My pivotal moment

My parents and I were watching the monitor seriously. It’s the admission’s result of the best high school in Thailand. My hand was shivering. I tried to control it and dragged the pointer on the screen to a button, and clicked it.

“You are rejected”

This message was on the website. At that time, everything in my world seemed to stop. I was shocked for a while. “I am the cleverest student in my school. Everyone thinks I can enter this school. But, why I can’t? Why?” I asked my self repeatedly. I tried to speak with my parents. I tried to cry. But I didn’t even have power to do that. I knew that my parents were very disappointed in me. They didn’t say anything. Then they went out of my room, leaving me alone.

After that, my friend called to me. She was one of my friends who expected that I would enroll to this school. I tried to tell my result to her, but she had known already. However, she didn’t call me for soothing me or scorning me. She had said something – that changed all my life so far.

…………………………………………………………………………

In my childhood, I was told by many people that I was a “genius boy.” I almost had perfect scores in mathematics test. I was the top in many classes. When my friends didn’t understand the material that teachers taught, they would ask me.

However, I was sure that I wasn’t genius or gifted and I wasn’t smart since my birth. I just learned everything faster than my friends from my best teacher – my elder brother. He always taught me many subjects at home, especially mathematics and science that I love most. He often gave mathematical problems to me. If I couldn’t solve it, he would be disappointed and sometimes he would say that I was stupid. But, for my innocent, I didn’t understand his curse at all. I just knew that I loved mathematics and science very much.

But when I was told by people that I was genius many times, sometimes I thought that I might be really like they said. When I graduated grade six, I applied for the famous secondary school named “Suankularb Wittayalai School.” My friends were hardworking on the test. I didn’t prepare anything, but I could enter this school easily. It increased my self-confidence more and more.

The pivotal event in my life was coming, when I graduated grade nine. I applied for the best high school in Thailand – “Triam Udom Suksa.” Everyone expected that I could enter this school. I didn’t prepare for the test again. Before the day of the test, I was playing computer game certainly.

But when the result was showed that I couldn’t enter this school, I lose all of my confidence. After I knew the result, my friend called to me. I avowed to her that I was very stupid than her think. But she told me, “No. Kie, you aren’t stupid. Not at all. You are a clever boy. But, you know, you are just lack of something – a diligence. You are lazy! I have never seen you reading books or intending to listen to teacher. If you are still like this, you will not succeed in your life certainly. Even the test of thousands of people, you can’t do it. Not mention to university, you cannot enter it absolutely!”

I didn’t know that it is a compliment or a curse. But after that, my thought was completely changed. I had never thought that I was clever again. In the school, I studied very intently. I reviewed lessons and read books everyday. I was very hardworking. I was not a boy who always played and didn’t have plan in his life any more.

In grade eleventh, I knew the news about the Computer Olympiad camp: people who were selected to be the representative of Thailand would get a scholarship to study aboard. Of course, I didn’t wait. I applied for this camp quickly. This was the most challenge time in my life. However, I had learned the lesson from applying to the high school. So, I must not make any mistake again. I studied hard and hard. After the class, I always practice. I found the problem on internet to solve every day.

Finally, I was selected to be a representative of Thailand to join the International Olympiad in Informatics 2005 at Poland. I got a silver medal from that. So, I got a scholarship from Thai government to study computer science at the United States of America.

In the welcome-back-to-Thailand day, I had to speak about my success in front of thousands of people that joined this camp but weren’t selected. I recalled my friend’s sentences in the admission’s result day, which changed my life so far.

“As my experience, I have to say frankly that I am not cleverer than you. Perhaps I am the most stupid boy in this camp. But, you know, I am sure that I have something more than you. It is neither secret thing nor any special trick. It’s just a ‘diligence’”




 

Create Date : 27 สิงหาคม 2550    
Last Update : 27 สิงหาคม 2550 15:45:24 น.
Counter : 721 Pageviews.  

