ความรู้คู่ความก้าวหน้า
 
Segment Routing จาก White Paper ของ Cisco

เรียนท่านผู้อ่านทุกท่าน:
ก่อนอื่นขอแจ้งก่อนนะครับว่า บทความนี้ผมไม่แต่งเอง แต่เป็นการแปลจาก White Paper ของ Cisco ให้หัวข้อเรื่อง "Segment Routing: Prepare Your Network for New Business Models White Paper"
 
วัตถุประสงค์ของการแปลนี้ ไม่ใช่เพื่อการค้า หรือหากำไรใดๆ ทั้งสิ้น แต่เพื่อเป็นการเผยแผ่ความรู้ เพื่อการศีกษานะครับ และอีกอย่างครับ ผมไม่ใช่นักแปลอาชีพ แต่เหตุที่ออกตัวว่าเป็นการแปล เพราะเผื่อจะได้เป็นไอเดียในการแปล สำหรับคนที่กำลังฝึกอ่านภาษาอังกฤษนะครับ อย่าดราม่ากันเลยนะครับ หากผมแปลไม่ดี
 
เอาล่ะ เริ่มกันเลยดีกว่า!!!!!!!
 
 

Segment Routing: Prepare Your Network for New Business Models White Paper

Segment Routing: Introduction and Value Proposition

Segment Routing: การแนะนำ และการนำเสนอคุณค่าของ Segment Routing
 

Segment routing is a network technology focused on addressing the pain points of existing IP and Multiprotocol Label Switching (MPLS) networks in terms of simplicity, scale, and ease of operation. It’s a foundation for application engineered routing because it prepares the networks for new business models where applications can direct network behavior.

Segment routing seeks the right balance between distributed intelligence and centralized optimization and programming. It was built for the software-defined networking (SDN) era.

 

Segment routing เป็น network technology ที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหาจุดอ่อนของ IP และ Multiprotocol Label Switching (MPLS) networks ที่มีอยู่ใน terms ของ ความเรียบง่าย, ความสามารถในการขยาย, และความสะดวกในการดำเนินงาน

มันเป็นรากฐานสำหรับ applicatoin engineered routing เพราะมันเตรียมความพร้อม network สำหรับรูปแบบธุรกิจ ใหม่ๆ ที่ application สามารถสั่ง หรือชี้นำ (direct) ลักษณะการทำงานของ network (network behavior) ได้

Segment routing พยายามสมดุลระหว่าง distributed intelligence และ centralized optimization และ programming ซึ่งมันถูกสร้างขึ้นมาเพื่อยุคของ software-defined networking (SDN) นั่นเอง

 

Segment routing enables enhanced packet forwarding behavior. It enables a network to transport unicast packets through a specific forwarding path, other than the normal shortest path that a packet usually takes. This capability benefits many use cases, and you can build those specific paths based on application requirements.

Segment routing uses the source routing paradigm. A node, usually a router but it can also be a switch, a trusted server, or a virtual forwarder running on a hypervisor, steers a packet through an ordered list of instructions, called segments. A segment can represent any instruction, topological or service-based. A segment can have a local semantic to a segment-routing node or global within a segment-routing network. Segment routing allows you to enforce a flow through any topological path and service chain while maintaining per-flow state only at the ingress node to the segment-routing network. To be aligned with modern IP networks, segment routing supports equal-cost multipath (ECMP) by design, and the forwarding within a segment-routing network uses all possible paths, when desired.

 

Segment routing ช่วยให้พฤติกรรมการ forwarding packet ถูกยกระดับขึ้นมา ซึ่งมันจะทำให้ network สามารถที่จะขนส่ง packet ที่เป็นแบบ unicast ผ่านเส้นทางการ forwarding ที่เจาะจงตามที่ต้องการได้ ที่นอกเหนือไปจาก shortest path แบบธรรมดาๆ ที่ packet มักจะทำกัน

 

ความสามารถนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ ตัวอย่างของการใช้งาน (use cases)” จำนวนมาก และคุณสามารถที่จะสร้างเส้นทางที่เจาะจงเหล่านั้นบนพื้นฐานของวามต้องการของ application (application requirements) ได้

 

Segment routing ใช้กรอบความคิดแบบ “source routing หรือการค้นหาเส้นทางบนพื้นฐานของต้นทาง

