Bancha
Group Blog
 
All blogs
 

[LIVE] เสวนา 30 ปีพุทธทาสละสังขาร

[LIVE] เสวนา 30 ปีพุทธทาสละสังขาร



https://www.youtube.com/live/_NHHmt85Tfo?si=FlnN88qmNJADUo4w

https://www.facebook.com/buddhadasaarchives/videos/984764429517270/?mibextid=zDhOQc

เสวนาหลังชมสารคดี "เสรีภาพบนความตาย"
จากกรณีการมรณภาพของท่านพุทธทาส
เมื่อ 30 ปีที่แล้ว สู่การ "ตายดี" ในปัจจุบัน
ค้นหลักฐานชิ้นสำคัญที่ไม่เคยมีการเปิดเผยมาก่อน
พร้อมคำยืนยันจากบุคคลแวดล้อมที่สำคัญ
ผู้ร่วมเสวนา
▸ พระไพศาล วิสาโล
▸ อ.ประมวล เพ็งจันทร์
▸ นพ.บัญชา พงษ์พานิช
▸ ชวนคุยโดย พิชญาพร โพธิ์สง่า
🗓️ 18 สิงหาคม 2566
🕙 17.00 น.
📍 ห้อง New Gen Space ชั้น 3 หอศิลปกรุงเทพฯ

https://www.facebook.com/thaicamtg.bancha/posts/pfbid02UyE7j6j9ScrNj5FfZRHcU6B7A4yrBe98Pgd1AcQfLz8h6VVniR2zs6wbuxYAjey3l?mibextid=zDhOQc




 

Create Date : 19 ตุลาคม 2566    
Last Update : 19 ตุลาคม 2566 3:31:54 น.
Counter : 279 Pageviews.  

กาลามสูตร



กาลามสูตร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3

กาลามสูตร คือ พระสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ชาวกาลามะ หมู่บ้านเกสปุตตนิคม แคว้นโกศล (เรียกอีกอย่างว่า เกสปุตตสูตร ก็มี[1]) กาลามสูตรเป็นหลักแห่งความเชื่อที่พระพุทธองค์ทรงวางไว้ให้แก่พุทธศาสนิกชน ไม่ให้เชื่อสิ่งใด ๆ อย่างงมงายโดยไม่ใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นจริงถึงคุณโทษหรือดีไม่ดีก่อนเชื่อ มีอยู่ 10 ประการ ได้แก่
  1. มา อนุสฺสวเนน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการฟังตามๆ กันมา
  2. มา ปรมฺปราย - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการถือสืบๆ กันมา
  3. มา อิติกิราย - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเล่าลือ
  4. มา ปิฏกสมฺปทาเนน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการอ้างตำราหรือคัมภีร์
  5. มา ตกฺกเหตุ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเดาว่าเป็นเหตุผลกัน
  6. มา นยเหตุ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะการอนุมานคาดคะเน
  7. มา อาการปริวิตกฺเกน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเดาจากอาการที่เห็น
  8. มา ทิฎฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว
  9. มา ภพฺพรูปตา - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะผู้พูดมีลักษณะน่าเชื่อถือ
  10. มา สมโณ โน ครูติ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่า ท่านสมณะนี้ เป็นครูของเรา

เมื่อใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่า ธรรมเหล่านั้นเป็นอกุศลหรือมีโทษเมื่อนั้นพึงละเสีย และเมื่อใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่า ธรรมเหล่านั้นเป็นกุศลหรือไม่มีโทษ เมื่อนั้นพึงถือปฏิบัติ


ที่มา: หนังสือ "พระไตรปิฎก ฉบับดับทุกข์" จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์สุขภาพใจ (หน้า 41-42), หนังสือ "พระไตรปิฎกสำหรับประชาชน ย่อความจากพระไตรปิกฉบับบาลี 45 เล่ม" (หน้า 510) จัดทำโดย สุชีพ ปุญญานุภาพ, หนังสือ "ธรรมาธิบาย หลักธรรมในพระไตรปิฎก" (หน้า 620 - 621) เรียบเรียงโดย อาจารย์ปัญญา ใช้บางยาง และคณะ

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. กระโดดขึ้น พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒ อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต เกสปุตตสูตร (กาลามสูตร). พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[1]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52
  • พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต. 2548. พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ
  • วิกิซอร์ซติกนิบาต - ทุติยปัณณาสก์ - มหาวรรค - เกสปุตตสูตร




 

Create Date : 03 กันยายน 2560    
Last Update : 3 กันยายน 2560 17:41:11 น.
Counter : 1158 Pageviews.  


rajasit
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ให้ทิปเจ้าของ Blog [?]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 5 คน [?]




Friends' blogs
[Add rajasit's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.