My influenced person

Staring at a professor in front of the blackboard, I wondered what he was doing. His hand was moving quickly, writing some kind of table. Then he mused for a while and put his hand over his mouth like The Thinker.
Now, on the blackboard was an 8x8 table. The top-left corner and the bottom-right corner were cut.
“Can you guys put dominoes to fulfill this table?”, he asked.
Instantly, a student raised his hand and said, “Yes. Professor. It’s not hard. Let me do.”
“Wow! Come up.”
A few minutes passed. “Hmm… Professor. I’m sorry. I make a little mistake.”
The professor hit his shoulder gently, “Anyone else?”
There was only silence. Everyone was writing something in his paper. But it seemed no one could solve it.
Then the professor colored the table with black and white color like chessboard, and mumbled, “One domino covers only one black cell and one white cell…”
“30 black cells and 32 white cells… Oh! Not equal!”, a student shouted.
Everyone in the room was quiet and amaze with this for a while.

It’s the first class that I met him, Jittat Fakcharoenpon, a professor in the Computer Olympiad Camp of Thailand. He looked like a college student rather than a professor. He wore simple blue-white T-shirt with blue jeans. I thought most computer professors are like nerds that wear thick glasses, speak clumsily, and always carry big textbooks. But he was completely different.

At that time, I wasn’t interested in this kind of this problem much. I went to the Computer Olympiad Camp because I though it would have much time to playing computer game or surfing the internet. But when the first class came, I felt that I was wrong. Jittat said that this camp was about computer programming only. There were no game or internet. At that time, I wanted to go home very much. But then, I thought it’s not very bad to listen to it for one class, and then I would decide.

But when I was listening to him, I was impressed increasingly. It is not only because of his humorous, but also because of his teaching. He always asked questions to student. They were quite simple questions and were around us, but unbelievable profound. Then he gave students a chance to solve them. After that, he always gave the answers that were often unexpected and make everyone surprise.

I felt I fell in love with the world of logic. I loved to solve problem. I loved to ask questions about everything around me. When I go to somewhere, I always think which path is the shortest and the most timesaving? Which algorithm should I use to find that path? How can I prove? When I arrange books in my room, I will think which sort algorithm should I use? Quicksort? Bubble sort? When I put my stuffs in package, I always think how can I use the volume most efficiently? Should I put the bigger one or the smaller one firstly? Surely, it was much more fun than computer game and the internet. I decided to stay in the camp until finished.

Professor Jittat had brought me to the world that I had never seen: the world of reasons and the curiosity of mankind. From this camp, I found the thing that I want to do most. After the camp, I read books every day. I tried hard to get the scholarship from Thai government to study in computer science. And now, I am walking in the same path as him.

At the last day of the camp, the professor brought us to see a baseball game whose rule is a loser has to go out. I thought maybe he wanted to relieve our stress from studying in the camp. But, as usual, when he saw the list of twenty-three teams attending to this competition, he asked us, “Do you guys know how many match do they compete to find the winner?” Yes. This is the professor who can question everywhere, every time.




 

Create Date : 27 สิงหาคม 2550    
Last Update : 27 สิงหาคม 2550 15:27:39 น.
Counter : 397 Pageviews.  

ประวัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า


ฮานส์ คริสเตียน เออร์สเตด (Hans Christian Ørsted) เกิดที่Langeland ประเทศเดนมาร์ก เขาสนใจวิชาวิทยาศาสตร์มาตั้งแต่เด็ก เขาเป็นผู้ช่วยร้านเภสัชของพ่อ ในปี 1797 เขาได้รับรางวัลสำหรับงานด้านสุนทรียศาสตร์ และการแพทย์ จากมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน สองปีถัดมา เขาได้รับรางวัลสำหรับการแสดงความคิดเห็นเรื่องปรัชญาของคานท์ ซึ่งในเวลานั้น ทางมหาวิทยาลัยยังไม่ได้สนับสนุนวิชาฟิสิกส์หรือเคมี


