 |
 |
 |
 |
 |
|
 |
 |
|
| 1 |
2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 |
16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 |
23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 |
30 | 31 | |
|
|
|
|
 |
16 ตุลาคม 2565 |
|
 |
 |
|
 |
|
|
|
 |
 |
 |
 |
|
 |
 |
 |
 |
|
ภาวะหมดไฟในการทำงาน
 Burnout syndrome นี้เป็นกลุ่มอาการที่กำหนดโดยองค์การอนามัยโลก (WHO) จัดให้อยู่ในโรคเกี่ยวกับการทำงาน ไม่ได้เกี่ยวข้องกับโรคทางด้านจิตใจ โดยให้ความหมายว่า Burnout syndrome เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากภาวะเครียดเรื้อรังจากการทำงาน (chronic workplace stress) ที่ไม่ได้รับการจัดการหรือรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ
ลักษณะอาการ Burnout syndrome 1.รู้สึกหมดพลัง หรืออ่อนล้า 2.รู้สึกมีทัศนคติเชิงลบต่องานที่ทำ หรือรู้สึกไม่มีความสุขกับงานที่ทำ 3.ประสิทธิภาพในการทำงานลดลง
การรักษา Burnout syndrome การรักษา Burnout syndrome หรือภาวะต่อมหมวกไตล้านั้น สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดความเครียดที่จะเกิดขึ้น โดยสามารถทำได้ต่อไปนี้ -นอนหลับก่อน 4 ทุ่ม -นอนหลับอย่างน้อย 7-9 ชั่วโมง -รับประทานอาหารให้ตรงเวลา ครบสามมื้อ โดยเฉพาะอาหารมื้อเช้า -ไม่ควรรับประทานอาหารฟาสฟู้ด ของมันของทอด ของหวาน -ออกกำลังกายเบาๆ เช่น เดิน โยคะ และไม่ควรออกกำลังกายหนักมากๆ -หาเวลาพักผ่อน ไปเที่ยวต่างจังหวัด -ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม เช่น หลีกเลี่ยงที่มีเสียงดัง ฝุ่นมาก
อ่าน ภาวะหมดไฟในการทำงาน เพิ่มเติม >>>
Create Date : 16 ตุลาคม 2565 |
Last Update : 16 ตุลาคม 2565 9:38:44 น. |
|
0 comments
|
Counter : 300 Pageviews. |
 |
|
|
| |
|
|
 |
 |
 |
 |
|
|