

· การพยากรณ์ทางสถิติ

ต่ที่เราจะพูดถึงนั้นเป็นการพยากรณ์วิเคราะห์จากข้อมูลทั้งหมดที่เราค้นหามานั้นแล้ว หรือพูดง่ายคือ การพยากรณ์ทางสถิติ ข้อมูลอนุกรมเวลาเป็นเครื่องมือการพยากรณ์โดยวิธีนี้ จะต้องศึกษาถึงพฤติการณ์ของเรื่องนั้นๆ ที่เกิดขึ้นในอดีตว่ามีลักษณะอย่างไรเสียก่อน แล้วจึงทำการพยากรณ์ข้อมูลอนุกรมเวลาจะบอกให้ทราบถึงพฤติการณ์นั้นๆตัวอย่างของการพยากรณ์ทางสถิติในเรื่องที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจ และธุรกิจ ได้แก่การพยาการณ์จำนวนประชากรของประเทศ การพยากรณ์ผลผลิตทางการเกษตร ปริมาณการขายระดับราคาสินค้า ฯลฯ เป็นต้น การพยากรณ์ทางสถิติจะทำได้ต่อเมื่อพฤติการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตมีความแปรผันตามปกติเช่น แต่ละปีที่ผ่านไป จำนวนประชากรของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆหรืออัตราการตายของเด็กอายุต่ำกว่า ๑ ปี มีแนวโน้มลดลงอย่างสม่ำเสมอหรือสินค้าเครื่องกันหนาวจะขายได้มากในฤดูหนาว แต่จะขายได้น้อยในฤดูอื่นๆ เป็นต้นแต่ถ้าพฤติการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต มีความแปรผันผิดปกติ การวิเคราะห์นั้น มรข้อสรุปหลายคำตอบ แต่ต้องมีคำตอบที่มีความเป็นไปได้ สูงสุด ถึงความเป็นไปได้น้อยก็ได้หมายวความว่าจะเป็นไปไม่ได้เลย เพราะความแปรผัน จากอดีตและปัจจุบันไม่มีความแน่นอน เราจะเห็นได้จากในอดีตและปัจจุบัน มีการใช้หลักการนี้ในวงการต่างๆโดย เฉพาะ วงการพนัน ฟุตบอลออนไลน์ คาสินออนไลน์ เป็นต้น โดยอย่างเช่น บางเว็ปไซต์นั้นจะมีการวิเคราะห์บอลสด หรือ แจกทีเด็ดให้ลูกค้าเพื่อเล่นตามเราหรือไม่เล่นก็แล้วแต่ เป็นเพียง การวิเคราะห์เล็กๆ เพื่อผลประโยชน์ซะมากกว่าแต่อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์แท้จริงแล้วก็เพื่อผลประโยชน์ของตัวเองทั้งนั้น หรือถ้าเราไม่ไม่ใจในข้อมูลของผู้อื่น ก็เอาข้อมูลอื่นนั้น มากลั่นกรองอีกทีได้ครับที่นี้ ก็จะได้ข้อสรุปที่มความเป็นไปได้อีกมากมาย เพราะ การวิเคราะห์แต่ละคนนั้นมันแตกต่างกันมากบางคน ก็ใช้หลักสถิติ ความเป็นไปได้ ความหน้าจะเป็น บ้างก็ ใช้หลายสิ่งโดยไม่มีที่กล่าวมา ก็คือ ความเชื่อ จิตวิณญาณ วิเคราะห์ทุกอย่างที่ อยู่รอบตัวเรากับธรรมชาติ ความเป็นคนใช้หลากหลายวิธีการมากครับ

ที่กล่าวมาข้างต้นนั้น กระผมนั้นได้มาจากประสบการณ์ล้วนๆ และอิงทฤษฏีพอสมควร ถ้ากระผมได้คิด หรือแสดงหลักการที่ผิดไปจากผู้รู้ ก็ต้องโทษไว้ด้วยนะครับเพราะ ผมเขียน จากความจริงที่ผมเจอมา สรุปสั้นการวิเคราห์นั้น “ความเป็นไปได้มาก ถึงความเป็นไปได้น้อยก็ได้หมายวความว่าจะเป็นไปไม่ได้เลย”


ขอบคุณแหล่งที่มา :

https://goo.gl/Rpu4T5

https://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=6&chap=11&page=t6-11-infodetail06.html

https://www.xn--72c0baa3d6aqa5bv4k5b5f.in.net/index.php/topic,126009.0.html

https://smbwheel.com/webboard/index.php?topic=586734.msg855993#msg855993




Create Date : 18 กุมภาพันธ์ 2561
Last Update : 18 กุมภาพันธ์ 2561 15:37:04 น. 0 comments
Counter : 905 Pageviews.  
 

GicKz97
 
Location :


[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 2 คน [?]




[Add GicKz97's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com