เกลียดจริง ๆ คนไม่จริงใจ
 
2. การจัดการกับข้อมูล

1. การเก็บข้อมูล (Data Acquisition)
2. การบันทึกข้อมูล (Data Entry)
3. การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล (Data Edit)
4. การจัดแฟ้มข้อมูล (Filing)
5. การประมวลผล (Data Processing)
การประมวลผลข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 3 วิธีใหญ่ ๆ ดังนี้
5.1. ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) คือ การประมวลผลโดยผู้ใช้จะทำการรวบรวมเอกสารที่ต้องการประมวลผลไว้เป็นชุด ๆ ซึ่งเอกสารแต่ละชุดต้องให้มีขนาดเท่ากัน




5.2. ระบบประมวลผลแบบโต้ตอบ (Transaction Processing) หมายถึงการทำงานในลักษณะที่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถที่จะตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลา





5.3. ระบบประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) คือ การประมวลผลร่วมกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ต่อพ่วงกับระบบสื่อสาร (Communication) โดยอาศัยอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น โมเด็ม (Modem) ซึ่งลักษณะการทำงานอาจจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อพ่วงกันในระบบเครือข่าย (Network)




6. การสอบถามและค้นคืนข้อมูล(Data Query and Data Retrieval)
7. การปรับข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน (Update)
8. การจัดทำรายงาน (Reporting)
9. การทำสำเนา (Duplication)
10. การสำรองข้อมูล (Backup)
11. การกู้ข้อมูล (Data Recovery)
12. การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
13. การทำลายข้อมูล (Data Scraping)
14. การจัดการไฟล์
วิธีการจัดการไฟล์ของข้อมูลในสื่อบันทึกข้อมูล มี 3 วิธีใหญ่ ๆ คือ
14.1. การจัดแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ (Sequential File)
14.2. การจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่มหรือแบบโดยตรง(Random/direct File)
14.3. การจัดแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี(Indexed Sequential File)



การเข้าถึงข้อมูล


การเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)
เป็นการเข้าถึงข้อมูลทีละเรคคอร์ดเรียงไปตามลำดับของการจัดเก็บ ถ้าจะดึงข้อมูลเรคคอร์ดที่ 10 มาใช้จะต้องอ่านข้อมูลผ่านเรคคอร์ดที่ 1 ถึง 9 ก่อนเสมอ เมื่อถึงเรคคอร์ดที่ 10 จึงจะสามารถดึงข้อมูลออกมาใช้ได้ สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้มักเป็น เทป (Tape)






การเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่ต้องผ่านเรคคอร์ดที่อยู่ก่อน การเข้าถึงเรคคอร์ดแบบสุ่มจะเร็วกว่าแบบโดยลำดับมาก เหมาะสมกับงานที่ต้องการความเร็วในการดึงข้อมูลมาก ๆ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมักเป็นดิสก์ หรือจานแม่เหล็ก




แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป



Create Date : 11 มิถุนายน 2552
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 10:15:08 น. 144 comments
Counter : 9578 Pageviews.

 
1.

แฟ้มลำดับ (sequential) ลำดับ เทปแม่เหล็กจานแม่เหล็ก ประหยัด ใช้ได้ดีกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก หรือทั้งแฟ้ม การจะเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงใช้เวลามาก

แฟ้มสุ่ม(direct หรือ hash) สุ่ม จานแม่เหล็ก การเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงเร็วมาก ไม่เหมาะกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก และไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับได้ สิ้นเปลือง

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html



2. การประมวลผลข้อมูลแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ คือ
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือ หมายถึงการใช้แรงงานคนเป็นหลักในการประมวลผล โดยมีอุปกรณ์ต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการประมวลผล เช่น ดินสอ ปากกา ไม้บรรทัด กระดาษ ลูกคิด เครื่องคิดเลข วิธีการประมวลผลด้วยมือเหมาะกับงานที่มีปริมาณไม่มากนัก และอยู่ในภาวะที่แรงงานยังมีการจ้างงานที่ไม่สูงนัก

2. การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล(Manual With Machine Assistance Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล หรือการประมวลผลด้วยเครื่องจักรกล ซึ่งการประมวลผลแบบนี้จะเหมาะกับงานระดับกลางที่มีปริมาณไม่มากนัก และต้องการความเร็วในการทำงานในระดับพอสมควร การทำงานจะอาศัยแรงงานคน ร่วมกับเครื่องจักรกล เครื่องที่ใช้กันมาก คือ เครื่องทำบัญชี หรือเครื่องประมวลผลกึ่งอิเล็กทรอนิกส์ (Semi-electronic Data Processing)

3. การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing)
การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ หรือการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เรียกย่อๆ ว่า EDP คือ การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งงานที่เหมาะสมกับการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์คือ งานที่มีลักษณะดังนี้

งานที่มีปริมาณมากๆ
ต้องการความเร็วในการประมวลผล
ต้องการความละเอียดและความถูกต้องของงานสูง
งานที่มีขั้นตอนยุ่งยาก ซับซ้อน หรือมีลักษณะที่ทำงานแบบเดิมซ้ำกันหลายๆ รอบ
มีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน

เช่น ระบบงานทะเบียนและวัดผล, ระบบงานการจองตั๋วเครื่องบิน หรือระบบงานด้านการเงินและการธนาคาร เป็นต้น
ขั้นตอนการประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์

การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ
1. การเตรียมข้อมูลเข้า (Input Data)
คือการเก็บรวบรวมข้อมูลให้พร้อมที่จะทำการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผล ซึ่งประกอบไปด้วย
1.1 การลงรหัส (Coding) คือการใช้รหัสแทนข้อมูล ซึ่งทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปที่กระทัดรัดเพื่อสะดวกแก่การประมวลผล รหัสที่ใช้อาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลขก็ได้
1.2 การแก้ไข (Editing) คือการตรวจสอบข้อมูล ให้มีความถูกต้อง และเป็นไปได้ (เช่น ข้อมูลอายุ ควรจะอยู่ระหว่าง 0 - 100 ปี เป็นต้น) ก่อนนำไปใช้งาน โดยมีการปรับปรุงแก้ไขเท่าที่จำเป็น
1.3 การแยกประเภท (Classifying) คือ การจัดประเภทของข้อมูล หรือจำแนกข้อมูลออกเป็นกลุ่มเพื่อสะดวกแก่การนำไปประมวลผล เช่น ร้านค้าย่อย อาจจะจำแนกเป็น ชนิดของสินค้า แผนกที่ขาย ผู้ขาย หรือจำแนกหมวดอื่นๆ ตามที่ผู้จัดร้านเห็นว่ามีประโยชน์ต่อการดำเนินงาน
1.4 การแปรสภาพข้อมูล (Transforming) คือ การเปลี่ยนสื่อ หรือตัวกลางที่ใช้บันทึกข้อมูลเพื่อให้อยู่ในรูปที่สามารถนำไปประมวลผลต่อไปได้ เช่น การเจาะข้อมูลลงบนบัตร เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถรับไปประมวลผลได้

2. การประมวลผล (Processing)
ได้แก่ วิธีการจัดการกับข้อมูล ซึ่งอาจเป็นการบวก ลบ คูณ หาร หรือการคำนวณ และเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ ที่กำหนดไว้

3. การนำเสนอข้อมูล (Output)
คือ การเอาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงให้ผู้อื่นทราบ อาจจะแสดงไว้ในรูปรายงาน ตาราง หรือแบบใดก็ได้ที่สามารถนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
3.1 การสรุปผล (Summarizing) คือการนำเอาข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่มากลั่นกรอง และย่อลงให้เหลือเฉพาะส่วนที่จำเป็น เพื่อที่จะนำไปปฏิบัติให้คล่องตัว และใช้ประกอบการตัดสินใจ
3.2 การเก็บข้อมูล (Storing) เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ได้อีกในอนาคตจึงจำเป็นต้องมีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ ในระบบคอมพิวเตอร์มักจะบันทึกลงเทปแม่เหล็กหรือจานแม่เหล็ก
3.3 การค้นหาและการเรียกใช้ข้อมูล (Searching and Retrieving) คือ การค้นหาข้อมูลในแฟ้มข้อมูล และเรียกข้อมูลนั้นกลับมาใช้งาน (เช่นนำข้อมูลกลับมาแก้ไข ปรับปรุง)
3.4 การทำสำเนาข้อมูล (Reproduction) ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลดิบที่ได้มาใหม่ หรือข้อมูลจากการประมวลผล ในบางครั้งต้องการข้อมูลหลายชุด จึงจำเป็นต้องมีการสำเนาข้อมูลออกมาใช้หลายๆ ชุด


--------------------------------------------------------------------------------

ระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer processing)
สามารถแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้
1. การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing system)
หมายถึงการประมวลผลข้อมูลที่ต้องมีการรวบรวมข้อมูลให้มากพอควร โดยใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งในการเก็บรวบรวม เมื่อมีการสะสมข้อมูลครบเวลาที่กำหนด จึงนำไปประมวลผล ระบบเครื่องที่ประมวลผลแบบนี้เรียกว่าระบบออฟไลน์ (Off-line system)

2. การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive processing system)
เป็นวิธีการประมวลผลที่รับข้อมูลที่เกิดขึ้นเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง และเครื่องสามารถที่จะโต้ตอบข้อมูลที่รับเข้ามาทันที (ข้อมูลที่เข้าไปแต่ละรายการจะถูกประมวลผลทันที) เช่น ระบบการฝากถอนเงินโดยเครื่อง ATM เป็นต้น การทำงานในระบบนี้เรียกอีกอย่างว่าระบบออนไลน์ (On-line system) ซึ่งระบบ On-line นี้ยังมีประเภทย่อยๆ อีก 2 ประเภท คือ
2.1 ระบบการประมวลผลโดยใช้เวลาจริง (Real-time processing) เป็นระบบที่ต้องการความรวดเร็วในการตอบสนองข้อมูลสูงมาก (ข้อมูลที่ตอบสนองมาต้องถูกต้อง แน่นอน แม่นยำ ทันต่อเวลา)
2.2 ระบบการประมวลผลแบบเวลา (Timesharing processing) เป็นระบบที่ให้ผู้ใช้หลายๆ คนสามารถทำงานพร้อมๆ กันได้ โดยการแบ่งเวลาหน่วยประมวลผลกันใช้งาน โดยการผ่านเครื่องเทอร์มินัล ซึ่งเป็นสถานีที่ใช้ในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ และสามารถจัดสรรหน่วยความจำของระบบให้ผู้ใช้ได้ตามความต้องการของงาน

3. การประมวลผลโดยใช้ตัวประมวลผลมากกว่า 1 ชุด (Multiprocessing system)
หมายถึงการประมวลผลโดนอาศัยหน่วยประมวลผลกลางมากกว่า 1 ชุด โดยกำหนดให้ทำงานในเวลาพร้อมๆ กัน (อาจจะเสริมการทำงาน หรือ สำรองการทำงานซึ่งกันและกัน) นิยมใช้กับงานที่จำเป็นต้องมีการประมวลผล อยู่ตลอดเวลา

4. การประมวลผลแบบหลายโปรแกรม (Multiprogramming system)
ระบบ Multiprogramming system หรือ Multi tasking system หมายถึงระบบการประมวลผลที่ในขณะเวลาใดเวลาหนึ่งสามารถมีโปรแกรม อยู่ในระบบการประมวลผลมากกว่า 1 โปรแกรมได้ กล่าวคือ ในขณะที่โปรแกรมหนึ่งกำลังทำงานอยู่ ผู้ใช้สามารถที่จะเรียกโปรแกรมอื่น มาทำงานซ้อนได้ และสามารถที่จะสลับกันทำงานระหว่างโปรแกรมที่เปิดใช้งานอยู่ได้




ที่มา

//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data3.html



โดย: นศ.ณัฐชนันท์พร ศรีบุญเรือง (หมู่08 เช้า พฤ ) IP: 172.29.85.18, 58.137.131.62 วันที่: 11 มิถุนายน 2552 เวลา:15:32:31 น.  

 
การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ


โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:12:50:20 น.  

 
วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน


โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:12:52:19 น.  

 
วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:12:56:34 น.  

 
การเข้าถึงข้อมูล

· การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการเหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

· การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
ที่มา//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html


โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:12:59:55 น.  

 
1.อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)

ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม
ที่มา
//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html


โดย: โดยนางสาวเบญจมาศ ปวงสุข หมู่ 1 เรียนจันทร์บ่าย IP: 114.128.130.15 วันที่: 15 มิถุนายน 2552 เวลา:19:11:00 น.  

 
2.1 แบบสุ่ม ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

แบบลำดับ

serial processing
การประมวลผลแบบลำดับ


ความหมาย
หมายถึง การอ่าน ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ไปทีละแฟ้มข้อมูล โดยเรียงไปตามลำดับของแฟ้มที่เก็บไว้ ตรงข้ามกับการประมวลผลแบบขนาน (pararell processing) ดู pararell processing เปรียบเทียบ

ที่มา : //www.google.co.th/search?hl=th&q=%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1+%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B3%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%9A&meta=


โดย: นางสาวอรธิรา บัวลา บช.บ. 1/3 หมู่ 29 เรียนวันพุธ คาบ 2 - 5 เมล์ manay_manay@hotmail.com IP: 113.53.161.51 วันที่: 17 มิถุนายน 2552 เวลา:21:51:49 น.  

 
2.2 แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. การประมวลผลสวนบุคคล 2. การประมวลผลแบบรวมศูนย์ และ 3.การประมวลผลแบบกระจาย

ที่มา : //guru.google.co.th/guru/thread?tid=66e339188d575990


โดย: นางสาวอรธิรา บัวลา บช.บ. 1/3 หมู่ 29 เรียนวันพุธ คาบ 2 - 5 เมล์ manay_manay@hotmail.com IP: 113.53.161.51 วันที่: 17 มิถุนายน 2552 เวลา:22:00:28 น.  

 
2.2 แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. การประมวลผลสวนบุคคล 2. การประมวลผลแบบรวมศูนย์ และ 3.การประมวลผลแบบกระจาย

ที่มา : //guru.google.co.th/guru/thread?tid=66e339188d575990


โดย: นางสาวอรธิรา บัวลา บช.บ. 1/3 หมู่ 29 เรียนวันพุธ คาบ 2 - 5 เมล์ manay_manay@hotmail.com IP: 113.53.161.51 วันที่: 17 มิถุนายน 2552 เวลา:22:00:29 น.  