ในปีค.ศ. 1819-1820 ระหว่างการบรรยายในหัวข้อ "Electricity, Galvanism and Magnetism" เออร์สเตดได้บรรยายเรื่องการทดลองของเขาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เข็มทิศจะเบนเมื่อมีฝนตกหนักและฟ้าแลบ ในเดือนเมษายน 1820 เวลาบ่าย ระหว่างที่เขากำลังสอนอยู่ เขาทดลองว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับเข็มทิศ ถ้าผ่านกระแสไฟเข้าไปในลวดตัวนำ เขานำลวดตัวนำตั้งฉากกับเข็มทิศและพบว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น หลังจากการบรรยายสิ้นสุด เขาก็พบว่าถ้าเขาวางลวดตัวนำขนานกับเข็มทิศ และผ่านกระแสไฟฟ้าไปในลวดตัวนำแล้ว เข็มทิศก็จะเบน การค้นพบนี้ทำให้เออร์สเตดเป็นบุคคลแรกที่ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและแม่เหล็ก


เออร์สเตดได้แสดงให้เห็นว่า กระแสไฟฟ้าสามารถสร้างสนามแม่เหล็ก โดยไม่ได้ให้สูตรหรือวัดผลการทดลองเป็นตัวเลข

การค้นพบของเออร์สเตดได้ถูกไปนำเสนอที่ราชสมาคมฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 11 กันยายน 1820 โดย โดมินิก ฟร็องซัวส์ ฌอง อราโก (Dominiqiue Francois Jean Arago) (1786-1853) การค้นพบนี้สำคัญไม่น้อยไปกว่าการค้นพบไฟฟ้า นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสและชาวอังกฤษต่างก็แข่งขันเพื่ออธิบายปรากฏการณ์นี้ โดยเฉพาะนักทดลองชาวฝรั่งเศสที่ชื่อ ฌอง แบพติสท์ บิโอต์ (Jean Baptiste Biot) และ เฟลิกซ์ ซาวาร์ (Felix Savart) เป็นผู้แรกที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์นี้อย่างละเอียดได้

ที่การประชุมวิทยาศาสตร์ราชสมาคมฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 1820 หรือหลังจากการค้บพบ 1 เดือน บิโอต์และซาวาร์ ได้แสดงให้เห็นว่า แรงแม่เหล็กจะกระทำตัวขั้วแม่เหล็กจะน้อยลงตามระยะทาง และมีทิศทางตั้งฉากกับลวดตัวนำ ต่อมากฎนี้เรียกว่า กฎของบิโอต์-ซาวาร์ (Biot-savart Law) ซึ่งสามารถใช้คำนวณสนามแม่เหล็กสำหรับลวดตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้

สนามแม่เหล็กที่สร้างจากกระแสไฟฟ้านั้นมีคุณสมบัติไม่ต่างจากแม่เหล็ก อราโกได้พบว่าสนามแม่เหล็กที่สร้างจากกระแสไฟฟ้าสามารถทำให้เหล็กกลายเป็นแม่เหล็กได้เช่นกัน

การค้นพบของเออร์สเตดมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง นักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงหลายท่านต่างก็ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการค้นพบแม่เหล็กไฟฟ้า


อังเดร-มารี แอมแปร์ (André-Marie Ampère) (1775-1836) เกิดที่เมือง Lyon ประเทศฝรั่งเศส เขาไม่ได้เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียน พ่อของเขาเป็นคนสอนเขาในเรื่องภาษาและวิทยาศาสตร์ เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์วิชาฟิสิกส์และเคมีที่โรงเรียน Central Learning ที่เมือง Bourg และในเวลาต่อมาก็ได้รับตำแหน่งที่ มหาวิทยาลัยแห่งฝรั่งเศสที่กรุงปารีส

แอมแปร์ได้ฉายแววความเป็นอัจฉริยะ เมื่อวันที่ 18 กันยายน 1820 หรือหนึ่งสัปดาห์หลังมีข่าวการค้นพบของเออร์สเตด แอมแปร์ได้เข้าไปประชุมที่ราชสมาคม และได้นำเสนอผลงานต่อที่ประชุมถึง 5 ผลงานด้วยกัน เขาได้แสดงว่า ลวดตัวนำสองเส้นที่ขนานกันและมีกระแสไหลผ่าน จะดูดกันถ้ากระแสไฟฟ้าไหลไปในทางเดียวกัน และจะผลักกันถ้ากระแสไฟฟ้าไหลคนละทาง แรงระหว่างลวดตัวนำทั้งสองจะแปรผกผันกับระยะทางระหว่างลวด และแปรผันตรงกับขนาดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน ดังนั้น แอมแปร์จึงเป็นผู้ให้กำเนิดวิชา พลศาสตร์ไฟฟ้า (Electrodynamics)

