bloggang.com mainmenu search
 222
           อาคารคอนกรีตแห่งนี้มีรูปทรงโค้งที่ขยายพื้นที่ใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ในชั้นที่สูงขึ้นไปเพื่อเพิ่มพื้นที่การใช้งานจากดีไซน์เดิมที่ตะแกรงเหล็กจะถูกติดตั้งด้วยระบบม่านกำแพง (curtain wall cassette system) ที่ฝนสามารถสาดเข้าได้แต่การระบายอากาศของเหล็กฉีกนั้นดีกว่าวัสดุอื่นๆดีไซน์ที่ถูกนำมาก่อสร้างจริงคือฟาซาดอะลูมิเนียมที่แน่นหนากันน้ำซึ่งมาพร้อมกับน้ำหนักของมันระบบติดตั้งจึงต้องเปลี่ยนไปด้วยจากการซ้อนแผ่นฟาซาดขึ้นจากด้านล่างขึ้นบนด้วยข้อต่อexpansion joint เป็นการแขวนจากชั้นบนลงมาด้วยเดือยยิ่งไปกว่านั้นฟาซาดที่แขวนด้วย pin connection ในชั้นบนสุดแห่งนี้ ยังไม่ได้แขวนลงมาตรง ๆ แต่ทำมุม 10 องศาก่อนจะเอียงกลับไปสร้างรูปทรงที่งดงามสอดคล้องกับอาคารคอนกรีตแห่งนี้อีกด้วยตะแกรงเหล็กฉีก (crushedmetal mesh) เป็นหนึ่งในวัสดุยอดนิยมที่มักถูกหยิบมาใช้ทำฟาซาด (façade)หรือส่วนเปลือกนอกที่หุ้มอาคารไว้ แต่สำหรับลานสเก็ตโจทย์สำคัญของการใช้ตะแกรงเหล็กฉีกเป็นฟาซาดคือเรื่องน้ำฝนที่สาดเข้าตัวอาคารซึ่งแน่นอนว่าจะทำให้พื้นลื่นและก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้หากเปิดใช้งาน อย่างไรก็ตามAnnabel Sawyer และ Hollaway Studio ก็มีทางออกสำหรับโจทย์นี้ในโครงการออกแบบลานสเก็ต 3 ชั้นแห่งแรกของโลก “F51” ของพวกเขา ตะแกรงเหล็กฉีก ตะแกรงเหล็ก เหล็กฉีก กันตกตะแกรงเหล็กฉีก หน้ากากอาคารเหล็กฉีกระเบียงกันตกเหล็กฉีกXS32 XS33 XS42 XS52 S46 S47 XG11 XG12 XG13XG21 XG22 XG23 XS31 XS41 XS43 XS51 XS61 XS62 XS71 XS72 XS73 G1 G10 G12 S6 S18S31 NO22 NO23 FM2000 FM2200 S43 FM1900 XS72 XS81 XS91 NO27
Create Date :22 กันยายน 2566 Last Update :22 กันยายน 2566 9:32:39 น. Counter : 120 Pageviews. Comments :0