กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
space
space
space
 
มีนาคม 2567
 
 12
3456789
10111213141516
17181920212223
24252627282930
31 
space
space
4 มีนาคม 2567
space
space
space

อย่าทิ้งหลัก



ข้องใจ  450

> การเดินจงกรม โดยเอาจิตจดจ่อ (เพ่ง,พิจารณา) อยู่ที่ฐานเดิม, ตรงเดิม เหมือนกับตอนที่เรานั่งสมาธิ..ทำได้จริงเหรอ?

เท่าที่ลองทำ, ลองฝึกเดินจงกรม...ถ้าเอาจิตไปจดจ่ออยู่ที่เท้า (จะบริกรรมพุทโธ ตามจังหวะก้าวย่าง ขวา-พุท ซ้าย-โธ หรือไม่ต้องบริกรรมอะไรก็ได้--แค่รู้สึกทั่วพร้อมที่เท้าที่กำลังย่างเดิน)...แบบนี้จะทำได้ง่าย

-- แต่ก็เคยได้ยิน พระและครูบาอาจารย์บางท่าน บางสำนัก สอนว่า...ถ้าตอนเรานั่งสมาธิ เอาจิตจ่อที่ปลายจมูก หายใจเข้า-พุท หายใจออก-โธ...ตอนเดินจงกรม ก็เอาจิตไว้ที่ฐานเดิม (เหมือนตอนฝึกนั่ง) คือ จดจ่ออยู่ที่ปลายจมูก บริกรรม พุท-โธ ๆ ๆ ไปเหมือนเดิม

...คนที่ฝึกนั่ง เอาจิตไว้ฐานอุณาโลม หว่างคิ้ว, ตอนเดิน ก็เอาจิตไว้ที่อุณาโลม เหมือนเดิม

...หรือคนที่ฝึกนั่ง เอาจิตไว้ฐานสะดือ ฐานหัวใจ หรือตรงไหน, ตอนเดินจงกรม ก็เอาไว้ฐานเดิมของเรา

...หรือคนที่นั่งบริกรรม พุท-โธ แบบไม่ตามจังหวะลมเข้า-ออก, ตอนเดิน ก็บริกรรม พุท-โธ แบบไม่ตามลมหายใจเข้า-ออก

* คำถาม...การเดินจงกรม โดยไม่ส่งจิตออกนอก และไดยไม่เอาจิต/สติไปจดจ่อพิจารณาอยู่ที่ฐานเท้า  (แต่ให้จิตคงอยู่ที่ปลายจมูก หรืออุณาโลม หรือสะดือ หรือหัวใจ หรืออยู่ที่คำบริกรรม)...ทำได้จริงหรือ?...ทำแบบนี้แล้วไม่เดินสะดุดเหรอ? จิต/สติจะรู้ว่าสุดทางเดิน รู้ว่าต้องเลี้ยวหันกลับเหรอ? จิตไม่วิตกกังวลต่อทางเดินข้างหน้า ว่าจะเจอ, สะดุดอะไรบ้างเหรอ?

เพราะผู้ถาม ลองทำวิธีอื่นแล้ว ไม่นิ่ง, ต้องเอาจิตกลับไปที่ฐานเท้าก้าวซ้าย-ขวา หรือตรงทางเดินเบื้องหน้าทุกที!?

(ตอนนั่ง ผู้ถามจะเอาจิต/สติไว้ที่ปลายจมูก...และบริกรรม หายใจเข้า-พุท หายใจออก-โธ ในช่วงระยะแรกเริ่ม...พอระยะเวลาผ่านนานไป จึงจะเลิกตามลม และบริกรรม พุท-โธ ๆ ๆ ๆ อย่างเดียว โดยไม่สนใจตามจังหวะลมหายใจเข้าออก)

https://pantip.com/topic/42557491


235  ภาคปฏิบัติ   ถ้าโยคีจับหลักความหมาย "กรรมฐาน"  ได้ก็ไม่สับสน  ถ้าจับหลักไม่ได้ไม่รู้ความหมายของศัพท์เขาแล้วก็สับสนตอนปฏิบัติอย่างตั้งข้อสังเกต
 



     กรรมฐาน    แปลว่า   ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิตหรือที่ให้จิตทำงาน, สิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ในการเจริญภาวนา หรืออุปกรณ์ในการฝึกอบรมจิต หรือ อุบายหรือกลวิธีเหนี่ยวนำสมาธิ พูดง่ายๆว่า สิ่งที่เอามาให้จิตกำหนดด้วยสติ  จิตจะได้มีงานทำเป็นเรื่องเป็นราว สงบอยู่ที่ได้ ไม่เลื่อนลอยฟุ้งซ่านไปอย่างไร้จุดหมาย

     พูดสั้นๆ กรรมฐาน คือ สิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ของจิตที่จะชักนำให้เกิดสมาธิ หรืออะไรก็ได้ที่พอจิตเพ่งหรือจับแล้ว จะช่วยให้จิตแน่วแน่อยู่กับมัน เป็นสมาธิได้เร็ว และมั่นคงที่สุด พูดให้สั้นที่สุดว่า สิ่งที่ใช้ฝึกสมาธิ


ทั้งหมด ที่ 

https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=samathijit&month=12-04-2021&group=1&gblog=16

235 นี่ก็คือกัน 450 

>คำถามเกี่ยวกับอานาปานสติ

อัสสาสะ ปัสสาสะ หมายถึง อะไร จากการสืบหา พบว่า หมายถึง ลมหายใจเข้า-ออก และยังหมายถึง ไออุ่น หรือ ชีวิต อีกด้วย

แต่พี่ไทยมักจะแปลเป็น ลมหายใจ สั้น ยาว

https://pantip.com/topic/42508848

235100 ละ 97-98  ขาดพื้นฐานทางภาษาของเขา (บาลี) 

กท. นี้ 450 จะเห็นชัด

https://pantip.com/topic/42669120/comment9-4

อ่านพระสูตรก็ดีก็จริง  แต่พอมีข้อความที่เขาแปลทับศัพท์  ผู้อ่านไม่เข้าใจความหมายของศัพท์นั้นๆ  ก็ด้นเดา 



 




 

Create Date : 04 มีนาคม 2567
0 comments
Last Update : 27 เมษายน 2567 19:36:16 น.
Counter : 825 Pageviews.
(โหวต blog นี้) 

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

space

สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :


[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [?]






space
space
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
space
space
space
space
space