Group Blog
 
<<
เมษายน 2551
 12345
6789101112
13141516171819
20212223242526
27282930 
 
5 เมษายน 2551
 
All Blogs
 

กรณีเขาพระวิหาร

  • Phra Viharn or Phra Vihear?
  • กรรมซัดแสกหน้า “หมัก-เหล่” ป.ป.ช.สั่งเชือดข้อหายกพระวิหารให้เขมร
  • เขมรไม่ถอยยึด "ศาลาตรีมุข" เบ็ดเสร็จ
  • ห้ามกะพริบตา! สภาถกเขตแดนเขมร ไทยจ่อเสีย 1.5 ล้านไร่
  • ไทยประท้วงกรณีทหารเขมรอีกรอบ รุกล้ำดินแดนไทยและยิงทหารไทย
  • Thailand to raise Cambodian mines issue
  • Five Thai troops injured in border clashes
  • Intrusion 'a violation of sovereignty' : FM
  • Real reason behind Hun Sen's belligerence over temple

  • ผลปะทะเดือด“ภูมะเขือ”ชายแดนเขาวิหาร - ทหารไทยเจ็บ 4 เขมรดับ 1 นาย

  • ทหารไทย-กัมพูชา เปิดฉากปะทะเดือดแล้วที่ชายแดนเขาพระวิหาร
  • Thai troops wounded in clash with Cambodia - Army spokesman
  • Sound of gunshots heard along Thai-Cambodia border
  • Thai troops ordered to retaliate : Gen Anupong


    ไปซะแล้ว อนาคตที่ดินรอบปราสาทพระวิหาร.....