 
ข้อที่ 1

วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าในระบบคอมพิวเตอร์มักมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ก็สามารถที่จะทำงานได้แล้วโดยที่หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่ต่างๆ คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม และหน่วยความจำ โดยหน่วยรับข้อมูลจะรับข้อมูล จาก ผู้ ใช้แล้วนำมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำ เพื่อให้หน่วยคำนวนและตรรกะ ทำการประมวลผลข้อมูลนั้นและเมื่อได้ รับผลลัพธ์ก็สงไปแสดงผลที่หน่วยแสดงผล หรือนำไปเก็บที่หน่วยความจำหลัก ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของหน่วยควบคุม แต่เหนื่องจากหน่วยความจำภายในไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ในกรณีที่ข้อมูล ที่ใช้มีจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีการขยายหน่วยความจำ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในระหว่างที่มีการคำนวณอยู่ ซึ่งเรียก ว่าหน่วยความจำหลักทำให้สามารถขยายขอบเขตการทำงานของคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีขั้นตตอน การทำงาน เช่นเดิม แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีหน่วยความจำหลักช่วยในการทำงาน แต่ในบางครั้งงาน ที่ทำอาจ จะ มีขนาดของข้อมูลที่โตกว่าจะเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ทั้งหมด อีกทั้งข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักของ เครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเก็บไว้ได้เป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการทำงานเท่านั้นเมื่อเลิกทำงานข้อมูล ดังกล่าว ก็จะสูญหายไปด้วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ทุกๆครั้งที่ทำงานเกี่ยวกับข้อมูล ดังกล่าวจะต้องมีการใส่ข้อมูลเข้าไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการ เสียเวลาเป็นอย่างมาก หน่วยความจำสำรองจึงเกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่เก็บ ข้อมูลไว้อย่าง ถาวร ตราบเท่า ที่ต้องการ และสามารถที่จะเก็บข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้มาก ซึ่งทำให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้ โดยการนำเอา เฉพาะข้อมูลส่วน ที่ต้องการใช้งานในขณะนั้นเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ส่วนข้อมูลที่ยังไม่ได ้ใช้งาน ในขณะนั้นก็ยังคงเก็บ ไว้ที่หน่วยความจำสำรองเช่นเดิม และหากว่าต้องการ ประมวลผลข้อมูลชุดใหม่ ก็สามารถกระทำ ได้โดยเอาข้อมูงชุดใหม่เข้าไปในหน่วยความจำแทนข้อมูลชุดเดิม ด้วยวิธีการเช่นนี้จะเห็นว่าแม้ว่า ข้อมูลจะมีจำนวน มากเกินกว่าขนาดของหน่วยความจำหลักเท่าใดก็ตาม เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน กับข้อมูลชุดนั้นได ้ เสมอและนอกจากนี้การที่มีการเก็บข้อมูลไว้ใวส่วนหน่วยความจำสำรอง จะทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมมากขึ้น กล่าวคือ นอกจากจะใช้ข้อมูลเพื่อทำงานอย่างหนึ่งได้แล้วเราสามารถใช้ข้อมูลชุดเดียวกันนี้ไปใช้เพื่อทำงานอื่นๆๆได้อีก โดยใช้ร่วมกับอีกโปรแกรมหนึ่งหรือให้โปรแกรมอื่นมาอ่านข้อมูลไปใช้งาน หากข้อมูลชุดนี้มีข้อสนเทศภายใน ที่ต้องการกล่าวโดยสรุปคือ ข้อมูลชุดหนึ่งๆสามารถใช้ได้กับโปรแกรมหลายๆโปรแกรม หากข้อมูลชุดนั้น เป็นที่ต้องการของโปรแกรมนั้น ซึ่งการเก็บข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง นี้จะต้องมีการจัดเก็บในรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้งานข้อมูลนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่จัดเก็บใน หน่วยความจำสำรอง จะเก็บอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังรายละเอียดที่กล่าวมาแล้ว การนำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรอง คือขั้นตอนการอ่านข้อมูล หรือ เขียนข้อมูลเมื่อต้องการบันทึกข้อมูล ดังนั้นวิธีการประมวลผลก็วิธีที่ว่าด้วยการอ่าน/หรือการเขียน ข้อมูลบนหน่วย ความจำสำรอง ดังนั้นจึงสามารถแบ่งวิธีการเข้าถึงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลตามรูปแบบการถึงหน่วยความจำสำรอง คือ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล


ที่มา //www.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm

ข้อที่ 2

การอธิบายการประมวลผล (Process Description)


การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้โดยการใช้แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) โดยการเขียนสัญลักษณ์การประมวลผลนั้นจะเขียนเพียงหัวข้อในการประมวลผลเท่านั้น ยังไม่มีการเขียนคำอธิบายโดยละเอียด ซึ่งเราสามารถเขียนอธิบายโดยละเอียดได้ด้วยการเขียนคำอธิบายการประมวลผล (Process Description) หรือ Process Specification

จุดประสงค์ของการเขียน Process Specification เพื่อใช้เป็นสื่อระหว่างผู้ใช้ระบบโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ระบบ ได้เข้าใจตรงกันในการประมวลผลนั้น โดยโปรแกรมเมอร์จะเข้าใจการประมวลผลนั้นเพื่อใช้ในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะในกรณีของการมีโปรแกรมเมอร์หลายคนในการเขียนโปรแกรมในการสื่อให้เข้าใจตรงกัน ส่วนผู้ใช้ระบบจะได้เห็นถึงผลการวิเคราะห์ของนักวิเคราะห์ระบบว่าเข้าใจถูกต้องหรือไม่

จุดมุ่งหมายในการใช้การอธิบายการประมวลผลนั้นสรุปได้ 3 ข้อคือ

1. เพื่อให้การประมวลผลนั้นชัดเจน เข้าใจง่าย

การใช้วิธีนี้จะทำให้ผู้วิเคราะห์ได้เรียนรู้รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนในการประมวลผลการทำงานในส่วนที่ไม่ชัดเจนต่างๆ จะถูกบันทึก และเขียนออกมาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจะรวมมาจากการสืบค้นข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลวิธีต่างๆ

2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถูกต้องในการอธิบายในรูปแบบเฉพาะของการประมวลผลนั้นระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

ในการสื่อถึงกันให้เข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์และโปรแกรมเมอร์นั้น ถ้าไม่สื่อกันให้ชัดเจนจะมีผลตามมาอย่างมากเมื่อลงรหัสโปรแกรม เนื่องจากจะต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย และอาจทำให้การบริหารโครงการไม่เป็นไปตามกำหนดเวลาอีกด้วย ดังนั้นในการอธิบายการประมวลผลจึงมีส่วนช่วยอย่างมากในการสื่อการประมวลผลให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

3. เพื่อตรวจสอบการออกแบบระบบ

โดยการประมวลผลนั้นจะถูกต้องหรือไม่ในด้านข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่อง การออกรายงานทั้งหน้าจอ และการพิมพ์รายงานนั้นจะเป็นไปตามการวิเคราะห์ตามแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) หรือไม่ จะสามารถตรวจสอบได้จากการอธิบายการประมวลผลนี้

การเขียนคำอธิบายการประมวลผลนี้จะมีเฉพาะโพรเซสในระดับล่างสุดเท่านั้น ระดับแม่เราจะไม่เขียนคำอธิบายเนื่องจากเราเขียน DFD ระดับแม่เพื่อใช้เป็นเครื่องมือเขียน DFD ระดับลูกเพื่อให้เกิดการแตกโครงสร้างแบบบน-ลง-ล่าง (Top - Down) และเมื่ออธิบายโพรเซสระดับลูกแล้วก็หมายความรวมถึงการทำงานระดับแม่โดยปริยาย


วิธีการที่ใช้อธิบายการประมวลผลที่จะกล่าวในที่นี้มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธีคือ

1. ประโยคโครงสร้าง (Structure Sentences)

2. การตัดสินใจแบบตาราง (Description Tables)


เราจะเลือกใช้วิธีการอันใดอันหนึ่งหรือใช้ปนกันก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม แต่ไม่ว่าจะเขียนด้วยวิธีใดๆ เมื่อเขียนแล้วควรจะมีคุณสมบัติ ดังนี้

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นสามารถนำมาตรวจสอบความถูกต้องกับผู้ใช้ได้ง่ายการเขียนเป็นประโยคโครงสร้างอาจจะไม่เหมาะสมถ้าต้องนำมาตรวจสอบกับผู้ใช้เพราะว่าคำอธิบายนั้นจะยาวและคำอธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไข หรือการทำงานซ้ำก็เขียนไม่สะดวก ตัวอย่างเช่น เงื่อนไขที่มี AND,OR หรือ NOT เป็นต้น

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นควรจะใช้สื่อสารกับผู้อื่นที่เกี่ยวข้องในระบบได้ง่ายผู้อื่นที่เกี่ยวข้องอาจจะเป็นผู้ใช้ ผู้จัดการ ผู้ตรวจสอบ เป็นต้น การเขียนคำอธิบายเป็นประโยคโครงสร้าง หรือเขียนเป็นการตัดสินใจแบบตารางจะเหมาะสมกับบุคคลเหล่านั้นเพราะว่าทั้ง 2 วิธีนั้นง่ายต่อการทำความเข้าใจถึงแม้ว่าอาจจะยาวไปหน่อยก็ตาม

โดยทั่วไปแล้ววิธีการเขียนแบบประโยคโครงสร้างเป็นที่นิยมใช้กันมากที่สุด และในโครงการเดียวกันควรจะเลือกใช้วิธีเดียวกันเพื่อให้ง่ายต่อการสื่อสาร การจะเลือกใช้วิธีการมากกว่าหนึ่งวิธีก็อาจจะเป็นไปได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ

1. ความชอบของผู้ใช้

2. ความชอบของผู้เขียน (นักวิเคราะห์ระบบ)

3. ลักษณะการทำงานของโพรเซส


ที่มา //www.geocities.com/S_Analysis/FlowChart2_new.html


โดย: นางสาววิภาวี พลวี (หมู่ 08 พฤ เช้า ) IP: 172.29.9.59, 202.29.5.62 วันที่: 18 มิถุนายน 2552 เวลา:8:22:21 น.  

 
ข้อที่1

การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม


การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

//it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#3



ข้อที่2

วิธีการประมวลผลข้อมูล

วิธีการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ มีหลายวิธี ดังนี้

1) การคำนวณ (Calculation) หมายถึง การนำข้อมูลที่เป็นตัวเลขมาทำการ บวก ลบ คูณ หารยกกำลัง เช่น การคำนวณภาษี การคำนวณค่าแรง เป็นต้น

2) การจัดเรียงข้อมูล (Sorting) เป็นการเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก หรือมากไปหาน้อย เพื่อทำให้ดูง่ายขึ้น ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้เร็วขึ้น เช่น การเรียงคะแนนดิบของนักเรียนจากมาก ไปหาน้อย การเก็บบัตรดัชนีสำหรับหนังสือต่างๆ โดยการเรียงตามตัวอักษร จาก ก ข ค ถึง ฮ เป็นต้น

3) การจัดกลุ่ม (Classifying) หมายถึง การจัดข้อมูลโดยการแยกออกเป็นกลุ่มหรือประเภท ต่างๆ เช่น การนำข้อมูลเกี่ยวกับประวัตินักศึกษา มาแยกตามคณะต่างๆ เช่น แยกเป็นนักศึกษาที่ สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ นักศึกษาที่สังกัดคณะครุศาสตร์ เป็นต้น การทำเช่นนี้ทำให้การค้นหาข้อมูล ทำได้ง่ายขึ้น และยังสะดวกสำหรับทำรายงานต่างๆ

4) การดึงข้อมูล (Retrieving) หมายถึง การค้นหาและการนำข้อมูลที่ต้องการมาจากแหล่ง เก็บข้อมูล เพื่อนำไปใช้งาน

5) การรวมข้อมูล (Merging) หมายถึง การนำข้อมูลตั้งแต่สองชุดขึ้นไปมารวมกันให้เป็นชุด เดียวเช่น การนำประวัติส่วนตัวของนักศึกษา และประวัติการศึกษามารวมเป็นชุดเดียวกัน เป็นประวัตินักศึกษาเป็นต้น

6) การสรุปผล (Summarizing) หมายถึง การสรุปส่วนต่างๆของข้อมูลโดยย่อเอา เฉพาะส่วนที่เป็น ใจความสำคัญ เพื่อเน้นจุดสำคัญและแนวโน้ม เช่น การนำข้อฒุลมาแจงนับและ ทำเป็นตารางการ หายอดนักศึกษา ของแต่ละวิชา ข้อมูลเหล่านี้ใช้สำหรับพิมพ์เป็นรายงานสรุป ส่งขึ้นไปให้ผู้บริหาร ระดับสูง เพื่อใช้ในการบริหาร

7) การทำรายงาน (Reporting) หมายถึง การนำข้อมูลมาจัดพิมพ์รายงานรูปแบบต่างๆ เช่น รายงานการวิเคราะห์อาชีพของผู้ปกครองของนักศึกษา รายงานการเรียนของนักศึกษา เป็นต้น

8) การบันทึก (Recording) หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลเอาไว้โดยทำการคัดลอกข้อมูล จากต้นฉบับแล้วเก็บเป็นแฟ้ม (Filing) เช่น การบันทึกประวัติส่วนตัวนักศึกษาแต่ละคน เป็นต้น

9) การปรับปรุงรักษาข้อมูล (Updating) หมายถึง การเพิ่ม (Add) หรือการเอาออก (Delete) และการเปลี่ยนค่า (Change) ข้อมูลที่อยู่ในแฟ้มให้ทันสมัยอยู่เสมอ


//www.bs.ac.th/2548/e_bs/G7/raim/in4page2.html


โดย: นางสาวปวีณา บรรยงค์ เรียนจันทร์-บ่าย หมู่1 รหัส50040302112 IP: 172.29.9.56, 202.29.5.62 วันที่: 22 มิถุนายน 2552 เวลา:14:53:19 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
การเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access)
ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป
การเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
การประมวลผลข้อมูลมี 3 วิธีค่ะ
การประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการประมวลผลย่อยหลายกระบวนการประกอบกัน ตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ การทำรายงาน การจัดเก็บ การทำสำเนา รวมถึงการแจกจ่ายและการสื่อสารข้อมูล

การประมวลผลข้อมูลเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญ เพราะข้อมูลที่มีอยู่รอบๆ ตัวเรามีเป็นจำนวนมากในการใช้งาน จึงต้องมีการประมวลผลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ
การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing)
การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลโดยเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้ว ก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูลนั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานผล หรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
1. รวบรวมข้อมูล
2. ป้อนข้อมูล
3. ประมวลผล
การประมวลแบบเชื่อมตรง (Online processing)
การทำงานในขณะที่ข้อมูลเดินทางไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผล การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีการที่ใช้กันมากวิธีที่หนึ่ง
การประมวลผลแบบโต้ตอบ (transaction Processing)
การทำงานในลักษณะที่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
ที่มา //it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#4


โดย: น.ส.นิตยา กลิ่นเมือง ( หมู่ที่ 15 ศ. เช้า) IP: 172.29.6.10, 202.29.5.62 วันที่: 26 มิถุนายน 2552 เวลา:9:54:20 น.  

 
1.อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)

ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม
ที่มา
//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html


โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 125.26.164.252 วันที่: 28 มิถุนายน 2552 เวลา:19:54:28 น.  

 
วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน


โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 125.26.164.252 วันที่: 28 มิถุนายน 2552 เวลา:19:56:27 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม
ที่มา//www.pck1.go.th/krusuriya/ebook3/page/glossary.htm#7

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

1.การประมวลผลข้อมูล
2.การประมวลผลความรอบรู้
3.การประมวลผลแบบกลุ่ม
4.การประมวลแบบเชื่อมตรง
5.การประมวลผลแบบรวมศูนย์
เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการประมวลผลย่อยหลายกระบวนการประกอบกัน ตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ การทำรายงาน การจัดเก็บ การทำสำเนา รวมถึงการแจกจ่ายและการสื่อสารข้อมูล
ที่มา//www.pck1.go.th/krusuriya/ebook3/page/glossary.htm#8


โดย: นางสาวเกศรินทร์ ไชยปัญญา หมู่( 08 พฤ เช้า) IP: 172.29.85.71, 58.137.131.62 วันที่: 29 มิถุนายน 2552 เวลา:15:10:42 น.  

 
2.1อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

· การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการเหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

· การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ

ที่มา
//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html


โดย: น.ส. วริศรา ทิมแดง (ม.08 พฤ . เช้า ) IP: 172.29.85.71, 202.29.5.62 วันที่: 30 มิถุนายน 2552 เวลา:9:47:02 น.  

 
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เมื่อถึงกำหนด ข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว

· การประมวลผลแบบทันที (real-time processing) การประมวลผลแบบทันที เป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล


ที่มา
//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html


โดย: น.ส. วริศรา ทิมแดง (ม.08 พฤ . เช้า ) IP: 172.29.85.71, 202.29.5.62 วันที่: 30 มิถุนายน 2552 เวลา:9:54:10 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
1.อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม
ที่มา
//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html



นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1


โดย: นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1 IP: 58.147.38.208 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:19:29 น.  