คำว่า “node” โดยปกติแล้วจะหมายถึง router แต่นอกจากนั้นแล้ว มันก็ยังสามารถที่จะเป็น switch, trusted server, หรือ virtual forwarder ที่ run อยู่บน hypervisor ได้อีกด้วย

Note: Node จะทำการชี้นำ packet ผ่านทาง “ordered list of instructions หรือ การแนะแนว ในการ forward ซึ่งเป็นรายการที่ได้ถูกจัดลำดับเอาไว้ซึ่งจะถูกเรียกว่า segment

 

Segment สามารถที่จะเป็นตัวแทนของ การแนะแนว (instruction), topological หรือ services-based ได้ โดย segment สามารถที่จะมีความหมายที่เป็นแบบ local (local semantic) ต่อ segment-routing node หรือ global ที่อยู่ภายใน segment-routing network ได้

 

Segment routing จะทำให้เราสามารถที่จะบังคับ packet ให้ไหลผ่านทาง topological path และ service chain ใดๆ ก็ได้ในขณะที่ทำการ maintaining สถานะ (state) แบบ per-flow ไปยัง segment-routing network จะอยู่ที่ ingress node เท่านั้น (การ maintaining per-flow state จะทำอยู่ที่ ingress node เท่านั้น)

 

เพื่อที่จะทำให้สอดคล้องกับ modern IP network และการ forwarding ที่อยู่ภายใน segment-routing network แล้วนั้น ให้ใช้เส้นทาง (path) ทั้งหมดที่เท่าที่เป็นไปได้ เมื่อมีความต้องการที่จะใช้มัน 

Note: Segment routing ถูกออกแบบมาให้สนับสนุน (support) equal-cost multipath (ECMP) อยู่แล้ว

 
===================================
 
NEW!!!!
 
Segment routing relies on a small number of extensions to routing protocols (Intermediate System-to-Intermediate System [IS-IS], Open Shortest Path First [OSPF], and Border Gateway Protocol [BGP]), and can operate with either an MPLS or an IPv6 data plane. All the currently available MPLS services, such as Layer 3 VPN (L3VPN), L2VPN (Virtual Private Wire Service [VPWS], Virtual Private LAN Services [VPLS], Ethernet VPN [E-VPN], and Provider Backbone Bridging Ethernet VPN [PBB-EVPN]), can run on top of a segment-routing transport network.
One of the key characteristics of segment routing is simplicity:
● From a configuration perspective, the number of lines required to enable segment routing is minimum, usually three lines of configuration.
● From an operational perspective, it simplifies the operation of an MPLS network by making the label value constant across the core of the network.
● From a scale and simplicity perspective, segment routing is especially powerful in the era of SDN with application requirements programming the network behavior and where traffic differentiation and engineering are done at a finer granularity (for example, application-specific).
 
 
Segment routing จะอาศัยการขยายเล็กน้อยของ routing protocol (อย่างเช่น IS-IS, OSPF และ BGP) และสามารถใช้งานได้กับ MPLS data plane หรือไม่ก็ IPv6 dtata plane ได้

การให้บริการ MPLS ทั้งหมดที่มีอยู่ในปัจจุบันอย่างเช่น Layer 3 VPN (L3VPN), L2VPN (Virtual Private Wire Service [VPWS], Virtual Private LAN Service [VPLS], Ethernet VPN [E-VPN] และ Provider Backbone Bridging Ethernet VPN [PBB-EVPN], จะสามารถrun อยู่บน segment-routing transport network ได้

หนึ่งในลักษณะที่สำคัญของ segment routing ก็คือความเรียบง่าย:
  • จากมุมมองของ configure แล้ว, จำนวนบรรทัดของการ configure ที่จะทำการ enable segment routing จะต่ำมาก,ซึ่งโดยปกติแล้วจะอยู่ที่สามบรรทัดของการ configure
  • จากมุมมองของการปฏิบัติงาน (operation) แล้ว, มันช่วยลดความยุ่งยากในการดำเนินงานของ MPLS network โดยการ marking ค่าของ label ข้าม core ของ network
  • จากมุมมองในเรื่องของขนาดและความเรียบง่ายแล้ว, segment routing มีประสิทธิภาพเป็นอย่างยิ่งในยุคของ SDN ที่application มีความต้องการในการ programming พฤติกรรมของ network (network behavior) และ programming ว่า ที่ไหนที่มีความแตกต่างกันของ traffic และการจัดการจะถูกทำอย่างละเอียดยิ่งขึ้น (สำหรับตัวอย่างก็คือ application-specific)
 
 
------------ To Be Continued -----------
 
โก้-ชัยวัฒน์



Create Date : 19 พฤศจิกายน 2559
Last Update : 4 ธันวาคม 2563 15:53:59 น. 0 comments
Counter : 3738 Pageviews.  
 