  • เหิมหนัก! ทหารเขมรติดอาวุธ 100 นายบุก “ตาเมือนธม” อีก - ผบ.กกล.สุรนารีเจรจาไร้ข้อยุติ
  • ทูตไทยแฉเล่ห์เขมรยังไม่ถอนมติพระวิหารจาก UN
  • กรมศิลป์เร่งรวมเอกสาร ยัน “ปราสาทตาเมือนธม” เป็นของไทย
  • รู้จัก “ปราสาทตาเมือนธม” ของไทย
  • เตือน! อย่าหลงกลเขมร ดึงไทยมุ่ง"ตาเหมือนธม"ลดกำลังพระวิหาร ส่งคนยึดพื้นที่
  • ทหารเสริมกำลังคุมเข้ม “ตาเมือนธม” สุรินทร์ - ตะลึง ! หลักสีแดงเขมรโผล่ลึกเขตไทย 2 กม.
  • “ปองพล” เผยไทย “อ่อน” เวทีโลก ชี้ส่งเรื่องอีโคโมสสากลไม่เป็นผล
  • Hun sen insists Thais must pull back first
  • “เตช” แจงเจรจาทวิภาคีพระวิหาร ต่อ ครม.
  • เอกสารเขมรยันชัด “หมัก” ยกพระวิหารให้กัมพูชาขึ้นทะเบียนฝ่ายเดียว
  • พื้นที่เขาพระวิหาร : “อย่าให้คนไทยช้ำใจรอบ 3 อีกเลย!”
  • Thai firms say crisis will pass
  • ไทยนำคณะทูตทหาร 11 ประเทศบุกพิสูจน์ “เขาพระวิหาร”
  • “เตช” พ้อ! หนักใจเจรจาเขมร แต่ยันไทยไม่เสียดินแดน “พระวิหาร”
  • Preah Vihear stand-off Tej confident of success
  • แนวรบในปัญหาเขาพระวิหาร
  • ปราสาทพระวิหารไทยจะเสียดินแดนครั้งที่ 5 และครั้งที่ 6, 7, .... เร็ว ๆ นี้ !!??
  • จวก“ฮุนเซน”ถอนเรื่องUN ใช้วิธีการทูตเลี้ยง “หมัก” เหตุทำประโยชน์ให้กัมพูชา
  • กมธ.วุฒิฯ ชี้พื้นที่รอบพระวิหาร เป็นอธิปไตยไทย
  • UN เสียงแตก! เลื่อนพิจารณาข้อเรียกร้องกัมพูชา “พระวิหาร” ไปพรุ่งนี้
  • Un urges patience
  • “หมอประเวศ” ชี้ “พระวิหาร” คนไทยสงสัย รบ.ช่วย “แม้ว” ทำธุรกิจน้ำมัน-เกาะกง
  • ทูต UN แฉแผนเขมรหวังฮุบแดนไทยอีกหลายจุด
  • UN includes Thai-Cambodia border dispute on emergency agenda
  • เขมรหันหลังให้ไทย-อาเซียนซบเวียดนาม-UNSC
  • แม่ทัพภาค 2 ย้ำตรึงกำลังเข้ม “เขาพระวิหาร” ต่อไป - เตรียมพร้อมอพยพ ปชช.รับสถานการณ์
  • “หมัก” หลบหน้า “ฮุนเซน” เจรจายุติพระวิหาร อ้างข้อครหา
  • “ครม.” เพิ่งรับทราบ ศาล รธน.ชี้ขาดแถลงไทย-เขมรขัดรัฐธรรมนูญ
  • "บุญสร้าง"เตือนไทยขึ้นศาลโลก!"เขาพระวิหาร"ระวังบทเรียนในอดีต
  • “บุญสร้าง”แจงยอมไม่ได้!เหตุ“เขมร”ปัดรับไทยอ้างสิทธิ์“พระวิหาร”
  • เขมรเริ่มปลุกประชาชน "ไทยยึดครองดินแดน"
  • P Penh won't budge
  • “รสนา” เผยมรดกโลกเป็นการล่าอาณานิคมแบบใหม่
  • “9 ส.ว.” บุกตรวจสอบข้อเท็จจริงเขาพระวิหาร- “รสนา” ชี้เป็นปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อน
  • Cambodia asks UN to convene on border dispute with Thailand
  • Asean won't referee in Thai-Cambodia border dispute
  • ส.ว.ลุยพื้นที่ “พระวิหาร” - ผู้ว่าฯ ศรีสะเกษ เผยชาวบ้านเริ่มฝึกอาวุธป้องกันภัย!!