 
2.1

การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม

2.2
การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เมื่อถึงกำหนด ข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว

· การประมวลผลแบบทันที (real-time processing) การประมวลผลแบบทันที เป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล

ที่มา //itd.htc.ac.th/st_it51/it5144/npt/work/dsa/frame/e12.html


โดย: นางสาวเจนจิรา จุตตะโน หมู่8 พฤหัส(เช้า) รหัส 52040302126 IP: 1.1.1.236, 58.137.131.62 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:51:00 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ
การเข้าถึงแบบสุ่ม คือ การเข้าถึงข้อมูลที่บันทึกไว้โดยสุ่มหมายความว่าเข้าถึงได้ทุก ๆ จุดได้โดยทันทีทันใด เป็นต้นว่า การเข้าถึงข้อมูลที่เก็บในจานบันทึก ซึ่งจะใช้เวลาเท่ากันหมดไม่ว่าเก็บไว้ที่จุดไหน ต่างกับการเข้าถึงข้อมูลที่เก็บไว้ในแถบบันทึกหรือเทป ถ้าข้อมูลที่ต้องการอยู่ตอนปลาย ก็จะต้องรอให้เทปเดินหน้าไปจนถึงจุดนั้นเสียก่อน การเข้าถึงข้อมูลโดยวิธีนี้ จะมีหัวอ่าน/บันทึก (read head) ต่อกับก้านโลหะที่เคลื่อนเข้า/ออกได้ เหนือจานที่หมุนรอบแกนอีกทีหนึ่ง เปรียบเทียบ) ถ้าเปรียบกับการฟังเพลงจากจานเสียงและเทป จะทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น กล่าวคือ ถ้าเป็นเทปหรือแถบบันทึก หากจะฟังเพลงที่อยู่ในลำดับท้าย ๆ ก็จะต้องรอให้เทปหมุนผ่านเพลงในลำดับแรก ๆ ไปก่อน แต่ถ้าเป็นจานเสียง เราต้องการฟังเพลงใด ก็สั่งได้ทันที ดู sequential access เปรียบเทียบ
การเข้าถึงแบบลำดับ คือ การเข้าถึงข้อมูลแบบ Sequential คือการเขาถึงข้อมูลอย่างเป็นลำดับ ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรงได้ ข้อเสียของการเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้ คือ ช้า ส่วนข้อดี คือ ประหยัด

ที่มา:
//yalor.yru.ac.th/~nipon/Archi_STD43/chapter4/group_20/Access.htm

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ
การประมวลผลข้อมูล แบ่งได้เป็น 3 ประเภท
ตามอุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing)
วิธีนี้เหมาะกับข้อมูลจำนวนไม่มาก และไม่ซับซ้อน
และเป็นวิธีที่ใช้มาแต่อดีต อุปกรณ์ในการคำนวณ ก็เช่น
เครื่องคิดเลข ลูกคิด กระดาษ เมื่อคำนวณเรียบร้อยแล้ว
ก็อาจจะมีการจัดเก็บโดยเรียงเข้าแฟ้ม และที่สำคัญคือ
ผู้ใช้ไม่เร่งรีบใช้ผลลัพธ์มากนัก
2. การประมวลผลด้วยเครื่องจักร(Mechanical Data
Processing) วิธีนี้เหมาะกับข้อมูล จำนวนปานกลาง
และไม่จำเป็นต้องใช้ผลจากการคำนวณในทันทีทันใด
เพราะต้องใช้เครื่องจักร และแรงงานคน
3. การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ (Electronic
Data Processing) วิธีนี้เหมาะกับงานที่มีจำนวนมาก
ไม่สามารถใช้แรงงานคนได้และงานมีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน เพราะการคำนวณด้วยเครื่อง
คอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง แม่นยำและรวดเร็ว ที่สำคัญการใช้คอมพิวเตอร์ในการคำนวณ
จะเหมาะสมสำหรับงานที่มีขั้นตอนซ้ำ ๆ หรือเหมือนเดิม และงานที่ต้องการภาพลักษณ์ที่ทันสมัย

ที่มา:
//ebook.nfe.go.th/ebook/pdf/026/0026_107.pdf






โดย: นางสาวสมฤทัย ราชอินทร์ หมู่01 (พิเศษ) เรียนพฤหัสบดีค่ำ รหัสนักศึกษา 52240501127 IP: 125.26.166.48 วันที่: 4 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:24:28 น.  

 
ข้อ 1.การจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่มหรือโดยตรง (Random Access or Direct Access File) คือแฟ้มข้อมูลที่มีลักษณะของการจัดเก็บข้อมูล
ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้โดยตรง สามารถค้นหาหรือเรียกข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล การประมวลผลมี 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1 โดยกำหนดให้ค่าของคีย์ (Key) ของแต่ละเรคคอร์ด แสดงถึงตำแหน่งที่เก็บข้อมูลในจานแม่เหล็ก เช่น กำหนดให้รหัสประจำตัวพนักงานเป็นคีย์ เช่น พนักงานรหัสที่120 ข้อมูลถูกเก็บไว้ในจานแม่เหล็กในแทร็ก (Track) ที่10 และเป็นเรคคอร์ดที่ 5 ในแทร็กนั้น ถ้าต้องการเรียกข้อมูลของพนักงาน ก็นำค่ารหัสมาแปลงเป็นตำแหน่งที่เก็บในจานแม่เหล็กได้โดยตรง
วิธีที่ 2 ใช้เทคนิคที่รียกว่า แฮชชิ่ง (Hashing) คือ กระบวนการแปลงค่าของคีย์ให้เป็นตำแหน่งที่ในจานแม่เหล็กโดยใช้สูตรซึ่งมีหลายสูตรผลที่ได้จากวิธีแฮชชิ่งเป็นการสุ่มว่าจะเลือกใช้สูตรไหนในการเก็บข้อมูล จึงเรียกวิธีในการเข้าถึงข้อมูลวิธีนี้ว่าเป็นวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม
สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้ได้แก่ จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) การจัดแฟ้มข้อมูลแบบนี้เหมาะกับงานที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลครั้งละไม่มาก
ข้อดี ของการจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
- สามารถทำงานได้รวดเร็ว โดยไม่ต้องเสียเวลาเรียงลำดับข้อมูล
- เหมาะกับการประมวลผลแบบออนไลน์ (On-Line)
ข้อเสีย ของการจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุม
- การเขียนโปรแกรมสำหรับวิธีการจัดแฟ้มแบบนี้สลับซับซ้อนมากกว่าแบบเรียงลำดับ

2.การจัดแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี (Indexed Sequential File) การจัดแฟ้มข้อมูลแบบนี้เป็นแบบเรียงลำดับตามคีย์ฟิลด์ (Key Field) เหมือนกับการจัดแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ ข้อมูลในแฟ้มนี้จะถูกแบ่งออกเป็นช่วง ๆ หรือ เซกเมนต์ (Segment) โดยมีดัชนี (Index) เป็นตัวชี้บอกว่าข้อมูลที่ต้องการนั้นอยู่ในเซกเมนต์ใด วิธีนี้ทำให้การค้นหาข้อมูลได้เร็วเพราะการค้นหาข้อมูลจะอ่านเพียงเซกเมนต์เดียวไม่ต้องอ่านทั้งแฟ้มข้อมูล

ที่มา //jantima.net46.net/p2.html

ข้อ 2 การประมวลผลข้อมูล

การประมวลผลข้อมูล คือ

การนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อแปรสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการ ที่เรียกว่า “สารสนเทศ “

วิธีการประมวลผล จำแนกได้ 3 วิธี

1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing) เช่น ใช้ลูกคิด , เครื่องคิดเลข การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กที่มีปริมาณข้อมูลไม่มากนัก และการคำนวณไม่ยุ่งยากซับซ้อน

2. การประมวลผลด้วยเครื่องจักร (Mechanical Data Processing) เช่น เครื่องทำบัญชีด้วยบัตรเจาะรู การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง ที่มีข้อมูปริมาณปานกลาง และต้องการความเร็วในการทำงานปานกลาง

3. การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing) ซึ่งหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง ลักษณะงานที่เหมาะสมต่อการประมวลผลด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ คือ งานที่มีปริมาณมากๆ ต้องการความถูกต้องรวดเร็ว มีขั้นตอนในการทำงานซ้ำๆ กัน และมีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน


ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขั้นตอนให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้

1. ขั้นเตรียมข้อมูล (Input) : การลงรหัส , การตรวจสอบแก้ไขข้อมูล , การแยกประเภทข้อมูล , การบันทึกข้อมูลลงสื่อ

2. ขั้นการประมวลผล (Processing) : การคำนวณ , การเรียงลำดับข้อมูล , การดึงข้อมูลมาใช้ , การรวมข้อมูล

3. ขั้นการแสดงผลลัพธ์ (Output) : ผลสรุปรายงาน



วิธีการประมวลผล

วิธีการประมวลผล แบ่งตามระยะเวลาออกได้เป็น 2 วิธี

1. การประมวลผลแบบแบทซ์ หรือแบบกลุ่ม (Batch Processing)

เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ระยะเวลาหนึ่งแล้วจึงจะประมวลผลได้ เช่น การคิดเกรด ต้องเก็บรวบรวมคะแนนตั้งแต่ต้นเทอม จนถึงปลายเทอม แล้วจึงทำการรวบรวมประมวลผลได้เป็นเกรดตอนปลายเทอม


2. การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (Online Processing)

เป็นการประมวลผลแบบทันทีทันใด ไม่ต้องรอระยะเวลา เช่น การถอนเงินจากเครื่องเอทีเอ็ม ไม่ต้องรอนาน เครื่องจะทำการจ่ายเงินออกมาทันที

ที่มา //74.125.153.132/search?q=cache:VNHFX7F_NboJ:www.pkc.ac.th/kanchit/%E0%B8%8734101/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9cd=19&hl=th&ct=clnk&






โดย: นางสาว ปาริสา แคนหนอง 52040332140 หมู่ 15 ศุกร์ (เช้า) IP: 125.26.233.224 วันที่: 5 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:42:55 น.  

 
ข้อ1 การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ

ในการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ควรคำนึงถึงประสิทธิภาพในการดึงข้อมูลเป็นสำคัญ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในบทที่ 2 การดึงข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองจะต้องใช้เวลานานกว่ามากเมื่อเทียบกับการดึงข้อมูลปริมาณเท่ากันจากหน่วยความจำหลัก ด้วยเหตุนี้ จึงควรเลือกใช้การจัดโครางสร้างแฟ้มข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับการใช้งานมากที่สุด

ปัจจัยในการเลือกใช้การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลให้เหมาะสมกับความต้องการ ได้แก่ปริมาณข้อมูล ความถี่ในการดึงข้อมูล ความถี่ในการปรับปรุงข้อมูล และจำนวนครั้งที่อ่านข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองต่อการค้นหาหรือดึงข้อมูลระเบียนหนึ่ง
ที่มา//74.125.153.132/search?q=cache:OZ_HSYN5ZGwJ:61.19.218.122/nongsua/webkrung/40201/ch5.doc+%E0%B8%A7%E0%B8%

ข้อ 2ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล

1) การรวบรวมเอกสารข้อมูล

เอกสารข้อมูล หมายถึง เอกสารข้อมูลที่ได้ถูกบันทึก โดยแหล่งใช้ข้อมูลนั้น เช่น บัตรลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา ใบรายชื่อประวัติหมู่เรียน เป็นต้น เอกสารข้อมูลนับเป็นสิ่งจำเป็นยิ่ง หากเอกสารผิดพลาดหรือไม่ครบถ้วน รายงานที่ได้จากการประมวลผลย่อมผิดพลาดไปด้วย ฉะนั้น งานในขั้นนี้ก็คือจะต้องสร้างวิธีการควบคุม ซ่งส่วนใหญ่มักใช้การจัดเอกสารให้เป็นกลุ่ม มีใบนำส่งที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับจำนวนเอกสารจากจุดต่างๆถ้าไม่ครบถ้วน หรือมีข้อผิดพลาดก็จะสามารถทราบจุดที่ติดต่อสอบถามได้ง่าย

สำหรับการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์อาจจะหมาถึงการรวบรวมแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กันไว้ในแหล่งข้อมูลที่สามารถเรียก ใช้ ดังเช่นในระบบฐานข้อมูลที่ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลจำนวนมากนั่นเอง

2) การเตรียมข้อมูล

การเตรียมขข้อมูล หมายถึง การจัดเตรียมข้อมูลที่รวบรวมมาแล้วให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการประมวลผล ซึ่งได้แก่ งานต่างๆดังต่อไปนี้

- งานบรรณาธิกรเบื้องต้น (Preliminary Editing) คือ การนำข้อมูลที่รวบรวมได้ของแต่ละหน่วยงานมาตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วน และ ทำการปรับปรุงแก้ไข ในกรณีที่เอกสารมีข้อผิดพลาดต้องแก้ไขใหม่ ถ้าเป็นข้อมูลที่สำคัญ เช่นตัวเลขทางการเงินที่จะยอมให้คลาดเคลื่อนไม่ได้ควรส่งไปยังแหล่วงที่ให้เอกสารข้อมูล ทำการแก้ไขปรับปรุง การบรรณาธิกรเบื้องต้นนี้นับว่าเป็นสิ่งสำคัญยิ่งเพราะถ้าข้อมูลผิดพลาดย่อมทำให้ผลสรุป หรือรายงานที่ได้ผิดพลาดไปด้วย

- การลงรหัส (Coding) หมายถึง การใช้รหัสแทนข้อมูล เช่น จากข้อมูลเกี่ยวกับภูมิลำเนาของนักศึกษาอาจจำแนกำด้เป็นเขตๆ

ในส่วนของการประมวลผลแฟ้มข้อมูลหมายถึงการสร้างความสัมพันธ์ของข้อมูลระหว่างแฟ้มข้อมูล การออกแบบโปรแกรมเพื่อการประมวลผลแฟ้มข้อมูลต่างๆ

3) การประมวลผล

เมื่อผ่านการรวบรวมและเตรียมข้อมูลแล้วเราสามารถใช้วิธีการประมวลผลวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีดังที่ได้กล่าวมาแล้ว เช่น การคำนวณ การเรียงลำดับ เป็นต้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์เป็นข้อสนเทศ ซึ่งอาจจะอยู่ในรปรายงาน ตาราง หรือ กราฟ เราแบ่งประเภทของการประมวลผลข้อมูลโดยพิจารณาจากอุปกรณืที่ใช้เป็น 3 ประเภทด้วยกันคือ

ก. การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) ได้แก่ การประมวลผลที่ใช้แรงงานมนุษย์เป็นหลัก โดยมีอุปกรณ์ช่วย คือ กระดาษ ดินสอ เครื่องคิดเลข ใช้ได้ดีกับการประมวลผลที่มีข้อมูลไม่มากนัก เช่น การคำนวณค่าจากตารางโดยใช้เครื่องคิดเลขโดยการกดปุ่มคำสั่งทีละขั้นตอน ถ้ามีข้อมูลมากๆ วิธีการนี้จะให้ผลลัพธ์ที่ช้ามาก

ข. การประมวลผลแยยกึ่งอัตโนมัติ (Semi-autometic) ได้แก่การประมวลผลที่ใช้เครื่องจักรเฉพาะงานช่วย เช่น เครื่องจักรลงบัญชีสมุดเงินฝาก-ถอน ของธนาคารเครื่องนี้มีความสามารถในการคำนวณด้วย กระทำโดยเอาสมุดเงินฝากถอนใส่บนเครื่อง แล้วพนักงานกดตัวเลขข้อมูลจำนวนเงินเดิมที่มีอยู่ และกดตัวเลขจำนวนเงินที่ต้องการเพิ่มหรือลดเข้าไป เครื่องจะทำการบวกหรือลบยอดบัญชี และสามารถพิมพ์ยอดคงเหลือลงในช่องยอดเงินคงเหลือได้อย่างถูกต้อง การประมวลผลแบบนี้สามารถทำได้รวดเร็วและถูกต้องกว่าวิธีแรก จึงเหมาะกับงานที่มีข้อมูลปานกลาง

ค. การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรรกนิกส์ (Electronic Data Processing) ได้แก่การประมวลผลข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ งานที่ควรใช้กับการประมวลผลแบบนี้ ควรเป็นงานที่มีข้อมูลมากๆ ซึ่งต้องการความแม่นยำและรวดเร็ว มีขั้นตอนสลับซับซ้อนหรือใช้การคำนวณมากๆ เช่น งานวิจัย วางแผนและงานบัญชี เป็นต้น ประมวลผลข้อมูลจะเสียค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานมากกว่า 2 แบบแรก
ที่มา //www.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled12.htm


โดย: นางสาว อนุสรา แคนหนอง 52040332139 หมู่เรียน 15 ศุกร์ เช้า IP: 125.26.233.224 วันที่: 5 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:52:39 น.  