เขาได้สร้างกฎของแม่เหล็กไฟฟ้า ที่รู้จักกันในชื่อ กฎของแอมแปร์ (Ampère’s Law) ซึ่งเป็นสูตรคณิตศาสตร์ที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงแม่เหล็กกับกระแสไฟฟ้า เขาได้ติดตามการทดลองหลายอย่างที่มีส่วนพัฒนาทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ ไม่เพียงแต่อธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเท่านั้น แต่ยังสามารถทำนายปรากฏการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้อีกด้วย


แอมแปร์เป็นบุคคลแรกที่ค้นพบวิธีการวัดกระแสไฟฟ้า เขาได้สร้างเข็มทิศที่เคลื่อนที่อิสระเพื่อวัดการไหลของกระแสไฟฟ้า ซึ่งต่อมารู้จักในชื่อ กัลวานอมิเตอร์ (galvanometer) แอมแปร์ใช้กัลวานอมิเตอร์ที่มีความละเอียดสูงในการทดลองของเขาอยู่เสมอ มันสร้างจากเข็มทิศที่มีลวดตัวนำพันอยู่ ปลายทั้งสองของลวดต่อกับวัตถุที่ต้องการทดสอบ เช่น แบตเตอรี่ เข็มทิศจะเบนเพราะกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่มากกว่าจะทำให้เข็มทิศเบนมากขึ้น

การค้นพบของแอมแปร์เป็นรากฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาวิชาแม่เหล็กไฟฟ้าในศตวรรษที่ 19

อังเดร-มารี แอมแปร์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 1836 ที่เมือง Marseille ประเทศฝรั่งเศส เมื่ออายุได้ 52 ปี และฝังที่ Cimetiere de Montmartre ในกรุงปารีส


ไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael Faraday) (1791-1867) เกิดที่ Newington เมืองเล็กๆที่อยู่ติดกับลอนดอน บิดาชื่อ เจมส์ ฟาราเดย์ เป็นช่างเหล็กที่ทำงานใน Newington ในปี 1795 หลังจากที่ให้กำเนิดลูกคนที่สี่แล้ว สุขภาพของเจมส์เริ่มเสื่อมลง และไม่ยืนยาวพอที่จะเลี้ยงดูครอบครัวได้

ฟาราเดย์ถูกรับเชิญให้เข้าฟังการบรรยายทางวิทยาศาสตร์บ่อยครั้ง โดยเฉพาะการบรรยายเกี่ยวกับกระแสไฟฟ้า ไฟฟ้าเคมี และกลศาสตร์ ฟาราเดย์ถูกรับเชิญเป็นครั้งแรกเมื่อปี 1812 ซึ่งเป็นการบรรยายโดย เซอร์ ฮัมฟรีย์ เดวี (1778-1829) ราชบัณฑิตในเรื่องเคมี ฟาราเดย์ได้จดบันทึกการบรรยายของเดวีอย่างประณีต และยกย่องเดวีว่าเป็นวีรบุรุษของเขา

ใน ค.ศ. 1820 หลังจากที่มีข่าวการค้นพบของเออร์สเตดว่ากระแสไฟฟ้าสร้างสนามแม่เหล็กได้ ฟาราเดย์ได้หันมาทำงานด้านกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ฟาราเดย์ได้ทำการทดลองแบบเดียวกับเออร์สเตดซ้ำหลายครั้ง และอ่านงานของแอมแปร์อย่างละเอียด ต่อมาในเดือนตุลาคม 1821 เขาได้ตีพิมพ์ผลงานชื่อ On some new electro-magnetical motions, and on the theory of magnetism ลงในวารสารทางด้านวิทยาศาสตร์ชื่อ Quaterly เขาอธิบายผลการทดลองโดยไม่ได้ยึดรูปแบบทางการเนื่องจากไม่ได้รับการศึกษาตามแบบฉบับจากโรงเรียน