  • นักวิชาการเสนอตั้ง “สมปอง-อานันท์-วีระชัย” เจรจาเวทีโลกทวงคืนพระวิหาร
  • “บุญสร้าง”เผยผล"ถกเขมร"เหลว เพราะถือแผนที่คนละฉบับ
  • Temple issue bogged
  • “บุญสร้าง” เผย เหตุประชุมร่วมเขมรไม่สำเร็จ เพราะติดข้อกฎหมายเรื่องดินแดน
  • เรื่องได้-เสีย ปราสาทพระวิหาร
  • เขาพระวิหาร: หรือต้องกลับไปศาลโลก?
  • คำต่อคำ! ใครบ้างเคยบอกว่าเขมรขึ้น “ปราสาทพระวิหาร” เป็นมรดกโลกแล้วไทยไม่เสียดินแดน
  • "ฮุนเซน" ตอบสาสน์ "สมัคร" เออออห่อหมก
  • Thais try to calm feud
  • การ์ตูนเจ็บๆ เขมร กระทุ้งนายพลไปพระวิหาร
  • Thailand, Cambodia halt military moves pending border talks
  • เขมรอ้อนมหามิตรเชิญแค่ 4 ชาติไปดูพระวิหาร
  • “พล ร.6” ระดมเสริมกำลัง “เขาพระวิหาร” จี้ธรรมยาตราฯ อพยพหวั่นเปิดฉากปะทะ
  • เขมรฟ้องยูเอ็น อ้างขึ้นมรดกโลกเป็นเหตุให้ไทยรุกเขาพระวิหาร
  • Border tensions rise
  • แฉเบื้องลึก“รบ.ขายชาติ”ประเคน“พระวิหาร”แลกบ่อก๊าซ 2 แสน ล.!
  • Border committee to convene
  • กต.เผย “หมัก” ตอบ “ฮุนเซน” ยันเขมรละเมิดเขตแดนไทย
  • Cambodia's premier calls for withdrawal of Thai troops
  • "ฮุนเซน"เหยียบหน้า"หมัก"สั่งทาง จม.ถอนทหารไทยด่วน
  • Preah Vihear: has thailand been duped?
  • เขมรส่งกองพลเขมรแดงเก่าขึ้นเขาพระวิหาร
  • ด่วน!! เขมร “กัก” ทหารไทยนับร้อยที่พระวิหาร
  • Tensions rise on Thai-Cambodia border after arrests
  • ไปกันใหญ่เขมรตั้งโรงพยาบาลบนพระวิหาร
  • กัมพูชาปล่อยตัว 3 คนไทย - ทหารพรานเหยียบกับระเบิดสาหัส 1 นาย
  • แกนนำธรรมยาตราฯ เผยนาทีระทึก! กัมพูชาเหิมจับ 3 คนไทย
  • นักวิชาการนัดแถลงใหญ่ “พระวิหาร” พรุ่งนี้ เปิดข้อมูลลับให้เฉพาะสื่อเข้าฟัง
  • ชายแดน “เขาพระวิหาร” ตึงเครียด! ทหารกัมพูชาเหิมบุกจับชาวไทยไป 3 คน
  • มองอนาคตเขาพระวิหาร...ไทยต้องรู้ทัน-ไม่เสียค่าโง่
  • "สมปอง"ยัน 4.6 ตร.กม.ไม่ใช่พท.ทับซ้อนแต่เป็นของไทย แนะจับตาเขตแดนทางทะเลหวั่นเสียทรัพยากรซ้ำ
  • อดีตกษัตริย์สีหนุสีข้างถู..ประตูพระวิหารหันเข้าเขมร
  • วิวาทะเขาพระวิหาร มรดกโลก หรือ ผลประโยชน์ของใคร (1)
  • บทเรียนคดีเขาพระวิหาร (2) : กษัตริย์กัมพูชาผู้สร้างปราสาทพระวิหารล้วนไปจากสยามประเทศ
  • “ทักษิณ-ฮุนเซน” จับมือยึดบ่อน้ำมันเขมร!?
  • Lame duck or dead duck?
  • ฟังเสียง “บิ๊กป๊อก” : เสียดินแดน “พระวิหาร” เรื่องไกลตัวกองทัพ
  • คำวินิจฉัยกลางพระวิหาร ตอกหน้า “เหล่” ลงนามร่วมต้องผ่านสภา
  • รายงานพิเศษ : แถลงการณ์ร่วม “พระวิหาร” กับ “รบ.หน้าด้าน”!?!
  • Cabinet faces impeachment
  • Court verdict stuns Govt