Name
Opinion
*ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก

kochaiwat
 
Location :
กรุงเทพฯ Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 693 คน [?]




เริ่มงานครั้งแรกที่บริษัท UIH (United Information Highway) ซึ่งเป็นบริษัทผู้ให้บริการทางด้านการสื่อสารข้อมูล อาทิเช่น Lease Line, Frame Relay และ MPLS และได้ย้ายไปร่วมงานกับบริษัท dtac โดยได้ทำงานเกี่ยวกับ IP Network (Switch/Router/Firewall/F5-Loadbalancer) รวมถึง MPLS Network และ IPRAN (IP Radio Access Network) ซึ่งเป็น IP Network ที่รองรับ Access ของ Mobile System นอกจากนั้นยังสนใจศึกษาเรื่อง IPv6 Address ที่จะมาใช้แทน IPv4 ที่เราใช้งานอยู่ในปัจจุบัน
แต่ด้วยความชอบในการแบ่งปันความรู้ จึงได้มีโอกาสสอน CCNA อยู่ที่สถาบันแห่งหนึ่งในอาคารฟอร์จูนทาวน์ในวันเสาร์-อาทิตย์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 จนถึง พ.ศ. 2553 รวมเป็นเวลา 4 ปี, หลังจากนั้นในระหว่างที่ทำงานที่ dtac ก็ได้สอนเสาร์-อาทิตย์เรื่อยมา

เคยเป็น Trainer หรือ Instructor อย่างเต็มตัว สอนวิชาต่างๆ ของ Cisco อย่างเป็นทางการ (Authorize Training) ที่บริษัท Training Partner Thailand จนถึง มีนาคม 2014 และได้ตัดสินใจออกมาสอนเอง เพราะด้วยความรักในอาชีพการสอน และต้องการที่จะแบ่งปันความรู้ให้กับบุคคลในระดับกลางและล่างเพื่อส่งเสริมให้ได้มีโอกาสได้เรียน และได้มีโอกาสสมัครงาน แต่ด้วยใจรักในบริษัท Cisco ดังนั้น เมื่อมีโอกาสเข้ามา จึงได้ตัดสินใจหยุดการสอน และได้เข้าไปเป็นพนักงาน หรือทำงานที่บริษัท Cisco Thailand ตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559 (2016) จนถึงปัจจุบัน

ลูกค้าที่เคยมารับการอบรม เช่น
- Lao Telecom Company Ltd
- CAT Telecom
- TOT
- True
- dtac
- CDG Group
- SITA air transport communications and information technology (www.sita.aero/)
- Infonet Thailand
- MultiLink Co., Ltd
- โรงพยาบาลไทยนครินทร์
- และเคยไปเป็นวิทยากรพิเศษที่ มหาวิทยลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ

ปัจจุบัน โก้-ชัยวัฒน์ ได้ผ่านการสอบ:
- Cisco Certified Internetwork Expert (CCIE) No. 51353 และ
- Cisco Certified Systems Instructor (CCSI) ซึ่งเป็น Certificate ที่ออกให้โดย Cisco สำหรับผู้ที่จะเป็นผู้สอน Cisco Certificate อย่างเป็นทางการ และได้รับ CCSI ID: 34784

วิชาที่สามารถได้สอนได้สำหรับ Cisco Certificate ในขณะนี้คือ
- CCNA Routing & Switching
- CCNA Security (IINS)
- CCNP Route & Switch: ROUTE
- CCNP Route & Switch: SWITCH
- CCNP Route & Switch: TSHOOT
- MPLS (IOS)
- MPLS Traffic Engineering (IOS)
- CCNP Service Provider: SPROUTE (OSPF, IS-IS, BGP, Prefix-List, Route-Map and RPL (Routing Policy Language))
- CCNP Service Provider: SPADVROUTE (Advance BGP, Multicast, and IPv6)
- CCNP Service Provider: SPCORE (MPLS, MPLS-TE, QoS)
- CCNP Service Provider: SPEDGE (MPLS-L3VPN, MPLS-L2VPN (AToM and VPLS)
- IPv6