 
1. ตอบ การเข้าถึงแบบสุ่ม (Direct/Random File Structure)
-โครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่เข้าถึงได้โดยตรง
-สามารถเลือกหรืออ่านค่าได้โดยไม่จำเป็นต้องผ่านเรคอร์ดแรกๆ
-การเข้าถึงข้อมูลทำได้เร็ว
-จัดเก็บในสื่อที่มีการเข้าถึงได้โดยตรงประเภทจานแม่เหล็ก เช่น ดิสเก็ตต์, ฮาร์ดดิสก์หรือ CD-ROM
อาจแบ่งตามลักษณะการทำงานออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
1.1 แบบแฮชไฟล์ (Hash File)
1.2 แบบดัชนี (Indexed File)

แบบแฮชไฟล์ (Hash File) อาศัยอัลกอริทึม ที่เรียกว่า แฮชชิ่ง (hashing) ในการคำนวณ หาค่าคีย์ฟีลด์
ถ้าข้อมูลมาก การแปลงค่าตำแหน่งอาจเกิดการชนกัน (collision) ได้

แบบเรียงลำดับ (Sequential File Structure)

โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดพื้นฐานที่สามารถใช้งานได้ง่ายที่สุด
จัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลำดับเรคอร์ดต่อเนื่องกันไป
การอ่านหรือค้นคืนข้อมูลจะข้ามลำดับไปอ่านโดยตรงไม่ได้
เหมาะสมกับงานที่มีการอ่านข้อมูลต่อเนื่องกันไปตามลำดับและในปริมาณมาก
จัดเก็บอยู่ในอุปกรณ์ประเภทเทปแม่เหล็ก (magnetic tape


2.ตอบ วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(2.1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2.2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบไว้ก่อน

ที่มา : //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm
//www.ict.su.ac.th/th/ict-elearning/800110/week3/Week-03_Database_23-06-52.ppt#286,28,2. แบบสุ่ม (Direct/Random File Structure)


โดย: 52040281122 ชื่อนางสาวณัฐติยา โกศิลา หมู่08 (วันพฤหัสบดีเช้า) สาขาชีววิทยา (จุลชีววิทยา) IP: 125.26.162.248 วันที่: 8 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:39:47 น.  

 
1 การจัดการกับข้อมูล



การจัดการข้อมูลเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการบริหารองค์การ โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันที่มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง องค์การใดก็ตามที่มีข้อมูลอยู่มักจะได้เปรียบองค์การคู่แข่ง ดังเช่นประเทศที่พัฒนาแล้ว มักจะได้เปรียบประเทศที่กำลังพัฒนา ทั้งนี้เนื่องจากข้อมูลข่าวสารข่าง ๆ ผู้บริหารสามารถนำมาใช้ในการพยากรณ์เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ล่วงหน้า เช่น ถ้าหากรัฐบาลไทยมีข้อมูลเกี่ยวกับการเงิน สภาพคล่องทางการเงิน ดุลย์บัญชีเดินสะพัด ตัวเลขข้อมูลเกี่ยวกับการนำเข้าและการส่งออกอย่างถูกต้อง และทันต่อเหตุการณ์ ผู้บริหารประเทศก็จะสามารถที่จะแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ล่วงหน้า ดังนั้นข้อมูลสารสนเทศจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อองค์การและประเทศชาติ เราจึงต้องมีการเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการแฟ้มข้อมูลและการบริหารฐานข้อมูลเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์การ

ในบทนี้จะศึกษาเกี่ยวกับนิยามของการจัดการฐานข้อมูล การบริหารข้อมูล การบริหารแฟ้มข้อมูล การเข้าถึงข้อมูล การใช้ข้อมูลขององค์การ การออกแบบการบริหารฐานข้อมูล ปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาฐานข้อมูล ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาฐานข้อมูล



การจัดการข้อมูล


การจัดการข้อมูล (Data management) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นของกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งโดยการสังเกต การจดบันทึก การสัมภาษณ์ และการออกแบบสอบถาม ข้อมูลที่ได้มานั้นยังคงเป็นข้อมูลดิบ ไม่สามารถที่จะนำมาใช้ในการตัดสินใจในการกระทำเชิงการจัดการ และข้อมูลที่รวบรวมมามักจะไม่มีการจัดระเบียบ อาจจะมีการซ้ำซ้อนของข้อมูล หรือข้อมูลชนิดเดียวกันอาจจะขัดแย้งกันก็ได้ ดังนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนในการจัดการบริหารฐานข้อมูลที่ดี จึงจะได้ประโยชน์จากข้อมูลที่จัดเรียบเรียงไว้

คำนิยามของฐานข้อมูลจึงมีความหมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลของผู้ใช้ และสามารถที่จะนำข้อมูลนั้นออกมาใช้ร่วมกันได้โดยไม่มีการซ้ำซ้อนของข้อมูล หรือความขัดแย้งของข้อมูล โดยทั่วไปข้อมูลมักจะประกอบด้วยข้อมูลย่อยหลาย ๆ ส่วน (Field) โดยที่แต่ละส่วนจะไม่มีความหมาย เช่น ชื่อนิสิต ชื่อวิชา หรือเกรด แต่ถ้าเอาหลายส่วนมารวมกันจะเกิดความหมายขึ้น เช่น นิสิตคนนี้ชื่ออะไร ลงทะเบียนวิชาอะไร และได้เกรดเท่าไร การที่เราเอาข้อมูลของหลาย ๆ ส่วนมารวมกันจะเกิดเป็นรายการ (Record) และในกรณีที่เอาหลาย ๆ รายการมารวมกันจะเกิดเป็นแฟ้มข้อมูล (File) แต่ถ้าหากเอาหลายแฟ้มข้อมูลมารวมกันจะเกิดเป็นฐานข้อมูล (Database) ดังนั้นจะเห็นได้ว่าฐานข้อมูลจะเกิดจากบิต (Bit) หรือเลขฐานสองมารวมกัน 8 บิต เพื่อก่อให้เกิดไบต์ (Byte) หรือตัวอักษร (Character) ขึ้นมา จากนั้นจึงกลายเป็นฟิลด์ของข้อมูล
ฐานข้อมูล (Database)

แฟ้มข้อมูล (File)

รายการ (Record)

ฟิลด์ (Field)

ไบต์หรือตัวอักษร (Byte or character)

บิต (Bit) เลขฐานสอง

1. การบริหารข้อมูล (Data administration) ระบบฐานข้อมูลจะต้องได้รับการยอมรับจากองค์การ โดยมีการสนับสนุนด้านการจัดการและการวางแผนเกี่ยวกับสารสนเทศจากผู้บริหารระดับสูง จะต้องมีการกำหนดนโยบายและมีผู้รับผิดชอบโดยตรง หลักสำคัญของการบริหารข้อมูลจะต้องถือว่าข้อมูลเป็นสิ่งที่จำเป็น และสำคัญกับทุกหน่วยงาน โดยไม่ผูกขาดกับงานใดงานหนึ่ง ดังนั้นองค์การจะต้องกำหนดนโยบายฐานข้อมูลที่ชัดเจน มีการกำหนดสิทธิ มาตรฐาน และการกระจายข้อมูลไปทุกหน่วยงานขององค์การ

2. การวางแผนและวีการสร้างแบบจำลอง (Data planning and modeling methodology) ในขั้นแรกหากองค์การตัดสินใจว่าจะใช้ระบบฐานข้อมูล องค์การจะต้องมีการสำรวจความต้องการสารสนเทศของทุกหน่วยงาน เพื่อวางแผนเกี่ยวกับฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้ และพิจารณาเกี่ยวกับงบประมาณที่เหมาะสม รวมทั้งจะต้องมีผู้เชี่ยวชาญระบบฐานข้อมูลเพื่อที่จะทดลองสร้างแบบจำลองของระบบฐานข้อมูลว่าควรจะออกแบบฐานข้อมูลอย่างไร เช่น ในลักษณะงานโครงสร้างแบบลำดับชั้น โครงสร้างแบบเครือข่าย หรือโครงสร้างแบบสัมพันธ์

3. การจัดการและเทคโนโลยีฐานข้อมูล (Database technology and management) องค์การจะต้องมีการฝึกฝนพนักงานให้รู้จักการจัดการข้อมูลและนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับงาน เช่น นำอุปกรณ์สื่อสารมาต่อพ่วงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำหน้าที่ในการกระจายข้อมูลจากแหล่งหนึ่งไปยังอีกแหล่งหนึ่ง โดยเฉพาะในปัจจุบันอินเตอร์เน็ต (Internet) ได้เข้ามามีบทบาทในเรื่องของฐานข้อมูลมากขึ้น ดังนั้นองค์การจะต้องรู้จักใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อช่วยในการสร้างศักยภาพในการจัดการมากขึ้น

4. ผู้ใช้ (User) ภายในองค์การจะต้องรับรู้เกี่ยวกับนโยบายการใช้ฐานข้อมูล สิทธิ์ที่ตนเองสามารถใช้ได้ รวมถึงการเรียนรู้วีการใช้ซอฟต์แวร์ใหม่ ๆ ที่จะมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน




สรุป



การจัดการฐานข้อมูลเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการบริหารองค์การ ทั้งนี้เพราะว่าสารสนเทศจะเป็นประโยชน์ต่อองค์การในการตัดสินใจเพื่อการแข่งขัน ดังนั้นองค์การในปัจจุบันจึงให้ความสำคัญต่อสารสนเทศเพิ่มขึ้น

การจัดการข้อมูล (Data management) ข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นของกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งในแต่ละวัน ดังนั้นปริมาณข้อมูลก็มีเพิ่มขึ้นตลอดเวลา องค์การจึงต้องมีนโยบายในการจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ ที่รวบรวมมาแล้ว นำมาสร้างเป็นฐานข้อมูลเพื่อลดการซ้ำซ้อน หรือความขัดแย้งของข้อมูล ฐานข้อมูลประกอบด้วยแฟ้มข้อมูล (File) รายการ (Record) ฟิลด์ (Field) ไบต์หรืออักษร (Byte of character) และบิต (Bit) ซึ่งเป็นหน่วยที่เล็กที่สุด

ประเด็นหลักในการบริหารข้อมูล คือ (1) ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล (Access) (2) จะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล (Security) (3) สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ในอนาคต (Edit) (4) ข้อมูลที่จัดเก็บอาจจะต้องแบ่งเป็นส่วนหรือสร้างเป็นตารางเพื่อง่ายต่อการปรับปรุง (Update) ส่วนต่อประสานผู้ใช้ (User interface) หมายถึง อุปกรณ์ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้

การจัดแฟ้มข้อมูล (File management) เดิมจะมีการจัดแฟ้มในลักษณะอิสระ (Conventional file) ของแต่ละหน่วยงานจึงทำให้เกิดการซ้ำซ้อนของข้อมูล การจัดการแฟ้มข้อมูลจะต้องพิจารณาถึง (1) การวางแผนถึงการบริหารแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะต้องทราบรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการ (2) การแบ่งประเภทของแฟ้มข้อมูลซึ่งสามารถแบ่งได้เป็นแฟ้มข้อมูลหลัก (Master file) และแฟ้มรายการปรับปรุง (Transaction file) และ (3) การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล (File organization) ซึ่งสามารถจัดได้ดังนี้ (1) การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลแบบตามลำดับ (Sequential file) (2) การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลแบบตรงหรือแบบสุ่ม (Direct random file organization)

วิธีการประมวลผล (Processing technique) สามารถทำได้หลายวิธี เช่น (1) การประมวลผลแบบชุด (Batch processing) (2) การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive) และ (3) การประมวลผลแบบออนไลน์ (Online processing)

การจัดการฐานข้อมูลจะมีส่วนประกอบที่สำคัญอยู่ 3 ส่วน คือ (1) ภาษาคำนิยามของข้อมูล (Data definition language) (2) ภาษาการจัดการข้อมูล (Data manipulation language) (3) พจนานุกรมข้อมูล (Data dictionary)

ข้อดีของการจัดการฐานข้อมูล (1) ลดความยุ่งยาก (2) ลดการซ้ำซ้อน (3) ลดความสับสน (4) ลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา (5) มีความยืดหยุ่นในการขยายฐานข้อมูล (6) การเข้าถึงฐานข้อมูลและความสะดวกในการใช้สารสนเทศเพิ่มขึ้น

ข้อเสีย (1) มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผู้เชี่ยวชาญระบบฐานข้อมูล (2) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสร้างฐานข้อมูล (3) การเพิ่มอุปกรณ์ให้ใหญ่ขึ้น (4) ค่าใช้จ่ายทางด้านโปรแกรมประยุกต์

อุปสรรค์ในการพัฒนาฐานข้อมูล (1) ความผิดพลาดจากการป้อนข้อมูล (2) การสร้างแฟ้มข้อมูลทำได้ยาก (3) ในเรื่องของการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล

การออกแบบฐานข้อมูล สามารถออกแบบได้ 3 วิธี คือ (1) รูปแบบข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical data model) (2) รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่าย (Network data model) (3) รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล (Relation data model)

การบริหารฐานข้อมูล (Database management) ภายในองค์การจะประสบผลสำเร็จจะต้องพิจารณาปัจจัย ดังนี้ (1) การบริหารข้อมูล (Data administration) (2) การวางแผนข้อมูลและวีการสร้างตัวแบบ (Data planning and modeling methodology) (3) การจัดการและเทคโนโลยีฐานข้อมูล (Database technology and management) (4) ผู้ใช้ (User)


ที่มา //ora.chandra.ac.th/~chantara/E-learning_MIS/mis/chapter7.htm


โดย: น.ส. กนกอร เสริฐดิลก หมู่15 ศุกร์เช้า รหัส 52040332133 IP: 192.168.1.107, 124.157.145.204 วันที่: 10 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:10:54 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
= 1.อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม

ที่มา
//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html


โดย: นางสาว อุไรวรรณ หาญศึก หมู1(พิเศษ)พฤหัส (ค่ำ) IP: 113.53.166.202 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:37:59 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
=
อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ

ที่มา
//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html








โดย: นางสาว อุไรวรรณ หาญศึก หมู1(พิเศษ)พฤหัส (ค่ำ) IP: 113.53.166.202 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:45:50 น.  

 
2.2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
=ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม

ที่มา
//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html






โดย: นางสาว อุไรวรรณ หาญศึก หมู1(พิเศษ)พฤหัส (ค่ำ) IP: 113.53.166.202 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:47:52 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

คำตอบคือ...

1. การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลแบบตามลำดับ (Sequential File organization) ลักษณะการจัดข้อมูลรายการจะเรียงตามฟิลด์ที่กำหนด (Key field) เช่น เรียงจากน้อยไปหามากหรือจากมากไปหาน้อยหรือเรียงตามตัวอักษร โดยส่วนมากมักจะใช้เทปแม่เหล็กเป็นสื่อในการเก็บข้อมูลซึ่งการเก็บโดยวิธีนี้จะมีทั้งข้อดีและข้อเสีย
ข้อดี ข้อเสีย
1. เป็นวิธีที่เข้าใจง่าย เพราะการเก็บจะเรียงตาม ลำดับ 1. เสียเวลาในการปรับปรุงในกรณีที่มีรายการ ปรับปรุงน้อยเพราะจะต้องอ่านทุกรายการจนกว่า จะถึงรายการที่ต้องการปรับปรุง
2. ประหยัดเนื้อที่ในการเก็บ และง่ายต่อการสร้าง แฟ้มใหม่ 2. ต้องมีการจัดเรียงข้อมูลที่เข้ามาใหม่ให้อยู่ในลำดับ เดียวกันในแฟ้มข้อมูลหลักก่อนที่จะประมวลผล



2. การจัดระเบียนแฟ้มข้อมูลแบบตรงหรือแบบสุ่ม (Direct or random file organization) โดยส่วนมากมักจะใช้จานแม่เหล็ก (Hard disk) เป็นหน่วยเก็บข้อมูล การบันทึกหรือการเรียกข้อมูลขึ้นมาสามารถเรียกได้โดยตรง ไม่ต้องผ่านรายการอื่นก่อน เราเรียกวิธีนี้ว่าการเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (Direct access) หรือการเข้าถึงโดยการสุ่ม (Random Access) การค้นหาข้อมูลโดยวิธีนี้จะเร็วกว่าแบบตามลำดับ ทั้งนี้เพราะการค้นหาจะกำหนดดัชนี (Index) จะนั้นจะวิ่งไปหาข้อมูลที่ต้องการหรืออาจจะเข้าหาข้อมูลแบบอาศัยดัชนีและเรียงลำดับควบคู่กัน (Indexed Sequential Access Method (ISAM) โดยวิธีนี้จะกำหนดดัชนีที่ต้องการค้นหาข้อมูล เมื่อพบแล้วต้องการเอาข้อมูลมาอีกกี่ รายการก็ให้เรียงตามลำดับของรายการที่ต้องการ ซึ่งการเก็บโดยวิธีนี้มีทั้งข้อดีและข้อเสีย
ข้อดี ข้อเสีย
1. สามารถบันทึก เรียกข้อมูล และปรับปรุงข้อมูลที่ ต้องการได้โดยตรง ไม่ต้องผ่านรายการที่อยู่ก่อนหน้า 1. สิ้นเปลืองเนื้อที่ในหน่วยสำรองข้อมูล
2. ในการปรับปรุงและแก้ข้อมูลสามารถทำได้ทันที 2. ต้องมีการสำรองข้อมูลเนื่องจากโอกาสที่ข้อมูล จะมีปัญหาเกิดได้ง่ายกว่าแบบตามลำดับ

ที่มา...
//irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Database/database2.htm


2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

คำตอบคือ...มี 2 วิธี

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง
(online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่อง
ปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผล
การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น
การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม
การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง


(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม
(batch processing)

หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบ
ข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน
หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อ
เก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล
นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหา
คำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อ
ให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา...
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/2/c2_7.htm#








โดย: นางสาวศศิวิมล ภาณุพงศ์ภูสิทธิ์ หมู่ 8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.229, 58.137.131.62 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:38:17 น.  

 
1.อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)

ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม


ที่มา....//irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Database/database2.htm


โดย: น.ส.วิภาดา นาสิงห์ขันธ์ หมู่8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.141, 202.29.5.62 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:38:33 น.  

 
2
วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน


ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: น.ส.วิภาดา นาสิงห์ขันธ์ หมู่8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.141, 202.29.5.62 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:41:17 น.  

 
การเข้าถึงข้อมูลแบบ Sequential
การเข้าถึงข้อมูลแบบ Sequential คือการเขาถึงข้อมูลอย่างเป็นลำดับ ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรงได้ ข้อเสียของการเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้ คือ ช้า ส่วนข้อดี คือ ประหยัด
ภาพแสดงการการเข้าถึงข้อมูลแบบ Sequential

จากรูป สมมุติว่ามีข้อมูล คือ A B C D E หากต้องการข้อมูล C เราจะไม่สามารถเข้าถึงข้อมูล C ได้โดยตรง แต่จะต้อง อ่านข้อมูล A B ซึ่งอยู่ลำดับก่อนหน้าถึงจะอ่านข้อมูล C ได้ ตัวอย่างของการเข้าถึงข้อมูลแบบนี้ คือ tape

การเข้าถึงข้อมูลแบบ Random
การเข้าถึงข้อมูลแบบ Random คือการเข้าถึงข้อมูลโดยตรง โดยอาศัย addresses เป็นตัวชี้นำตำแหน่งข้อมูล ( OS จะใช้ระบบ ตารางหน้ามากำหนด addresses ) ตัวอย่างของการเข้าถึงข้อมูลแบบนี้ คือ Ram ดังรูป

//yalor.yru.ac.th/~nipon/Archi_STD43/chapter4/group_20/Access.htm
ข้อมูลและการประมวลผลข้อมูล

ข้อมูล คือข้อเท็จจริงที่เราสนใจ ส่วน สารสนเทศ คือข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลด้วยวิธีการที่เหมาะสมถูกต้อง จนได้รูปแบบผลลัพธ์ ตรงความต้องการของผู้ใช้

ข้อมูลที่จะนำมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ จะต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานดังต่อไปนี้
ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลและข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะทำให้เกิดผลเสียหายมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำนึงถึงกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยำมากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของการประมวลผลส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคำนึงถึงในเรื่องนี้
ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้นและรายงาน ตามความต้องการของผู้ใช้
ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมและวิธีการทางปฏิบัติ ในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศ ต้องสำรวจและสอบถามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์เหมาะสม
ความชัดเจนกระทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมาก จึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กระทัดรัด สื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือย่อข้อมูลให้เหมาะสม เพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องสำคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตข้อมูล ที่สอดคล้องกับความต้องการ
ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน การประมวลผลข้อมูล เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายอย่าง ประกอบกันคือ
การรวบรวมข้อมูล
การแยกแยะ
การตรวจสอบความถูกต้อง
การคำนวณ
การจัดลำดับหรือการเรียงลำดับ
การรายงานผล
การสื่อสารข้อมูลหรือการแจกจ่ายข้อมูลนั้น
การประมวลผลข้อมูล จึงเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญ เพราะข้อมูลที่มีอยู่ รอบๆ ตัวเรามีเป็นจำนวนมากในการใช้งานจึงต้องมีการประมวลผล เพื่อให้เกิดประโยชน์ กิจกรรมหลักของการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จึงประกอบด้วยกิจกรรมการ เก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งต้องมีการตรวจสอบ ความถูกต้องด้วย กิจกรรมการประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งแยกข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ และกิจกรรมการเก็บรักษาข้อมูลซึ่งอาจต้อง มีการทำสำเนา ทำรายงาน เพื่อแจกจ่าย

วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
//new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm



โดย: นางสาวอรนิดา วรินทรา ม. 15 ศ.เช้า IP: 192.168.1.103, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:14:23 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

1.การค้นหาข้อมูลแบบสุมหรือโดยตรง (Random / Direct Access File)
การค้นหาข้อมูลประเภทนี้ เป็นการค้นหาแบบข้อมูลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล หรืออ่านข้อมูลจากต้นแฟ้มข้อมูลนั้น ๆ การค้นหาแบบสุ่มหรือโดยตรงนี้ จะมี คีย์หลัก เป็นตัวกำหนดตำแหน่งข้อมูล ในระเบียน เป็นวิธีการที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการทำงานเพราะตำแหน่งของระเบียนจะมีเท่ากับขนาดของ คีย์ เช่น ระเบียนลำดับที่ของ นักเรียน เป็นคีย์หลัก มีความกว้างเท่ากับ 2 จะมี คีย์หลัก อยู่ในช่วย 1-99 และในลักษณะ เดียวกันจะมีตำแหน่งข้อมูล
คำอธิบาย

ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลของนักศึกษาคนที่ 5 โดยมีลำดับที่เป้นคีย์หลัก คือ 5 การเข้าถึงข้อมูลจะเข้าถึง ข้อมูลที่เก็บใน ตำแหน่งที่ 5 ทันทีจึงเป็นวิธีที่เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วที่สุด แต่การทำงานของการแปลงส่งโดยตรงนี้ มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กับ คีย์หลักที่เป็นอักษรได้และไม่เหมาะกับแฟ้มข้อมูลที่มี Field จำนวนมาก เพราะต้องใช้ เนื้อที่จองตำแหน่ง มาก เช่น คีย์หลักเป็นรหัสพนักงาน มีความกว้าง 10 ฉะนั้น ตำแนห่งของข้อมูลที่เป็นไปได้อยู่ ในช่วง 1-9999999999 จะทำให้สิ้นเปลืองเนื้อที่

2.การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search หรือ Linear Search)

การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายและใช้ได้กับตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ หรือไม่เรียงตามลำดับก็ได้การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
ข้อดี

1. ง่ายต่อการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการจัดเก็บข้อมูล
2. ใช้กับสื่อข้อมูลได้ทุกประเภท จึงสามารถเลือกเก็บในสื่อข้อมูลราคาถูก
3. สามารถใช้กับงานที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมาก
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงได้
2. การประมวลผลข้า เพราะเสียเวลาในการอ่าน Record ที่ไม่ต้องการประมวลผล

//members.fortunecity.com/one2many/dstruct/ff7.html

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

//new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นส.บลสิการ ดอนโสภา หมู่15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151217 IP: 192.168.1.115, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:39:18 น.  

 
การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม


การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

//it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#3

2.วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นางสาววิภายี กลางหล้า ม. 15 ศุกร์เช้า IP: 192.168.1.102, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:06:16 น.  

 
1.อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)

ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม
ที่มา
//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html





โดย: นางสาว ธัญธิตา แก้วมีศรี ม. 15 ศุกร์เช้า 52041151239 IP: 192.168.1.104, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:24:29 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบข้อ2.1

1.การค้นหาข้อมูลแบบสุมหรือโดยตรง (Random / Direct Access File)
การค้นหาข้อมูลประเภทนี้ เป็นการค้นหาแบบข้อมูลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล หรืออ่านข้อมูลจากต้นแฟ้มข้อมูลนั้น ๆ การค้นหาแบบสุ่มหรือโดยตรงนี้ จะมี คีย์หลัก เป็นตัวกำหนดตำแหน่งข้อมูล ในระเบียน เป็นวิธีการที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการทำงานเพราะตำแหน่งของระเบียนจะมีเท่ากับขนาดของ คีย์ เช่น ระเบียนลำดับที่ของ นักเรียน เป็นคีย์หลัก มีความกว้างเท่ากับ 2 จะมี คีย์หลัก อยู่ในช่วย 1-99 และในลักษณะ เดียวกันจะมีตำแหน่งข้อมูล
คำอธิบาย

ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลของนักศึกษาคนที่ 5 โดยมีลำดับที่เป้นคีย์หลัก คือ 5 การเข้าถึงข้อมูลจะเข้าถึง ข้อมูลที่เก็บใน ตำแหน่งที่ 5 ทันทีจึงเป็นวิธีที่เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วที่สุด แต่การทำงานของการแปลงส่งโดยตรงนี้ มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กับ คีย์หลักที่เป็นอักษรได้และไม่เหมาะกับแฟ้มข้อมูลที่มี Field จำนวนมาก เพราะต้องใช้ เนื้อที่จองตำแหน่ง มาก เช่น คีย์หลักเป็นรหัสพนักงาน มีความกว้าง 10 ฉะนั้น ตำแนห่งของข้อมูลที่เป็นไปได้อยู่ ในช่วง 1-9999999999 จะทำให้สิ้นเปลืองเนื้อที่

2.การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search หรือ Linear Search)

การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายและใช้ได้กับตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ หรือไม่เรียงตามลำดับก็ได้การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
ข้อดี

1. ง่ายต่อการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการจัดเก็บข้อมูล
2. ใช้กับสื่อข้อมูลได้ทุกประเภท จึงสามารถเลือกเก็บในสื่อข้อมูลราคาถูก
3. สามารถใช้กับงานที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมาก
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงได้
2. การประมวลผลข้า เพราะเสียเวลาในการอ่าน Record ที่ไม่ต้องการประมวลผล

//members.fortunecity.com/one2many/dstruct/ff7.html


โดย: นายบดินทร์ แก้วมีศรี หมู่ 01 (พิเศษ) 52240210214 สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.83.148 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:20:18:22 น.  

 
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

ตอบข้อ2.2
(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

//new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นายบดินทร์ แก้วมีศรี หมู่ 01 (พิเศษ) 52240210214 สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.83.148 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:20:19:46 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

1.การค้นหาข้อมูลแบบสุมหรือโดยตรง (Random / Direct Access File)
การค้นหาข้อมูลประเภทนี้ เป็นการค้นหาแบบข้อมูลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล หรืออ่านข้อมูลจากต้นแฟ้มข้อมูลนั้น ๆ การค้นหาแบบสุ่มหรือโดยตรงนี้ จะมี คีย์หลัก เป็นตัวกำหนดตำแหน่งข้อมูล ในระเบียน เป็นวิธีการที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการทำงานเพราะตำแหน่งของระเบียนจะมีเท่ากับขนาดของ คีย์ เช่น ระเบียนลำดับที่ของ นักเรียน เป็นคีย์หลัก มีความกว้างเท่ากับ 2 จะมี คีย์หลัก อยู่ในช่วย 1-99 และในลักษณะ เดียวกันจะมีตำแหน่งข้อมูล
คำอธิบาย

ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลของนักศึกษาคนที่ 5 โดยมีลำดับที่เป้นคีย์หลัก คือ 5 การเข้าถึงข้อมูลจะเข้าถึง ข้อมูลที่เก็บใน ตำแหน่งที่ 5 ทันทีจึงเป็นวิธีที่เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วที่สุด แต่การทำงานของการแปลงส่งโดยตรงนี้ มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กับ คีย์หลักที่เป็นอักษรได้และไม่เหมาะกับแฟ้มข้อมูลที่มี Field จำนวนมาก เพราะต้องใช้ เนื้อที่จองตำแหน่ง มาก เช่น คีย์หลักเป็นรหัสพนักงาน มีความกว้าง 10 ฉะนั้น ตำแนห่งของข้อมูลที่เป็นไปได้อยู่ ในช่วง 1-9999999999 จะทำให้สิ้นเปลืองเนื้อที่

2.การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search หรือ Linear Search)

การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายและใช้ได้กับตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ หรือไม่เรียงตามลำดับก็ได้การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
ข้อดี

1. ง่ายต่อการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการจัดเก็บข้อมูล
2. ใช้กับสื่อข้อมูลได้ทุกประเภท จึงสามารถเลือกเก็บในสื่อข้อมูลราคาถูก
3. สามารถใช้กับงานที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมาก
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงได้
2. การประมวลผลข้า เพราะเสียเวลาในการอ่าน Record ที่ไม่ต้องการประมวลผล

//members.fortunecity.com

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

//new.yupparaj.ac.th/


โดย: นางสาววิภาวี พลวี ( 08 พฤ เช้า ) IP: 125.26.169.73 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:35:04 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)

การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม

ที่มา//it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#3



โดย: นางสาว สุทธิดา ยาโย 52240210217 วัน พฤหัสฯค่ำ หมู่ 1 IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:10:11 น.  