  • Joint Communique(คำแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา)
  • Cambodia's Proposal to UNESCO (English)
  • Now to rebuild Thai-Cambodian relations
  • ถ้อยแถลง “ปองพล” หลังเสียพระวิหารให้กัมพูชา
  • ส.ว.จ่องัด ป.อาญา เชือด “เหล่” เซ่นพระวิหาร โทษถึงขั้นประหาร
  • ศาล รธน.มีมติ 8 ต่อ 1 ชี้แถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ขัด รธน.ต้องผ่านรัฐสภา
  • เสร็จโจร! “พระวิหาร” เป็นมรดกโลกของกัมพูชาแล้ว
  • “ภูวดล”เปิดเอกสารกัมพูชาตอกหน้า“นพเหล่”ปลิ้นปล้อน-ขายชาติ
  • ทำเป็นแบ๊ว! “นพดล” อ้างฤๅษีเคยเซ็นหนุนเขมร -ไม่รับประกันจะยื้อไว้ได้
  • เปิดคำสั่งศาลปกครองกลางสั่งคุ้มครอง"ปราสาทพระวิหาร"
  • กรมสนธิสัญญาฯ เตรียมอุทธรณ์ เลิกสั่งคุ้มครอง "เขาพระวิหาร"
  • ศาลฯ คุ้มครอง"เขาพระวิหาร" - ทนายกู้ชาติเตรียมฟ้อง"นพเหล่"-ครม.ยกชุด
  • วิกฤตเขาพระวิหาร 2551 (2)
  • เขาพระวิหาร ลับล่อ ซ่อนเร้น อำพราง !
  • กรณี ‘ปราสาทพระวิหาร 2551’ มีอะไรมากกว่าชาตินิยม
  • เขาพระวิหารฝั่งไทย
  • ดูชัดๆ แถลงการณ์ร่วม ‘นพดล’ ลงนามหนุนกัมพูชาขึ้นทะเบียน ‘ปราสาทพระวิหาร’
  • เขาพระวิหาร : "วาระแห่งชาติ" และทางออกที่เหลือ
  • เปิดคำฟ้องศาลปกครอง ระงับ “หุ่นเชิด” ยกดินแดนให้เขมร
  • ตุกติกเขมร!! บิดเบือนแผนที่ไทยในเอกสารมรดกโลก
  • เปิดคำปราศรัย “สฤษดิ์” ตบหน้า “หมัก” ย้ำชัดไทยทวงคืน “พระวิหาร”
  • ข้อพิพาทระหว่างไทยกับกัมพูชาในคดีปราสาทพระวิหาร
  • จับโกหก'หุ่นเชิด'ขายชาติ กรณี"เขาพระวิหาร"
  • จับตา…ขายชาติยกสอง!
  • ข้อเท็จจริงและมุมมองกรณีปราสาทพระวิหาร
  • งุบงิบได้ใจ..“ฮุนเซน” ยังไม่คายแผนที่พระวิหาร
  • เขาพระวิหาร 2551
  • ปธ.มรดกโลกไทยเดือด “นพดล” ยกเขาพระวิหารให้เขมร ลั่นต้องแก้สัญญา
  • โอกาสไทยทวงคืน “ประสาทพระวิหาร” ย้อนดูคำประท้วงคำตัดสินของศาลโลก
  • สรุปย่อคำพิพากษาของศาลโลก (The case concerning the Temple of Preah Vihear (Merits) between Cambodia and Thailand)
  • บทเรียนคดีเขาพระวิหาร (1): เจ้าสีหนุและดีน อาชเชสัน
  • “สมเกียรติ” วิตกไทยเสียสิทธิเขาพระวิหาร จี้ลูกกรอกแจงรายละเอียดถี่ยิบ
  • ดูชัดๆ ไทยยกแผ่นดินพระวิหารให้เขมร!!
  • นักวิชาการก่น “นพดล” ทำไทยเสียเปรียบ เสี่ยงเสียดินแดนรอบสอง
  • “หมอชูชัย” เตือนปราสาทพระวิหารรัฐบาลละเมิด รธน.ร้อง ส.ว.ส่งศาล รธน.วินิจฉัย
  • “ปานเทพ” แฉ “นพดล” ปิดแผนที่ฯ เหตุไม่ตรงกับแผนที่กรมทหาร
  • “ไทยคดีฯ มธ.” แฉเล่ห์ รบ.หมัก เปลี่ยนเส้นเขตแดนแลกประโยชน์กลุ่มการเมือง
  • “ม.ล.วัลย์วิภา” ชี้ กลุ่มการเมืองใช้เขาพระวิหารบังหน้าแลกประโยชน์-เปลี่ยนเส้นแดนบก/ทะเลไทย