ใน ค.ศ. 1831 ฟาราเดย์ได้กลับมาทำงานด้านกระแสไฟฟ้าและค้นพบกฎการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic induction) ความคิดของฟาราเดย์เกี่ยวกับกฎการอนุรักษ์พลังงานทำให้เขาเชื่อว่าถ้ากระแสไฟฟ้าสามารถทำให้เกิดสนามแม่เหล็กได้ สนามแม่เหล็กก็ควรจะสร้างกระแสไฟฟ้าได้ เขาได้ทดลองดังนี้ ถ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรใดวงจรหนึ่งและสร้างสนามแม่เหล็กขึ้นแล้ว สนามแม่เหล็กก็น่าจะสร้างกระแสไฟฟ้าให้กับวงจรอีกวงจรที่อยู่ใกล้กันได้

ระหว่างทำการทดลอง ฟาราเดย์ไม่พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรไฟฟ้าที่สองเลย หลังจากที่ทำการทดลองหลายครั้ง ฟาราเดย์สังเกตเห็นว่าวงจรไฟฟ้าที่สองจะมีกระแสไฟฟ้าไหลเป็นเวลาสั้นๆเมื่อวงจรที่หนึ่งกำลังเปิดหรือปิดเท่านั้น เขาจึงสรุปว่าสนามแม่เหล็กที่คงตัวไม่สามารถสร้างกระแสไฟฟ้าขึ้นมาได้ ขณะที่สนามแม่เหล็กที่ถูกเปลี่ยนแปลงโดยการเปิดหรือปิดวงจรที่หนึ่ง จะสร้างกระแสไฟฟ้าขึ้นในวงจรที่สองได้


เจมส์ คลาก แม็กซ์เวลล์ (James Clerk Maxwell) สนใจผลงานของฟาราเดย์ ต่อมา แม็กซ์เวลล์ได้ตีพิมพ์ผลงานชื่อ On Faraday’s line of force ซึ่งเป็นการแปลงแนวคิดของฟาราเดย์ในเรื่องกระแสไฟฟ้าและเส้นแรงแม่เหล็ก ให้อยู่ในรูปสูตรคณิตศาสตร์ งานนี้แบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกตีพิมพ์ใน ค.ศ.1855 และส่วนที่สองใน ค.ศ. 1856 เขาได้แสดงว่าเราสามารถอธิบายพฤติกรรมของกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กโดยใช้สมการคณิตศาสตร์อย่างง่ายเพียงจำนวนหนึ่งได้

ผลงานที่สำคัญที่สุดของแม็กซ์เวลล์ก็คือการเพิ่มเติมสมการคณิตศาสตร์ของงานก่อนๆของฟาราเดย์และแอมแปร์ สมการเหล่านี้รวมเรียกว่า สมการของแม็กซ์เวลล์ (Maxwell’s Equations) เขาได้เสนอต่อราชบัณฑิต ในค.ศ. 1864 ซึ่งสมการเหล่านี้แตกต่างกับที่เราคุ้นเคยในปัจจุบันมาก

ใน ค.ศ. 1862 แม็กซ์เวลล์พบว่าสมการของเขาทำนายความเร็วของการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไว้ใกล้เคียงกับค่าความเร็วของแสงที่รู้ในเวลานั้น ความเร็วนี้มาจากค่าคงที่สองค่าในสมการของเขา เขาเสนอว่าแสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในธรรมชาติ ข้อเสนอนี้ได้ถูกค้นพบในเวลาต่อมา

ใน ค.ศ. 1873 แม็กซ์เวลล์ตีพิมพ์งานชื่อ A treatise on electricity and magnetism ซึ่งเกี่ยวกับสมการของเขาและอธิบายว่าสมการเหล่านี้สนับสนุนการมีอยู่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเดินทางด้วยความเร็วเดียวกับแสง