 
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นางสาว สุทธิดา ยาโย 52240210217 วัน พฤหัสฯค่ำ หมู่ 1 IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:15:57 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ 1.การค้นหาข้อมูลแบบสุมหรือโดยตรง (Random / Direct Access File)
การค้นหาข้อมูลประเภทนี้ เป็นการค้นหาแบบข้อมูลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล หรืออ่านข้อมูลจากต้นแฟ้มข้อมูลนั้น ๆ การค้นหาแบบสุ่มหรือโดยตรงนี้ จะมี คีย์หลัก เป็นตัวกำหนดตำแหน่งข้อมูล ในระเบียน เป็นวิธีการที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการทำงานเพราะตำแหน่งของระเบียนจะมีเท่ากับขนาดของ คีย์ เช่น ระเบียนลำดับที่ของ นักเรียน เป็นคีย์หลัก มีความกว้างเท่ากับ 2 จะมี คีย์หลัก อยู่ในช่วย 1-99 และในลักษณะ เดียวกันจะมีตำแหน่งข้อมูล
คำอธิบาย

ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลของนักศึกษาคนที่ 5 โดยมีลำดับที่เป้นคีย์หลัก คือ 5 การเข้าถึงข้อมูลจะเข้าถึง ข้อมูลที่เก็บใน ตำแหน่งที่ 5 ทันทีจึงเป็นวิธีที่เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วที่สุด แต่การทำงานของการแปลงส่งโดยตรงนี้ มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กับ คีย์หลักที่เป็นอักษรได้และไม่เหมาะกับแฟ้มข้อมูลที่มี Field จำนวนมาก เพราะต้องใช้ เนื้อที่จองตำแหน่ง มาก เช่น คีย์หลักเป็นรหัสพนักงาน มีความกว้าง 10 ฉะนั้น ตำแนห่งของข้อมูลที่เป็นไปได้อยู่ ในช่วง 1-9999999999 จะทำให้สิ้นเปลืองเนื้อที่

2.การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search หรือ Linear Search)

การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายและใช้ได้กับตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ หรือไม่เรียงตามลำดับก็ได้การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
ข้อดี

1. ง่ายต่อการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการจัดเก็บข้อมูล
2. ใช้กับสื่อข้อมูลได้ทุกประเภท จึงสามารถเลือกเก็บในสื่อข้อมูลราคาถูก
3. สามารถใช้กับงานที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมาก
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงได้
2. การประมวลผลข้า เพราะเสียเวลาในการอ่าน Record ที่ไม่ต้องการประมวลผล

ที่มา//members.fortunecity.com/one2many/dstruct/ff7.html



โดย: โดยน.ส อังคณา สุทธิแพทย์52240210209หมู่01(พิเศษ)พฤ.ค่ำสาขา สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:44:38 น.  

 
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ 1.การค้นหาข้อมูลแบบสุมหรือโดยตรง (Random / Direct Access File)
การค้นหาข้อมูลประเภทนี้ เป็นการค้นหาแบบข้อมูลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล หรืออ่านข้อมูลจากต้นแฟ้มข้อมูลนั้น ๆ การค้นหาแบบสุ่มหรือโดยตรงนี้ จะมี คีย์หลัก เป็นตัวกำหนดตำแหน่งข้อมูล ในระเบียน เป็นวิธีการที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการทำงานเพราะตำแหน่งของระเบียนจะมีเท่ากับขนาดของ คีย์ เช่น ระเบียนลำดับที่ของ นักเรียน เป็นคีย์หลัก มีความกว้างเท่ากับ 2 จะมี คีย์หลัก อยู่ในช่วย 1-99 และในลักษณะ เดียวกันจะมีตำแหน่งข้อมูล
คำอธิบาย

ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลของนักศึกษาคนที่ 5 โดยมีลำดับที่เป้นคีย์หลัก คือ 5 การเข้าถึงข้อมูลจะเข้าถึง ข้อมูลที่เก็บใน ตำแหน่งที่ 5 ทันทีจึงเป็นวิธีที่เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วที่สุด แต่การทำงานของการแปลงส่งโดยตรงนี้ มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กับ คีย์หลักที่เป็นอักษรได้และไม่เหมาะกับแฟ้มข้อมูลที่มี Field จำนวนมาก เพราะต้องใช้ เนื้อที่จองตำแหน่ง มาก เช่น คีย์หลักเป็นรหัสพนักงาน มีความกว้าง 10 ฉะนั้น ตำแนห่งของข้อมูลที่เป็นไปได้อยู่ ในช่วง 1-9999999999 จะทำให้สิ้นเปลืองเนื้อที่

2.การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search หรือ Linear Search)

การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายและใช้ได้กับตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ หรือไม่เรียงตามลำดับก็ได้การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
ข้อดี

1. ง่ายต่อการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการจัดเก็บข้อมูล
2. ใช้กับสื่อข้อมูลได้ทุกประเภท จึงสามารถเลือกเก็บในสื่อข้อมูลราคาถูก
3. สามารถใช้กับงานที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมาก
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงได้
2. การประมวลผลข้า เพราะเสียเวลาในการอ่าน Record ที่ไม่ต้องการประมวลผล

//members.fortunecity.com

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา //new.yupparaj.ac.th/



โดย: โดยน.ส อังคณา สุทธิแพทย์52240210209หมู่01(พิเศษ)พฤ.ค่ำสาขา สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:51:04 น.  

 
.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

1.การค้นหาข้อมูลแบบสุมหรือโดยตรง (Random / Direct Access File)
การค้นหาข้อมูลประเภทนี้ เป็นการค้นหาแบบข้อมูลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล หรืออ่านข้อมูลจากต้นแฟ้มข้อมูลนั้น ๆ การค้นหาแบบสุ่มหรือโดยตรงนี้ จะมี คีย์หลัก เป็นตัวกำหนดตำแหน่งข้อมูล ในระเบียน เป็นวิธีการที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการทำงานเพราะตำแหน่งของระเบียนจะมีเท่ากับขนาดของ คีย์ เช่น ระเบียนลำดับที่ของ นักเรียน เป็นคีย์หลัก มีความกว้างเท่ากับ 2 จะมี คีย์หลัก อยู่ในช่วย 1-99 และในลักษณะ เดียวกันจะมีตำแหน่งข้อมูล
คำอธิบาย

ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลของนักศึกษาคนที่ 5 โดยมีลำดับที่เป้นคีย์หลัก คือ 5 การเข้าถึงข้อมูลจะเข้าถึง ข้อมูลที่เก็บใน ตำแหน่งที่ 5 ทันทีจึงเป็นวิธีที่เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วที่สุด แต่การทำงานของการแปลงส่งโดยตรงนี้ มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กับ คีย์หลักที่เป็นอักษรได้และไม่เหมาะกับแฟ้มข้อมูลที่มี Field จำนวนมาก เพราะต้องใช้ เนื้อที่จองตำแหน่ง มาก เช่น คีย์หลักเป็นรหัสพนักงาน มีความกว้าง 10 ฉะนั้น ตำแนห่งของข้อมูลที่เป็นไปได้อยู่ ในช่วง 1-9999999999 จะทำให้สิ้นเปลืองเนื้อที่

2.การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search หรือ Linear Search)

การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายและใช้ได้กับตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ หรือไม่เรียงตามลำดับก็ได้การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
ข้อดี

1. ง่ายต่อการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการจัดเก็บข้อมูล
2. ใช้กับสื่อข้อมูลได้ทุกประเภท จึงสามารถเลือกเก็บในสื่อข้อมูลราคาถูก
3. สามารถใช้กับงานที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมาก
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงได้
2. การประมวลผลข้า เพราะเสียเวลาในการอ่าน Record ที่ไม่ต้องการประมวลผล

//members.fortunecity.com/one2many/dstruct/ff7.html

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

//new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นายนภศักดิ์ ชาทอง ม.29 พุธเช้า IP: 119.31.110.169 วันที่: 16 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:29:52 น.  

 
อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
- การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการเหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

· การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html
ที่มา:


โดย: นางสาวนงลักษณ์ ทุมลา 51040325135 หมู่01 จันทร์บ่าย IP: 114.128.221.34 วันที่: 19 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:59:09 น.  

 
การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
-มี 2 วิธี คือ
(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing) หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5


โดย: นางสาวนงลักษณ์ ทุมลา 51040325135 หม่01 จันทร์บ่าย IP: 114.128.221.34 วันที่: 19 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:06:25 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

ตอบ การจัดระบบแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
ความหมายของแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
เป็นการจัดเรคอร์ดในแฟ้มที่ทำให้เราสามารถเข้าถึงเรคอร์ดแบบตามลำดับ (Sequential access) ของค่าฟิลด์ที่เป็นคีย์ของเรคอร์ดเหล่านั้น หรืออาจจะทำให้เราเข้าถึงเรคอร์ดแบบสุ่ม (random access) โดยใช้ค่าคีย์ตัวเดียวกันได้
ในการจัดระบบแฟ้มแบบนี้จะต้องกำหนดดังนี้
กำหนดดัชนี เป็นตัวชี้ไปยังเรคอร์ดที่เก็บข้อมูลที่เป็นดรรชนี ทำหน้าที่ให้บริการทำตามคำร้องขอของผู้ใช้ในการที่จะเข้าถึงเรคอร์ดใด ๆ ในไฟล์
กำหนดไฟล์ข้อมูล จัดเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบโดยเก็บแบบเรียงตามลำดับ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของแฟ้มข้อมูลประเภท Sequential file โดยเพิ่ม 1. Index เพื่อให้มีการเข้าถึงข้อมูลได้ทั้งแบบสุ่มและแบบลำดับ 2. Overflow เพื่อจัดการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูลในส่วนที่เพิ่มเติม
การนำแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดรรชนีไปใช้งานมีแนวทางพื้นฐานในการจักการแฟ้ม คือ
1. Block index and data (Dynamic)
2. Prime and overflow data (Static)
Block index and data (Dynamic)
วิธีการนี้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ CDC โดยใช้การจัดการไฟล์แบบ SIS (Scope Index Sequential) SIS เป็นไฟล์ที่แบ่งเป็น Data Block กับ Index Block แต่ละ Data Block หรือ Index Block จะถูกส่งผ่านด้วยคำสั่งจัดการ I/O เพียงคำสั่งเดียว Data Block จะมีขนาดคงที่ประกอบด้วย Header ของบล็อกของตัวเรคอร์ดต่าง ๆ (ที่เป็นแบบ logical record) และคีย์ของเรคอร์ดทั้งหมดที่อยู่ใน Data Block นั้น
รูปที่ 1 รูปแบบของ data block ของCDC Computer
Header R1 R2 R3 …padding… Key3 Key2 Key1
ใน SIS ไฟล์นอกจากจะมีส่วนของ Data Block แล้วยังจะมีส่วนของ Index block เพื่อที่จะทำให้สามารถเข้าถึงตัวเรคอร์ดได้เร็วขึ้น Index Block จะมีขนาดคงที่ประกอบด้วยค่าของ Header และค่าคีย์กับแอดเดรสของ Data Block ที่เกี่ยวข้อง ดังรูป
รูปที่ 2 รูปแบบของ index block บน CDC computer
กล่าวโดยสรุป Block index and data ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. Index file จัดอยู่ในรูป block มีโครงสร้างแบบ tree structureee
2. Data file เป็นไฟล์ที่ทำการเก็บข้อมูล
การค้นหาข้อมูล ทำได้ 2 วิธี
การค้นหาโดยตรง จะค้นจาก Block Index
ค้นหาแบบลำดับ จะทำการค้นหาข้อมูลตาม Block Data
การแทรกข้อมูล
ในการแทรกข้อมูลสามารถแทรกได้เลยถ้ามีที่ว่าง ถ้าไม่มีที่ว่างต้องทำการ Split block แล้วแก้ไข Index Block ที่เกี่ยวข้อง เมื่อ Block ดัชนีระดับสูงสุดเต็มจะทำการ Split block และจะเพิ่มบล็อกของดรรชนีระดับสูงขึ้นไปอีก 1 ระดับ
การลบข้อมูล
จะเลื่อนระเบียนที่มีค่าคีย์สูงกว่าเข้ามาแทนที่ตำแหน่งระเบียนที่ถูกลบไป ขยับเพื่อให้เนื้อที่ว่างทั้งหมดมาอยู่ด้วยกัน ถ้าระเบียนที่ลบเป็นระเบียนตัวแรกของบล็อก จะต้องปรับปรุงค่าหลักของดรรชนีในระดับถัดไป
ข้อพิจารณาวิธีนี้
1. ความลึกของดัชนี ซึ่งมีผลต่อจำนวนครั้งของ I/O operation
2. ปริมาณการเพิ่มและการลบออก ของระเบียน
3. ชนาดของบล็อกดรรชนีและบล็อกข้อมูล
4. Prime and Over flow data area
เป็นวิธีการแบบ Cylinder & Surface Indexing เป็นวิธีการที่ใช้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ IBM อาจเรียกวิธีการนี้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นวิธีการจัดการไฟล์แบบ ISAM (Index Sequential Access Method) วิธีการนี้เป็นวิธีการที่อาศัยโครงสร้างพื้นฐานของแผ่นดิสก์ ไฟล์ ISAM จะถูกแบ่งส่วนเป็น 3 ส่วน คือ
1. Index Area เป็นส่วนที่ประกอบด้วยดัชนีของ Cylinder ของข้อมูล
2. Prime Data Area เป็นส่วนที่จัดเก็บตัวเรคอร์ดของข้อมูล
3. Independent Overflow Area ส่วนอิสระ
ข้อมูลในไฟล์ ISAM จะจัดเก็บอยู่ในหลาย Cylinder แต่ละ Cylinder จะประกอบด้วย Surface Index ของข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ใน Cylinder นั้น ๆ ในส่วนของ Prime Data Area จะมีเรคอร์ดจัดเก็บอยู่เรียงตามลำดับตามค่าคีย์ โดยปกติแล้ว Surface Index จะเก็บอยู่ในหน้า (surface) ที่ 0 ของแผ่นและ Prime Data Area
จะเก็บอยู่บนหน้าที่ 1 ถึง n-1 และ Cylinder จะเก็บอยู่ในหน้าที่ n ของ Cylinder แต่ละหน้าของ Prime Data Area จะมีขนาดความจุที่และมีเรคอร์ดจัดเก็บอยู่เรียงไปตามลำดับค่าคีย์ จากค่าน้อยไปมากสังเกตว่า Cylinder Index Overflow Area ส่วนของPrime Data จะอยู่บน Cylinder ระหว่าง Cylinder บนสุดและล่างสุด
Overflow Area เป็นส่วนที่เราสงวนเอาไว้เผื่อการล้นของเรคอร์ดอยู่ในส่วนของ Prime Data Area เราจึงอาจเรียกว่าเป็น Embedded Overflow หากมีเรคอร์ดล้นออกจากส่วนของ Prime Data Area เมื่อใด ส่วนเรคอร์ดที่เกินมานั้นก็จะถูกจัดเก็บแบบเรียงไปตามลำดับใน Overflow Area นี้ ข้อดีของ Embedded Area คือเป็นพื้นที่ที่อยู่ใกล้กับ Prime Data Area เราไม่จำเป็นต้องจัดการเข้าถึงเรคอร์ดเพื่อดำเนินการค้นหาเรคอร์ดเพื่อดำเนินการค้นหาเรคอร์ดในไฟล์มากนัก ข้อด้อยของการใช้ Overflow Area ในส่วนนี้คือเรามักจะต้องกำหนดเนื้อที่ส่วนนี้ให้มีขนาดตายตัวสำหรับทุก Cylinder จะไม่เท่ากันก็ตาม ดังนั้จึงเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่โดยเปล่าประโยชน์
ในการออกแบบแฟ้มลำดับเชิงดรรชนีจะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นดรรชนี (Index area) ประกอบด้วย
- master index
- cylinder index
- track index
2. ส่วนที่เก็บข้อมูล (data file) ประกอบด้วย
- Prime Area
- Overflow Area
5. ข้อพิจารณาของแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
1. ในแต่ละเรคอร์ดควรมีเขตข้อมูลอะไรบ้างที่ประกอบกัน
2. ควรใช้ฟิลด์ใดเป็น primary key
3. จำนวนเรคอร์ดที่คาดว่าจะแทรกในอนาคต ปกติเผื่อไว้ 40 % ของระเบียนช่วงสร้างแฟ้มครั้งแรก
4. จะเลือกโครงสร้างแบบใด เช่น block index and data เพราะมีประสิทธิภาพมากกว่า

การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ



ที่มา
//cc.1asphost.com/wAcheerapan/8.doc
//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html



2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

ตอบ วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm




โดย: นางสาวภัทราภรณ์ อุ่นจิต 52240236104 พฤ-ค่ำ(พิเศษ) IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 23 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:12:38 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
-ตอบ การจัดระบบแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
ความหมายของแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
เป็นการจัดเรคอร์ดในแฟ้มที่ทำให้เราสามารถเข้าถึงเรคอร์ดแบบตามลำดับ (Sequential access) ของค่าฟิลด์ที่เป็นคีย์ของเรคอร์ดเหล่านั้น หรืออาจจะทำให้เราเข้าถึงเรคอร์ดแบบสุ่ม (random access) โดยใช้ค่าคีย์ตัวเดียวกันได้
ในการจัดระบบแฟ้มแบบนี้จะต้องกำหนดดังนี้
กำหนดดัชนี เป็นตัวชี้ไปยังเรคอร์ดที่เก็บข้อมูลที่เป็นดรรชนี ทำหน้าที่ให้บริการทำตามคำร้องขอของผู้ใช้ในการที่จะเข้าถึงเรคอร์ดใด ๆ ในไฟล์
กำหนดไฟล์ข้อมูล จัดเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบโดยเก็บแบบเรียงตามลำดับ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของแฟ้มข้อมูลประเภท Sequential file โดยเพิ่ม 1. Index เพื่อให้มีการเข้าถึงข้อมูลได้ทั้งแบบสุ่มและแบบลำดับ 2. Overflow เพื่อจัดการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูลในส่วนที่เพิ่มเติม
การนำแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดรรชนีไปใช้งานมีแนวทางพื้นฐานในการจักการแฟ้ม คือ
1. Block index and data (Dynamic)
2. Prime and overflow data (Static)
Block index and data (Dynamic)
วิธีการนี้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ CDC โดยใช้การจัดการไฟล์แบบ SIS (Scope Index Sequential) SIS เป็นไฟล์ที่แบ่งเป็น Data Block กับ Index Block แต่ละ Data Block หรือ Index Block จะถูกส่งผ่านด้วยคำสั่งจัดการ I/O เพียงคำสั่งเดียว Data Block จะมีขนาดคงที่ประกอบด้วย Header ของบล็อกของตัวเรคอร์ดต่าง ๆ (ที่เป็นแบบ logical record) และคีย์ของเรคอร์ดทั้งหมดที่อยู่ใน Data Block นั้น
รูปที่ 1 รูปแบบของ data block ของCDC Computer
Header R1 R2 R3 …padding… Key3 Key2 Key1
ใน SIS ไฟล์นอกจากจะมีส่วนของ Data Block แล้วยังจะมีส่วนของ Index block เพื่อที่จะทำให้สามารถเข้าถึงตัวเรคอร์ดได้เร็วขึ้น Index Block จะมีขนาดคงที่ประกอบด้วยค่าของ Header และค่าคีย์กับแอดเดรสของ Data Block ที่เกี่ยวข้อง ดังรูป
รูปที่ 2 รูปแบบของ index block บน CDC computer
กล่าวโดยสรุป Block index and data ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. Index file จัดอยู่ในรูป block มีโครงสร้างแบบ tree structureee
2. Data file เป็นไฟล์ที่ทำการเก็บข้อมูล
การค้นหาข้อมูล ทำได้ 2 วิธี
การค้นหาโดยตรง จะค้นจาก Block Index
ค้นหาแบบลำดับ จะทำการค้นหาข้อมูลตาม Block Data
การแทรกข้อมูล
ในการแทรกข้อมูลสามารถแทรกได้เลยถ้ามีที่ว่าง ถ้าไม่มีที่ว่างต้องทำการ Split block แล้วแก้ไข Index Block ที่เกี่ยวข้อง เมื่อ Block ดัชนีระดับสูงสุดเต็มจะทำการ Split block และจะเพิ่มบล็อกของดรรชนีระดับสูงขึ้นไปอีก 1 ระดับ
การลบข้อมูล
จะเลื่อนระเบียนที่มีค่าคีย์สูงกว่าเข้ามาแทนที่ตำแหน่งระเบียนที่ถูกลบไป ขยับเพื่อให้เนื้อที่ว่างทั้งหมดมาอยู่ด้วยกัน ถ้าระเบียนที่ลบเป็นระเบียนตัวแรกของบล็อก จะต้องปรับปรุงค่าหลักของดรรชนีในระดับถัดไป
ข้อพิจารณาวิธีนี้
1. ความลึกของดัชนี ซึ่งมีผลต่อจำนวนครั้งของ I/O operation
2. ปริมาณการเพิ่มและการลบออก ของระเบียน
3. ชนาดของบล็อกดรรชนีและบล็อกข้อมูล
4. Prime and Over flow data area
เป็นวิธีการแบบ Cylinder & Surface Indexing เป็นวิธีการที่ใช้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ IBM อาจเรียกวิธีการนี้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นวิธีการจัดการไฟล์แบบ ISAM (Index Sequential Access Method) วิธีการนี้เป็นวิธีการที่อาศัยโครงสร้างพื้นฐานของแผ่นดิสก์ ไฟล์ ISAM จะถูกแบ่งส่วนเป็น 3 ส่วน คือ
1. Index Area เป็นส่วนที่ประกอบด้วยดัชนีของ Cylinder ของข้อมูล
2. Prime Data Area เป็นส่วนที่จัดเก็บตัวเรคอร์ดของข้อมูล
3. Independent Overflow Area ส่วนอิสระ
ข้อมูลในไฟล์ ISAM จะจัดเก็บอยู่ในหลาย Cylinder แต่ละ Cylinder จะประกอบด้วย Surface Index ของข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ใน Cylinder นั้น ๆ ในส่วนของ Prime Data Area จะมีเรคอร์ดจัดเก็บอยู่เรียงตามลำดับตามค่าคีย์ โดยปกติแล้ว Surface Index จะเก็บอยู่ในหน้า (surface) ที่ 0 ของแผ่นและ Prime Data Area
จะเก็บอยู่บนหน้าที่ 1 ถึง n-1 และ Cylinder จะเก็บอยู่ในหน้าที่ n ของ Cylinder แต่ละหน้าของ Prime Data Area จะมีขนาดความจุที่และมีเรคอร์ดจัดเก็บอยู่เรียงไปตามลำดับค่าคีย์ จากค่าน้อยไปมากสังเกตว่า Cylinder Index Overflow Area ส่วนของPrime Data จะอยู่บน Cylinder ระหว่าง Cylinder บนสุดและล่างสุด
Overflow Area เป็นส่วนที่เราสงวนเอาไว้เผื่อการล้นของเรคอร์ดอยู่ในส่วนของ Prime Data Area เราจึงอาจเรียกว่าเป็น Embedded Overflow หากมีเรคอร์ดล้นออกจากส่วนของ Prime Data Area เมื่อใด ส่วนเรคอร์ดที่เกินมานั้นก็จะถูกจัดเก็บแบบเรียงไปตามลำดับใน Overflow Area นี้ ข้อดีของ Embedded Area คือเป็นพื้นที่ที่อยู่ใกล้กับ Prime Data Area เราไม่จำเป็นต้องจัดการเข้าถึงเรคอร์ดเพื่อดำเนินการค้นหาเรคอร์ดเพื่อดำเนินการค้นหาเรคอร์ดในไฟล์มากนัก ข้อด้อยของการใช้ Overflow Area ในส่วนนี้คือเรามักจะต้องกำหนดเนื้อที่ส่วนนี้ให้มีขนาดตายตัวสำหรับทุก Cylinder จะไม่เท่ากันก็ตาม ดังนั้จึงเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่โดยเปล่าประโยชน์
ในการออกแบบแฟ้มลำดับเชิงดรรชนีจะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นดรรชนี (Index area) ประกอบด้วย
- master index
- cylinder index
- track index
2. ส่วนที่เก็บข้อมูล (data file) ประกอบด้วย
- Prime Area
- Overflow Area
5. ข้อพิจารณาของแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
1. ในแต่ละเรคอร์ดควรมีเขตข้อมูลอะไรบ้างที่ประกอบกัน
2. ควรใช้ฟิลด์ใดเป็น primary key
3. จำนวนเรคอร์ดที่คาดว่าจะแทรกในอนาคต ปกติเผื่อไว้ 40 % ของระเบียนช่วงสร้างแฟ้มครั้งแรก
4. จะเลือกโครงสร้างแบบใด เช่น block index and data เพราะมีประสิทธิภาพมากกว่า

การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ



ที่มา
//cc.1asphost.com/wAcheerapan/8.doc
//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
-ตอบ วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นายอดิศักดิ์ รักวิชา ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427132 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:5:55:15 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
-ตอบ การจัดระบบแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
ความหมายของแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
เป็นการจัดเรคอร์ดในแฟ้มที่ทำให้เราสามารถเข้าถึงเรคอร์ดแบบตามลำดับ (Sequential access) ของค่าฟิลด์ที่เป็นคีย์ของเรคอร์ดเหล่านั้น หรืออาจจะทำให้เราเข้าถึงเรคอร์ดแบบสุ่ม (random access) โดยใช้ค่าคีย์ตัวเดียวกันได้
ในการจัดระบบแฟ้มแบบนี้จะต้องกำหนดดังนี้
กำหนดดัชนี เป็นตัวชี้ไปยังเรคอร์ดที่เก็บข้อมูลที่เป็นดรรชนี ทำหน้าที่ให้บริการทำตามคำร้องขอของผู้ใช้ในการที่จะเข้าถึงเรคอร์ดใด ๆ ในไฟล์
กำหนดไฟล์ข้อมูล จัดเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบโดยเก็บแบบเรียงตามลำดับ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของแฟ้มข้อมูลประเภท Sequential file โดยเพิ่ม 1. Index เพื่อให้มีการเข้าถึงข้อมูลได้ทั้งแบบสุ่มและแบบลำดับ 2. Overflow เพื่อจัดการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูลในส่วนที่เพิ่มเติม
การนำแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดรรชนีไปใช้งานมีแนวทางพื้นฐานในการจักการแฟ้ม คือ
1. Block index and data (Dynamic)
2. Prime and overflow data (Static)
Block index and data (Dynamic)
วิธีการนี้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ CDC โดยใช้การจัดการไฟล์แบบ SIS (Scope Index Sequential) SIS เป็นไฟล์ที่แบ่งเป็น Data Block กับ Index Block แต่ละ Data Block หรือ Index Block จะถูกส่งผ่านด้วยคำสั่งจัดการ I/O เพียงคำสั่งเดียว Data Block จะมีขนาดคงที่ประกอบด้วย Header ของบล็อกของตัวเรคอร์ดต่าง ๆ (ที่เป็นแบบ logical record) และคีย์ของเรคอร์ดทั้งหมดที่อยู่ใน Data Block นั้น
รูปที่ 1 รูปแบบของ data block ของCDC Computer
Header R1 R2 R3 …padding… Key3 Key2 Key1
ใน SIS ไฟล์นอกจากจะมีส่วนของ Data Block แล้วยังจะมีส่วนของ Index block เพื่อที่จะทำให้สามารถเข้าถึงตัวเรคอร์ดได้เร็วขึ้น Index Block จะมีขนาดคงที่ประกอบด้วยค่าของ Header และค่าคีย์กับแอดเดรสของ Data Block ที่เกี่ยวข้อง ดังรูป
รูปที่ 2 รูปแบบของ index block บน CDC computer
กล่าวโดยสรุป Block index and data ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. Index file จัดอยู่ในรูป block มีโครงสร้างแบบ tree structureee
2. Data file เป็นไฟล์ที่ทำการเก็บข้อมูล
การค้นหาข้อมูล ทำได้ 2 วิธี
การค้นหาโดยตรง จะค้นจาก Block Index
ค้นหาแบบลำดับ จะทำการค้นหาข้อมูลตาม Block Data
การแทรกข้อมูล
ในการแทรกข้อมูลสามารถแทรกได้เลยถ้ามีที่ว่าง ถ้าไม่มีที่ว่างต้องทำการ Split block แล้วแก้ไข Index Block ที่เกี่ยวข้อง เมื่อ Block ดัชนีระดับสูงสุดเต็มจะทำการ Split block และจะเพิ่มบล็อกของดรรชนีระดับสูงขึ้นไปอีก 1 ระดับ
การลบข้อมูล
จะเลื่อนระเบียนที่มีค่าคีย์สูงกว่าเข้ามาแทนที่ตำแหน่งระเบียนที่ถูกลบไป ขยับเพื่อให้เนื้อที่ว่างทั้งหมดมาอยู่ด้วยกัน ถ้าระเบียนที่ลบเป็นระเบียนตัวแรกของบล็อก จะต้องปรับปรุงค่าหลักของดรรชนีในระดับถัดไป
ข้อพิจารณาวิธีนี้
1. ความลึกของดัชนี ซึ่งมีผลต่อจำนวนครั้งของ I/O operation
2. ปริมาณการเพิ่มและการลบออก ของระเบียน
3. ชนาดของบล็อกดรรชนีและบล็อกข้อมูล
4. Prime and Over flow data area
เป็นวิธีการแบบ Cylinder & Surface Indexing เป็นวิธีการที่ใช้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ IBM อาจเรียกวิธีการนี้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นวิธีการจัดการไฟล์แบบ ISAM (Index Sequential Access Method) วิธีการนี้เป็นวิธีการที่อาศัยโครงสร้างพื้นฐานของแผ่นดิสก์ ไฟล์ ISAM จะถูกแบ่งส่วนเป็น 3 ส่วน คือ
1. Index Area เป็นส่วนที่ประกอบด้วยดัชนีของ Cylinder ของข้อมูล
2. Prime Data Area เป็นส่วนที่จัดเก็บตัวเรคอร์ดของข้อมูล
3. Independent Overflow Area ส่วนอิสระ
ข้อมูลในไฟล์ ISAM จะจัดเก็บอยู่ในหลาย Cylinder แต่ละ Cylinder จะประกอบด้วย Surface Index ของข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ใน Cylinder นั้น ๆ ในส่วนของ Prime Data Area จะมีเรคอร์ดจัดเก็บอยู่เรียงตามลำดับตามค่าคีย์ โดยปกติแล้ว Surface Index จะเก็บอยู่ในหน้า (surface) ที่ 0 ของแผ่นและ Prime Data Area
จะเก็บอยู่บนหน้าที่ 1 ถึง n-1 และ Cylinder จะเก็บอยู่ในหน้าที่ n ของ Cylinder แต่ละหน้าของ Prime Data Area จะมีขนาดความจุที่และมีเรคอร์ดจัดเก็บอยู่เรียงไปตามลำดับค่าคีย์ จากค่าน้อยไปมากสังเกตว่า Cylinder Index Overflow Area ส่วนของPrime Data จะอยู่บน Cylinder ระหว่าง Cylinder บนสุดและล่างสุด
Overflow Area เป็นส่วนที่เราสงวนเอาไว้เผื่อการล้นของเรคอร์ดอยู่ในส่วนของ Prime Data Area เราจึงอาจเรียกว่าเป็น Embedded Overflow หากมีเรคอร์ดล้นออกจากส่วนของ Prime Data Area เมื่อใด ส่วนเรคอร์ดที่เกินมานั้นก็จะถูกจัดเก็บแบบเรียงไปตามลำดับใน Overflow Area นี้ ข้อดีของ Embedded Area คือเป็นพื้นที่ที่อยู่ใกล้กับ Prime Data Area เราไม่จำเป็นต้องจัดการเข้าถึงเรคอร์ดเพื่อดำเนินการค้นหาเรคอร์ดเพื่อดำเนินการค้นหาเรคอร์ดในไฟล์มากนัก ข้อด้อยของการใช้ Overflow Area ในส่วนนี้คือเรามักจะต้องกำหนดเนื้อที่ส่วนนี้ให้มีขนาดตายตัวสำหรับทุก Cylinder จะไม่เท่ากันก็ตาม ดังนั้จึงเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่โดยเปล่าประโยชน์
ในการออกแบบแฟ้มลำดับเชิงดรรชนีจะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นดรรชนี (Index area) ประกอบด้วย
- master index
- cylinder index
- track index
2. ส่วนที่เก็บข้อมูล (data file) ประกอบด้วย
- Prime Area
- Overflow Area
5. ข้อพิจารณาของแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
1. ในแต่ละเรคอร์ดควรมีเขตข้อมูลอะไรบ้างที่ประกอบกัน
2. ควรใช้ฟิลด์ใดเป็น primary key
3. จำนวนเรคอร์ดที่คาดว่าจะแทรกในอนาคต ปกติเผื่อไว้ 40 % ของระเบียนช่วงสร้างแฟ้มครั้งแรก
4. จะเลือกโครงสร้างแบบใด เช่น block index and data เพราะมีประสิทธิภาพมากกว่า

การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ



ที่มา
//cc.1asphost.com/wAcheerapan/8.doc
//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
-ตอบ วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นายนิรัช วิจิตรกุล ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427117 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:5:56:02 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
การเข้าถึงข้อมูล


ตอบ
· การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ

· การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการเหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

ที่มา
//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html


2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

ตอบ

ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (DATA PROCESSING)
มี 2แบบ ดังนี้

· การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เมื่อถึงกำหนด ข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว

· การประมวลผลแบบทันที (real-time processing) การประมวลผลแบบทันที เป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล

ที่มา
//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html




โดย: น.ส.ชฎาพร โสภาคำ ชีววิทยา (จุลชีววิทยา) ม.08 พฤ (เช้า) 52040281117 IP: 124.157.148.182 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:30:29 น.  