    -----------------------------
    ความคิดเห็นของคุณคนเป็น
    //www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000080004

    ความคิดเห็นที่ 480

    พ.ศ. 2442 พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ค้นพบปราสาทพระวิหาร
    พ.ศ. 2447 ประเทศฝรั่งเศสเข้าครอบครองอินโดจีน ได้ทำสนธิสัญญาปักปันเขตแดน ระบุให้ใช้สันปันน้ำเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ซึ่งมีผลให้ปราสาทพระวิหารอยู่ในดินแดนไทย
    พ.ศ. 2451 ฝรั่งเศสได้จัดทำแผนที่ฝ่ายเดียว ส่งมอบให้ไทย มีแผ่นหนึ่งคือ "แผ่นดงรัก" ที่ครอบคลุมพื้นที่ปราสาทพระวิหาร และไม่ได้ใช้แนวสันปันน้ำเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ทำให้ปราสาทพระวิหารในแผนที่อยู่ในดินแดนของกัมพูชา โดยที่รัฐบาลไทยในขณะนั้นไม่ได้รับรองหรือทักท้วงความถูกต้อง
    พ.ศ. 2479 ไทยขอปรับปรุงเขตแดน แต่ฝรั่งเศสผัดผ่อน
    พ.ศ. 2482 ไทยขอปรับปรุงเขตแดนกับฝรั่งเศสอีกครั้ง แต่ตกลงกันไม่ได้
    พ.ศ. 2484 อนุสัญญาโตเกียว ทำให้ดินแดนที่เสียไปเมื่อ ร.ศ. 123 และ ร.ศ. 126 บางส่วน รวมถึงปราสาทพระวิหารกลับมาอยู่ในดินแดนไทย
    พ.ศ. 2489 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีการยกเลิกอนุสัญญาโตเกียวโดยสนธิสัญญาประนีประนอม โดยมีอเมริกา, อังกฤษ และเปรูเข้ามาไกล่เกลี่ย
    พ.ศ. 2492 ประเทศไทยเข้าครอบครองปราสาทพระวิหาร โดยใช้หลักสันปันน้ำเป็นเส้นแบ่งพรมแดน
    พ.ศ. 2493 กัมพูชาเป็นเอกราชจากฝรั่งเศส
    พ.ศ. 2501 กัมพูชาเรียกร้องให้ไทยคืนปราสาทพระวิหาร
    พ.ศ. 2502 กัมพูชาฟ้องร้องต่อศาลโลก
    พ.ศ. 2505 ศาลโลกตัดสินให้ปราสาทเขาพระวิหารเป็นของกัมพูชา ด้วยเสียง 9 ต่อ 3
    พ.ศ. 2550 กัมพูชาเสนอองค์การยูเนสโก ให้ขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลก แต่ยังไม่มีข้อสรุป
    18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 นายนพดล ปัทมะ รัฐมนตรีว่ากระทรวงการต่างประเทศ ได้ลงนามยินยอมให้กัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกแต่ฝ่าย เดียว ร่วมกับ นายอึง เซียน เอกอัครราชทูตกัมพูชา และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
    24 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ทางการกัมพูชาปิดปราสาทเขาพระวิหารชั่วคราว หวั่นผู้ไม่ประสงค์ดีเข้าไปทำร้ายชาวกัมพูชาในบริเวณใกล้เคียง
    28 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ศาลปกครองกลาง มีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว ให้กระทรวงการต่างประเทศและคณะรัฐมนตรียุติการดำเนินการตามมติ ครม.ที่รับรองการออกแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชาสนับสนุนให้กัมพูชาจดทะเบียน ปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลก ไปจนกว่าคดีจะเป็นที่สิ้นสุด หรือ ศาลจะมีคำสั่งเป็นอย่างอื่น
    7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 คณะกรรมการมรดกโลกรับขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกของกัมพูชา

    คนเป็น
    ---------------------------
    ความคิดเห็นที่ 544

    ผู้ค้นพบปราสาทพระวิหารในสมัยปัจจุบันคือ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ พระราชโอรสองค์ที่ 11 ใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงพบเมื่อปี พ.ศ. 2442 ขณะทรงได้รับแต่งตั้งให้เป็น ข้าหลวงต่างพระองค์ เสด็จไปรับราชการที่มณฑลลาวกาว (อิสาน) ในสมัยรัชกาลที่ 5 และได้ทรงจารึกปี ร.ศ. ที่พบเป็นเลขไทย ตามด้วยพระนามไว้ที่บริเวณชะง่อนผาเป้ยตาดี เป็นข้อความว่า "๑๑๘ สรรพสิทธิ"[9] ต่อมาเมื่อประเทศฝรั่งเศสเข้าครอบครองอินโดจีนได้ทำสนธิสัญญา พ.ศ. 2447 ในการปักปันเขตแดนกับราชอาณาจักรสยาม โดยมีความตามมาตรา 1 ของสนธิสัญญา ระบุให้ใช้สันปันน้ำเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ซึ่งมีผลให้ปราสาทพระวิหารอยู่ในดินแดนไทย ต่อมาใน พ.ศ. 2451 ฝรั่งเศสได้จัดทำแผนที่ฝ่ายเดียว ส่งมอบให้สยาม 50 ชุด แต่ละชุดมี 11 แผ่นและมีแผ่นหนึ่งคือ "แผ่นดงรัก" ที่ครอบคลุมพื้นที่ปราสาทพระวิหาร และไม่ได้ใช้แนวสันปันน้ำเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ทำให้ปราสาทพระวิหารในแผนที่อยู่ในดินแดนของกัมพูชา โดยที่รัฐบาลสยามในขณะนั้นไม่ได้รับรองหรือทักท้วงความถูกต้องของแผนที่ดัง กล่าว[ต้องการแหล่งอ้างอิง]

    ต่อ มาในปี พ.ศ. 2483 ประเทศฝรั่งเศสแพ้สงครามต่อประเทศเยอรมัน ทำให้แสนยานุภาพทางทหารลดลง จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้ยื่นข้อเสนอเรียกร้องดินแดนที่เสียไปในสมัยรัชกาลที่ 5 คืนจากฝรั่งเศส ซึ่งฝรั่งเศสปฏิเสธและมีการเคลื่อนไหวทางทหาร ที่ทำให้เกิดสงครามพิพาทอินโดจีนระหว่างไทยกับฝรั่งเศสขึ้นในปี พ.ศ. 2484 ประเทศไทยได้รับชัยชนะในการรบตลอด 22 วัน กระทั่งประเทศญี่ปุ่นที่เป็นมหาอำนาจในขณะนั้นเสนอตัวเป็นตัวกลางไกล่เกลี่ย และฝรั่งเศสได้ตกลงคืนจังหวัดไชยบุรี จำปาศักดิ์ เสียมราฐ และพระตะบองให้กับไทย ตาม อนุสัญญาโตเกียว[10] ทำให้ปราสาทพระวิหารกลับมาอยู่ในดินแดนไทยอย่างสมบูรณ์ ต่อมาเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลไทยประกาศเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่น ประกาศสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตร และต่อมาญี่ปุ่นเป็นฝ่ายแพ้สงคราม ประเทศไทยต้องรักษาสถานะตัวเองไม่ให้เป็นฝ่ายแพ้สงครามตามญี่ปุ่น และต้องการเข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติ จึงตกลงคืนดินแดน 4 จังหวัดให้ฝรั่งเศส ทำให้ปราสาทพระวิหารกลับไปอยู่บริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา ต่อมาในปี พ.ศ. 2497 ฝรั่งเศสแพ้สงครามต่อเวียดนามที่เดียนเบียนฟู ต้องถอนทหารออกจากอินโดจีน ประเทศกัมพูชาได้รับเอกราชตามสนธิสัญญาเจนีวา และไทยได้ส่งทหารเข้าไปรักษาการบริเวณปราสาทพระวิหารอีกครั้ง

    ภาย หลังกัมพูชาได้รับเอกราช เจ้านโรดมสีหนุ กษัตริย์กัมพูชาสละราชสมบัติเข้าสู่การเมือง ได้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี และประกาศเรียกร้องให้ไทยคืนปราสาทพระวิหาร และไทยไม่ยอมรับ เจ้านโรดมประกาศตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501[7] และในปีต่อมา เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2502 เจ้านโรดมสีหนุได้ฟ้องร้องต่อ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) หรือศาลโลก ให้ไทยคืนปราสาทพระวิหาร ฝ่ายไทยต่อสู้คดีโดยมี ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช กับคณะรวม 13 คน เป็นทนายฝ่ายไทย และฝ่ายกัมพูชามีนายดีน แอจิสัน เนติบัณฑิตแห่งศาลสูงสุด อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา เป็นหัวหน้าคณะ กับพวกอีกรวม 9 คน[7]