ใน ค.ศ. 1888 ไฮน์ริค เฮิรตซ์ (Heinrich Hertz) ได้สร้างเครื่องกำเนิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเครื่องแรก เขาใช้วงจรไฟฟ้าที่มีแท่งโลหะที่มีช่องว่างเล็กๆอยู่ระหว่างกึ่งกลาง เมื่อเกิดการสปาร์กระหว่างช่องว่าง แท่งโลหะจะสั่นด้วยความถี่สูง เฮิรตซ์ได้พิสูจน์ว่าคลื่นนี้แผ่ไปในอากาศโดยการใช้เครื่องมือแบบเดียวกันตั้งอยู่ในระยะที่ไกลออกไป เฮิรตซ์ได้แสดงให้เห็นว่าคลื่นเหล่านี้สามารถสะท้อนและหักเหได้เช่นเดียวกับแสง และเดินทางด้วยความเร็วเท่ากับแสงโดยไม่ขึ้นอยู่กับความยาวคลื่น คลื่นที่เฮิรตซ์ค้นพบ ถูกรู้จักในนามคลื่นเฮิรตซ์ (Hertzian waves) (ซึ่งต่อมาพบว่าเป็นคลื่นวิทยุ) ได้สนับสนุนการทำนายของแมกซ์เวลล์ว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีอยู่จริง ทั้งในรูปของแสงและคลื่นวิทยุ




ใน ค.ศ. 1898 กูลเยลโม มาร์โคนี (Guglielmo Marconi) นักประดิษฐ์ชาวอิตาเลียน สามารถสร้างระบบส่งและรับโทรเลขโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้เป็นผลสำเร็จ ถัดมาอีก 3 ปี คือใน ค.ศ. 1901 มาร์โคนี ประสบความสำเร็จครั้งใหญ่เมื่อสามารถส่งคลื่นเฮิรตซ์ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก จากประเทศอังกฤษไปยังนิวฟาวน์แลนด์ ประเทศแคนาดา ความสำเร็จของมาร์โคนีเป็นการเปิดโฉมหน้าใหม่ของการติดต่อสื่อสารระยะไกลโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นครั้งแรก มีผลทำให้การสื่อสารเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ว ต่อมาเมื่อมีการผสมสัญญาณเสียง สัญญาณภาพเข้ากับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ก็ทำให้เกิดวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ ตามลำดับ

พัฒนาการอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ทำให้เครื่องมือและอุปกรณ์การสื่อสารต่าง ๆ มีประสิทธิภาพสูง ทำให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางครอบคลุมไปทั่วโลก เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยีข่าวสารข้อมูลระหว่างกัน ทำให้เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จึงอาจกล่าวได้ว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว

---------------------------------------------

แปลจาก The History of Electromagnetic Theory
(//www.abdn.ac.uk/physics/px4006/histem.pdf)




 

Create Date : 31 พฤษภาคม 2549    
Last Update : 24 มิถุนายน 2549 12:53:28 น.
Counter : 24674 Pageviews.  

ตอนจบโดราเอม่อน

//www.pantip.com/cafe/chalermthai/topic/A4205068/A4205068.html
ถึงเป็นแค่แฟนฟิกชั่น แต่อ่านแล้วน้ำตาจะไหล..

โดราเอม่อนเป็นการ์ตูนที่อ่านมาตั้งแต่เด็ก แล้วก็ไม่เคยชอบการ์ตูนเรื่องไหนเท่าเรื่องนี้เลย

ใครจะว่าปัญญาอ่อนก็ช่าง ไม่ได้นักอ่านการ์ตูนตัวยง ไม่ได้อ่านเยอะ แต่ก็ชอบเรื่องนี้ที่สุดเท่าที่เคยอ่าน เพราะมันเป็นเรื่องที่เต็มไปด้วยจินตนาการ ความเพ้อฝัน ความกวนตีน ความไร้สาระของเด็ก ฯลฯ แต่พอโตขึ้น อ่านโดเรม่อนแล้วไม่รู้สึกสนุกเหมือนตอนเป็นเด็ก ไม่รู้ทำไม