Certification ที่มีอยู่ในปัจจุบัน CCIE# 51353, CCSI# 34784, CCNA Routing & Switching, CCNA Security (IINS), CCNA Design, CCNP Routing & Switching, CCIP, CCNP Service Provider ซึ่งเป็น Certification ของ Cisco product รวมถึง Certification ของสถาบัน EC-Council (www.eccouncil.org) นั่นคือ Certified Ethical Hacker (CEH)

"เป้าหมายมีไว้ให้ไล่ล่า บ้างเหนื่อยล้าบ้างหยุดพัก
ชีวิตแม้ยากนัก แต่เรารักเราไม่ถอย
ชีวิตแม้ต้องคอย จะไม่ปล่อยไปวันๆ
ชิวิตไม่วายพลัน แม้นสักวันต้องได้ชัย"

"แม้ระยะทางจะไกลแค่ไหน แม้ต้องใช้เวลามากเพียงใด
ขอเพียงแค่มีความตั้งใจ เราต้องได้ไปให้ถึงมัน"

ผมจะไม่ยอมทิ้งฝัน แต่จะไล่ล่ามันให้ถึงที่สุด สักวันฝันอาจจะเป็นจริง ถึงจะไปไม่ถึง แต่ผมก็ภูมิใจที่ได้ทำ
==============================
ความรู้ = เมล็ดพืช
ความพยายามในการเรียนรู้ = ปุ๋ย, น้ำ และความใส่ใจที่จะปลูก
สรุปคือ
ยิ่งพยายามเรียนรู้ ยิ่งพยายามศึกษาในเรื่องใดๆ ผลที่ได้คือ จะได้ความรู้ในเรื่องนั้นๆ อย่างลึกซึ้ง เปรียบเสมือนปลูกต้นไม้ด้วยความใส่ใจ ให้น้ำ ให้ปุ๋ย ผลที่ได้ก็คือ ต้นไม้ที่เติบโตอย่างแข็งแรง และผลิดอกและผลที่งดงามให้เราได้ชื่นชม
ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จจะอยู่ที่นั่น หรือที่ไหนก็ช่าง แต่เชื่อเถอะ เราจะได้ผลลัพธ์ที่ดีจากความพยายามนั้นๆ ไม่มากก็น้อย
อยากได้อะไรให้พยายาม แล้วความสำเร็จมันจะเข้ามาหาเอง
ผมเชื่อ และมั่นใจอย่างนั้น
===============================
ตอนนี้ผมได้ไปถึงฝัน (CCIE) แล้ว และสิ่งที่ไม่คาดฝัน คือได้ทำงานที่บริษัท Cisco ซึ่งถือได้ว่าไกลเกินฝัน

กว่าผมจะมาถึงจุดนี้ได้ เกิดจากความตั้งใจ มุ่งมั่น และพยายามอย่างไม่ย่อท้อ ศึกษาหาความรู้ และฝึกฝนตนเองอยู่เสมอ จนกระทั่งประสบความสำเร็จ และผมก็ได้พิสูจน์แล้วว่า ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น ขอเพียงแค่อย่าท้อ อย่าถอย และอย่าหยุด

ผมขอเป็นกำลังใจให้กับทุกคน และขอให้ประสบความสำเร็จดังที่มุ่งหวัง ไม่ว่าท่านจะหวังสิ่งใดก็ตามครับ

ท้ายที่สุด ผมขอฝากข้อคิดในเรื่อง Certificate ไว้สักนิดนะครับ:
*** "CCIE และ Certificate อื่นๆ มีไว้เพื่อทำมาหากิน และมีไว้เพื่อข่มตนไม่ให้เกรียน เพราะความเกรียนจะนำมาซึ่งการเป็นเป้าให้คนที่เค้าหมั่นไส้ยิงเอานะครับ" ***

Facebook: Chaiwat Amornhirunwong
New Comments
[Add kochaiwat's blog to your web]

MY VIP Friends


 
 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com