    กระทั่งวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ได้ตัดสินให้ปราสาทเขาพระวิหารเป็นของกัมพูชา ด้วยเสียง 9 ต่อ 3[11] และในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 หลังจากศาลโลกตัดสินแล้ว 20 วัน รัฐบาลไทยโดย ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้มีหนังสือไปยัง นายอูถั่น เลขาธิการสหประชาชาติ เพื่อประท้วงคำพิพากษาของศาลโลก และสงวนสิทธิที่ประเทศไทยจะเรียกร้องปราสาทพระวิหารกลับคืนในอนาคต

    หลัง จากนั้นไม่นาน กัมพูชาเกิดสงครามกลางเมืองขึ้นภายในประเทศ ปราสาทหินแห่งนี้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมเป็นช่วงสั้นๆ ในปี พ.ศ. 2535 แต่ปีต่อมาก็ถูกเขมรแดงเข้าครอบครอง จากนั้นก็เปิดอีกครั้งจากฝั่งประเทศไทย เมื่อปลายปี พ.ศ. 2541

    และ เมื่อ พ.ศ. 2546 กัมพูชาก็ได้ตัดถนนเข้าไปจนสำเร็จสมบูรณ์หลังจากรอคอยเป็นเวลาช้านาน แต่ก็มีการห้ามเข้าอยู่เป็นระยะโดยมิได้กำหนดล่วงหน้า

    คนเป็น



    คณะรัฐมนตรี คณะที่ ๕๗
    คณะรัฐมนตรีขายชาติ คณะที่ ๑
    (ช่วงเวลา ๖ กุมภาพันธ์– ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๑)



    ๑. นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
    ๒. นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
    ๓. นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
    ๔. นายสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
    ๕. นายสหัส บัณฑิตกุล รองนายกรัฐมนตรี
    ๖. พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ รองนายกรัฐมนตรี
    ๗. นายสุวิทย์ คุณกิตติ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
    ๘. นายชูศักดิ์ ศิรินิล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
    ๙. นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
    ๑๐. ร้อยตรีหญิง ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
    ๑๑. นายนพดล ปัทมะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
    ๑๒. นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
    ๑๓. นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
    ๑๔. นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    ๑๕. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    ๑๖. นายธีระชัย แสนแก้ว รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    ๑๗. นายสันติ พร้อมพัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
    ๑๘. นายทรงศักดิ์ ทองศรี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
    ๑๙. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
    ๒๐. นางอนงค์วรรณ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    ๒๑. นายมั่น พัธโนทัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    ๒๒. พลโทหญิง พูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
    ๒๓. นายวิรุฬ เตชะไพบูลย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
    ๒๔. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
    ๒๕. ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
    ๒๖. นายสุพล ฟองงาม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
    ๒๗. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
    ๒๘. นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
    ๒๙. นางอุไรวรรณ เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
    ๓๐. นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
    ๓๑. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    ๓๒. นายบุญลือ ประเสริฐโสภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
    ๓๓. นายพงศกร อรรณนพพร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
    ๓๔. นายไชยา สะสมทรัพย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
    ๓๕. นายวิชาญ มีนชัยนันท์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข




     

    Create Date : 05 เมษายน 2551
    0 comments
    Last Update : 14 พฤศจิกายน 2551 6:53:14 น.
    Counter : 1099 Pageviews.
  • ชื่อ :
    Comment :
      *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
     


    WangAnJun
    Location :


    [ดู Profile ทั้งหมด]

    ฝากข้อความหลังไมค์
    Rss Feed

    ผู้ติดตามบล็อก : 2 คน [?]




    Friends' blogs
    [Add WangAnJun's blog to your web]
    Links
     

     Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.