ท้ายเล่มโดราเอม่อนเล่มนึง มันเขียนบทวิจารณ์เอาไว้ว่า... สาเหตุที่ผู้ใหญ่หลายคนยังหลงใหลโดราเอม่อนก็เพราะว่า สังคมปัจจุบันมันน่าเบื่อ ทุกคนมุ่งหวังแต่เรื่องเงินทอง เกียรติยศ ความสำเร็จ การชิงดีชิงเด่น... การจะหาเพื่อนที่รู้ใจสักคนนั้นเป็นเรื่องยาก... บางครั้งเรารู้สึกมีความสุขกับความสำเร็จ แต่ในใจลึกๆกลับรู้สึกเบื่อหน่าย เหงา และเหนื่อยล้า... วิญญาณความเป็นเด็กของเรามันจึงเรียกหาโลกวัยเด็กอีกครั้ง โลกที่เต็มไปด้วยสีสัน ความไร้เดียงสา ความเพ้อฝัน และมิตรภาพที่แท้จริง

โดราเอม่อนเป็นเสมือนเพื่อนในวัยเด็กที่ยังคงอยู่กับเราตลอดไป




 

Create Date : 23 มีนาคม 2549    
Last Update : 23 มีนาคม 2549 23:56:15 น.
Counter : 510 Pageviews.  

Siam Paragon


เมื่อวานไป Siam Paragon มา
กว่าจะไปถึงก็ต้องฝ่าขบวนรถอันยาวเหยียด
หมดค่าน้ำมันไปเยอะเลยล่ะนาย

รูปนี้ถ่ายจากหน้าห้าง มุมบ่ค่อยดีเท่าไหร่ โดนเสาบังหมด




นี่ก็ทางเข้าที่จอดรถของห้าง




ดูมันทำ... เอาเชือกมากั้นคนเข้าห้าง




ค่าจอดรถ 20 นาทีแรกฟรี
คิดชั่วโมงละ30บาท
เศษชั่วโมงคิดเต็มชั่วโมง



เข้ามาถึงห้าง ก็เจอรถสุดเท่
ราคาไม่รู้กี่สิบล้าน!




อีกสักรูป
(แอบถ่ายพริตตี้ไม่ทัน)




คนเยอะมาก แต่ที่ดูโล่งๆเพราะพื้นที่มันโคตรกว้าง
เดินทั้งวันก็เดินไม่หมด




สวยๆทั้งนั้น แล้วก็แพงๆทั้งนั้นนนน




หนีจากคนเยอะๆ มาเดินชั้นบน
ดูพวกจาน ชาม ฯลฯ
(มีแต่พวกไฮโซมาเดิน)




ฝรั่งก็มาเดินเยอะ




...




...............




ไปดูโซนอื่นกันบ้าง




ร้าน KinoKuniya
เขาว่าเป็นร้านหนังสือต่างประเทศ ที่ใหญ่ที่สุดในไทย!!




......




หนังสือทุกเล่มลดราคา 20% ตั้งแต่วันที่ 9-12 ธันวาคม
ฉะนั้น นายก็อดแล้วล่ะ




อืม วันนี้ก็ไปแค่นี้แหละ
ไม่ได้ไปไหนมาก
เพราะดันมาติดกับดักอยู่ที่ร้านหนังสือ
(นอกจาก KinoKuniya ยังมีร้าน Asia Book ด้วย)


นี่ก็ตอนจะกลับ
คนเยอะไหมล่ะ
เห่อของใหม่กันจังเล้ย พวกนี้นี่




อาาาาา...




สุขสันต์วันคริสต์มาส ด้วยรูปต้นคริสต์มาสจาก Siam Paragon นะนาย




 

Create Date : 12 ธันวาคม 2548    
Last Update : 18 ธันวาคม 2548 17:42:50 น.
Counter : 795 Pageviews.  

1  2  

Duke!
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed

ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]




Group Blog
 
All Blogs
 
Friends' blogs
[Add Duke!'s blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.