หมากรุกไทย - หมากไล่ โคน 1 เบี้ยหงาย 1 (หลังโคน เบี้ยหงายไม่ตรงมุม)
ถ้าฝ่ายหนีอยู่หลังโคน ด้านที่เบี้ยหงายไม่ตรงมุม โดยทั่วไปแล้ว หากฝ่ายหนี หนีเป็นและไม่ประมาท ฝ่ายไล่จะไม่สามารถเข้ารูปจนในมุมนั้นได้ จำเป็นต้องบังคับให้ขุนฝ่ายหนี เดินออกมายังหน้าโคน แล้วเข้ารูปจนที่หน้าโคน
กลการไล่

๑) ง, ค๔-ข๓ ข, ก๒-ก๓ ๒) ค, ค๓-ค๔ ข, ก๓-ข๔ ๓) ข, ค๒-ข๒ ข, ข๔-ก๕ ๔) ข, ข๒-ค๓ ข, ก๕-ข๖ ๕) ข, ค๓-ง๔ ข, ข๖-ค๖ ๖) ข, ง๔-จ๕ ข, ค๖-ง๗ ๗) ข, จ๕-ฉ๖
ภาพหลังจากฝ่ายไล่เดิน ๗) ข, จ๕-ฉ๖

ถ้า ฝ่ายหนีเดิน ข, ง๗-จ๘
๗) ________ ข, ง๗-จ๘ ๘) ค, ค๔-ค๕ ข, จ๘-ฉ๘ ๙) ค, ค๕-ง๖ ข, ฉ๘-จ๘ ๑๐) ง, ข๓-ค๔ ข, จ๘-ง๘ ๑๑) ข, ฉ๖-ฉ๗ ข, ง๘-ค๘ ๑๒) ง, ค๔-ข๕ ข, ค๘-ข๗ ๑๓) ค, ง๖-ค๕ ข, ข๗-ค๗ ๑๔) ข, ฉ๗-จ๗ ข, ค๗-ข๘ ๑๕) ข, จ๗-ง๘ ข, ข๘-ข๗ ๑๖) ข, ง๘-ง๗ ข, ข๗-ก๗ ๑๗) ข, ง๗-ค๘ ข, ก๗-ก๘ ๑๘) ข, ค๘-ค๗ ข, ก๘-ก๗ ๑๙) ค, ค๕-ค๖ ข, ก๗-ก๘ ๒๐) ข, ค๗-ข๖ ข, ก๘-ข๘ ๒๑) ค, ค๖-ข๗++
รูปจน

ถ้า ฝ่ายหนีเดิน ข, ง๗-ง๖
๗) ________ ข, ง๗-ง๖ ๘) ง, ข๓-ก๔ ข, ง๖-ง๗ ๙) ค, ค๔-ค๕ ข, ง๗-จ๘ ๑๐) ง, ก๔-ข๕ ข, จ๘-ฉ๘ ๑๑) ค, ค๕-ง๖ ข, ฉ๘-ช๘ ๑๒) ข, ฉ๖-ช๖ ข, ช๘-ฉ๘ ๑๓) ง, ข๕-ค๖ ข, ฉ๘-จ๘ ๑๔) ข, ช๖-ฉ๖ ข, จ๘-ง๘ ๑๕) ง, ค๖-ข๗ ข, ง๘-จ๘ ๑๖) ข, ฉ๖-ช๗ ข, จ๘-ง๘ ๑๗) ข, ช๗-ช๖ ข, ง๘-จ๘ ๑๘) ข, ช๖-ฉ๖ ข, จ๘-ฉ๘ ๑๙) ค, ง๖-จ๗+ ข, ฉ๘-ช๘ ๒๐) ข, ฉ๖-ช๖ ข, ช๘-ญ๘ ๒๑) ค, จ๗-ฉ๘ ข, ญ๘-ช๘ ๒๒) ค, ฉ๘-ช๗++
รูปจน

แนะนำวิธีทั่วไปในการไล่ รูปหมาก โคน ๑ เบี้ยหงาย ๑ - โคนกับเบี้ยหงาย เดินสกัดตาเป็นหน้ากระดาน ขุนโอบด้านข้าง ไล่ขุนฝ่ายหนีให้ตาเดินแคบลง - ก่อนจะตัดหมากให้เข้ารูปนี้ ควรให้ขุนฝ่ายหนีอยู่ใกล้มุมใดมุมหนึ่งก่อน ไม่ควรให้อยู่กลางกระดานแล้วนับ เพราะจะใช้จำนวนครั้งในการไล่มากขึ้น อาจทำให้เสมอได้ - จำรูปจนรูปแบบต่างๆ และฝึกฝนการเดินเข้ากลให้ชำนาญ
แนะนำวิธีทั่วไปในการหนี รูปหมาก โคน ๑ เบี้ยหงาย ๑ - พยายามตัดหมากให้เข้ารูปนี้โดยขุนอยู่กลางๆกระดาน - พยายามหนีขุนให้อยู่หลังโคน มุมที่เบี้ยหงายไม่ตรงมุม - จำรูปจนรูปแบบต่างๆ แล้วพยายามคิดไปล่วงหน้าหลายชั้นเพื่อชิงที ให้ฝ่ายไล่แก้ที
อ้างอิง: - ตำราหมากรุกไทย โดย สุชาติ ชัยวิชิต - แม่ไม้หมากรุกไทย ตำรา 'เซียนป่อง' โดย สุชาติ ชัยวิชิต
Create Date : 03 พฤศจิกายน 2554 |
Last Update : 3 พฤศจิกายน 2554 15:30:20 น. |
|
2 comments
|
Counter : 1487 Pageviews. |
 |
|
|