 
ตอบแบบทดสอบเรื่องที่ 2 การจัดการกับข้อมูล
ข้อที่ 1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access) คือ การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม

การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) คือ ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

ข้อที่ 2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบวิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน




ที่มา //it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#3
//new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm





โดย: นางสาวจิลวรรณ ปัดถาวะโร รหัส 52040281130 ม. 08 ( พฤ.เช้า ) IP: 124.157.148.182 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:59:16 น.  

 
2.1. อธิบการเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลทีละเรคคอร์ดเรียงไปตามลำดับของการจัดเก็บ ถ้าจะดึงข้อมูลเรคคอร์ดที่ 10 มาใช้จะต้องอ่านข้อมูลผ่านเรคคอร์ดที่ 1 ถึง 9 ก่อนเสมอ เมื่อถึงเรคคอร์ดที่ 10 จึงจะสามารถดึงข้อมูลออกมาใช้ได้ สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้มักเป็น เทป (Tape)
ายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับการเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่ต้องผ่านเรคคอร์ดที่อยู่ก่อน การเข้าถึงเรคคอร์ดแบบสุ่มจะเร็วกว่าแบบโดยลำดับมาก เหมาะสมกับงานที่ต้องการความเร็วในการดึงข้อมูลมาก ๆ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมักเป็นดิสก์ หรือจานแม่เหล็ก


โดย: น.ส วนิดา ปัตตานี เช้าวันศุกร์ หมู่15 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 26 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:08:44 น.  

 
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing)

จะเป็นวิธีการประมวลผลที่ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละช่วงเวลาไว้ จนกว่าจะมีข้อมูลที่ประมวลผลจำนวนหนึ่ง จึงทำการประมวลผลพร้อมกัน หรืออาจรอจนกว่าครบตามเวลาที่กำหนด จึงทำการประมวลผลไม่ว่าจะมีจำนวนเท่าใดก็ตาม เช่น เวลาเข้าออกของพนักงานอาจจะพิมพ์เก็บไว้ทุกสัปดาห์ และนำมาประมวลผลเดือนละครั้งเท่านั้น เป็นต้น แบบออนไลน์
เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่เกิดจาก ธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจำหรืองานขั้นพื้นฐานขององค์การ เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจำนวนวัสดุคงคลัง เมื่อใดก็ตามที่มีการทำธุรกรรมหรือปฏิบัติงานในลักษณะดังกล่าวข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะเกิดขึ้นทันที เช่น ทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ข้อมูลที่เกิดขึ้นก็คือ ชื่อลูกค้า ประเภทของลูกค้า จำนวนและราคาของสินค้าที่ขายไป รวมทั้งวิธีการชำระเงินของลูกค้า

แบบโต้ตอบ การทำงานระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์



โดย: น.ส วนิดา ปัตตานี เช้าวันศุกร์ หมู่15 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 26 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:19:00 น.  

 
1.อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

1.1การเข้าถึงแบบลำดับ

เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

1.2การเข้าถึงแบบสุ่ม

เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
วิธีการประมวลผลข้อมูล

2.วิธีการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ มีหลายวิธี ดังนี้

1) การคำนวณ (Calculation) หมายถึง การนำข้อมูลที่เป็นตัวเลขมาทำการ บวก ลบ คูณ หารยกกำลัง เช่น การคำนวณภาษี การคำนวณค่าแรง เป็นต้น

2) การจัดเรียงข้อมูล (Sorting) เป็นการเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก หรือมากไปหาน้อย เพื่อทำให้ดูง่ายขึ้น ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้เร็วขึ้น เช่น การเรียงคะแนนดิบของนักเรียนจากมาก ไปหาน้อย การเก็บบัตรดัชนีสำหรับหนังสือต่างๆ โดยการเรียงตามตัวอักษร จาก ก ข ค ถึง ฮ เป็นต้น

3) การจัดกลุ่ม (Classifying) หมายถึง การจัดข้อมูลโดยการแยกออกเป็นกลุ่มหรือประเภท ต่างๆ เช่น การนำข้อมูลเกี่ยวกับประวัตินักศึกษา มาแยกตามคณะต่างๆ เช่น แยกเป็นนักศึกษาที่ สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ นักศึกษาที่สังกัดคณะครุศาสตร์ เป็นต้น การทำเช่นนี้ทำให้การค้นหาข้อมูล ทำได้ง่ายขึ้น และยังสะดวกสำหรับทำรายงานต่างๆ

4) การดึงข้อมูล (Retrieving) หมายถึง การค้นหาและการนำข้อมูลที่ต้องการมาจากแหล่ง เก็บข้อมูล เพื่อนำไปใช้งาน

5) การรวมข้อมูล (Merging) หมายถึง การนำข้อมูลตั้งแต่สองชุดขึ้นไปมารวมกันให้เป็นชุด เดียวเช่น การนำประวัติส่วนตัวของนักศึกษา และประวัติการศึกษามารวมเป็นชุดเดียวกัน เป็นประวัตินักศึกษาเป็นต้น

6) การสรุปผล (Summarizing) หมายถึง การสรุปส่วนต่างๆของข้อมูลโดยย่อเอา เฉพาะส่วนที่เป็น ใจความสำคัญ เพื่อเน้นจุดสำคัญและแนวโน้ม เช่น การนำข้อฒุลมาแจงนับและ ทำเป็นตารางการ หายอดนักศึกษา ของแต่ละวิชา ข้อมูลเหล่านี้ใช้สำหรับพิมพ์เป็นรายงานสรุป ส่งขึ้นไปให้ผู้บริหาร ระดับสูง เพื่อใช้ในการบริหาร

7) การทำรายงาน (Reporting) หมายถึง การนำข้อมูลมาจัดพิมพ์รายงานรูปแบบต่างๆ เช่น รายงานการวิเคราะห์อาชีพของผู้ปกครองของนักศึกษา รายงานการเรียนของนักศึกษา เป็นต้น

8) การบันทึก (Recording) หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลเอาไว้โดยทำการคัดลอกข้อมูล จากต้นฉบับแล้วเก็บเป็นแฟ้ม (Filing) เช่น การบันทึกประวัติส่วนตัวนักศึกษาแต่ละคน เป็นต้น

9) การปรับปรุงรักษาข้อมูล (Updating) หมายถึง การเพิ่ม (Add) หรือการเอาออก (Delete) และการเปลี่ยนค่า (Change) ข้อมูลที่อยู่ในแฟ้มให้ทันสมัยอยู่เสมอ

//www.bs.ac.th/2548/e_bs/G7/raim


โดย: นางสาวสุพัตรา ธรรมสาร(หมู่15ศ.เช้า)52040302208 IP: 222.123.62.82 วันที่: 28 กรกฎาคม 2552 เวลา:0:33:54 น.  

 
การเข้าถึงข้อมูลแบบ Sequential
การเข้าถึงข้อมูลแบบ Sequential คือการเขาถึงข้อมูลอย่างเป็นลำดับ ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรงได้ ข้อเสียของการเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้ คือ ช้า ส่วนข้อดี คือ ประหยัด
การเข้าถึงข้อมูลของหน่วยความจำแบ่งได้ 4 ลักษณะ ได้แก่

Sequential
Direct
Random
Associative
การเข้าถึงข้อมูลแบบ Sequential
การเข้าถึงข้อมูลแบบ Sequential คือการเขาถึงข้อมูลอย่างเป็นลำดับ ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรงได้ ข้อเสียของการเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้ คือ ช้า ส่วนข้อดี คือ ประหยัด

การเข้าถึงข้อมูลแบบ Random
การเข้าถึงข้อมูลแบบ Random คือการเข้าถึงข้อมูลโดยตรง โดยอาศัย addresses เป็นตัวชี้นำตำแหน่งข้อมูล
ที่มา://yalor.yru.ac.th/~nipon/Archi_STD43/chapter4/group_20/Access.htm


โดย: น.ส.วิไลวรรณ พงค์พันธ์ ม.29 (พุธเช้า) 52040501303 IP: 222.123.231.163 วันที่: 28 กรกฎาคม 2552 เวลา:21:39:45 น.  

 
2.2)วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน


โดย: น.ส.วิไลวรรณ พงค์พันธ์ ม.29 (พุธเช้า) 52040501303 IP: 222.123.231.163 วันที่: 28 กรกฎาคม 2552 เวลา:21:42:57 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ชนิดและโครงสร้างของตัวดัชนี
จากพัฒนาการของอุปกรณ์ชนิดเข้าถึงโดยตรงได้ ทำให้เราสามารถดัดแปลงแฟ้มลำดับให้เป็นแฟ้มที่เข้าถึงระเบียนได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่มโดยผ่านคีย์หลัก แฟ้มข้อมูลดังกล่าวคือแฟ้มลำดับเชิงดัชนี

ระบบแฟ้มลำดับเชิงดัชนีคือวิธีการจัดเก็บระเบียนให้มีประสิทธิภาพเพื่อให้สามารถเข้าถึงระเบียนแบบลำดับโดยคีย์บางตัว ในขณะเดียวกันก็สามารถเข้าถึงระเบียนหนึ่งระเบียนใดแบบสุ่มโดยคีย์ตัวเดียวกันนั้น ข้อกำหนดที่สำคัญสำหรับแฟ้มข้อมูลชนิดนี้คือทุกระเบียนจะต้องมีคีย์ และแฟ้มข้อมูลจะต้องเก็บอยู่ในอุปกรณ์ Direct Access Storage Device (DASD) ส่วนดัชนีในระบบฐานข้อมูลนั้นเป็นโครงสร้างข้อมูลที่ทำให้ระบบการจัดการฐานข้อมูลสามารถค้นหาระเบียนในแฟ้มข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น เพื่อตอบสนองการสอบถามข้อมูลของผู้ใช้ แฟ้มข้อมูลที่ประกอบไปด้วยระเบียนเชิงตรรกเรียกว่าแฟ้มข้อมูล ส่วนแฟ้มข้อมูลที่ประกอบไปด้วย

โครงสร้างของแฟ้มลำดับเชิงดัชนีเป็นแฟ้มลำดับที่มีส่วนของดัชนีคอยชี้ตำแหน่งระเบียน โครงสร้างของส่วนดัชนีเป็นแบบ binary search tree เราใช้ดัชนีช่วยทางด้านการเข้าถึงระเบียนเฉพาะราย ในขณะที่ส่วนของแฟ้มลำดับใช้บริการด้านการเข้าถึงแบบลำดับ การจัดโครงสร้างของแฟ้มลำดับเชิงดัชนีมี 2 วิธี คือ

Block Indexes and Data (dynamic) โครงสร้างของวิธีนี้ ทั้งส่วนของดัชนีและแฟ้มข้อมูลจัดเก็บในลักษณะของบล็อก โดยที่ส่วนดัชนีมีโครงสร้างแบบต้นไม้ และส่วนของแฟ้มข้อมูลมีโครงสร้างแบบลำดับที่มีเนื้อที่ว่างกระจายอยู่ตามกลุ่มของระเบียน ถ้าต้องการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ การค้นหาไม่จำเป็นต้องเริ่มจากส่วนของดัชนี แต่สามารถเข้าถึงระเบียนโดยเรียงตามลำดับของบล็อกข้อมูล บล็อกของข้อมูลต่างๆไม่จำเป็นต้องเก็บเรียงตามลำดับทางกายภาพ แต่ต้องเรียงตามลำดับของคีย์ โดยมีตัวเชื่อมในทุกๆบล็อกของข้อมูลใช้โยงข้อมูลให้เรียงตามลำดับเชิงตรรก
Prime and Overflow Data Area วิธีนี้เกี่ยวข้องกับลักษณะทางกายภาพของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลมากขึ้น แฟ้มลำดับเชิงดัชนี ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะทางกายภาพ แฟ้มลำดับเชิงดัชนี แบ่งเนื้อที่แฟ้มข้อมูล เนื้อที่ ของแฟ้ม แฟ้มลำดับเชิงดัชนีแบ่งเนื้อที่ออกเป็น
2.1 ส่วนดัชนี (index file) เป็นส่วนที่ช่วยให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยผ่านคีย์หลักอย่างสุ่ม

2.2 ส่วนเก็บข้อมูล มีโครงสร้างแบบแฟ้มลำดับ และประกอบด้วยระเบียนข้อมูล

2.3 เนื้อที่ส่วนเผื่อขยาย (overflow area) มีไว้สำหรับเก็บระเบียนที่จะแทรกเข้าไปใหม่ โดยไม่ต้องคัดลอกแฟ้มใหม่อย่างที่ทำกันในแฟ้มลำดับ

การเข้าถึงแฟ้มลำดับเชิงดัชนีอาจทำได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่ม ถ้าเป็นการเข้าถึงแบบลำดับนั้น ระเบียนต่างๆจะถูกเรียกใช้ในลักษณะเดียวกับแฟ้มลำดับ การเข้าถึงแบบลำดับสามารถเริ่มที่ระเบียนใดก็ได้

//sot.swu.ac.th/cp342/lesson09/ms3t1.htm


โดย: น.สผกาพรรณ หงษ์ทอง หมู่1 จันทร์-บ่าย IP: 124.157.146.74 วันที่: 29 กรกฎาคม 2552 เวลา:19:51:14 น.  

 

แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ 1. ตอบ การเข้าถึงแบบสุ่ม (Direct/Random File tructure)
-โครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่เข้าถึงได้โดยตรง
-สามารถเลือกหรืออ่านค่าได้โดยไม่จำเป็นต้องผ่านเรคอร์ดแรกๆ
-การเข้าถึงข้อมูลทำได้เร็ว
-จัดเก็บในสื่อที่มีการเข้าถึงได้โดยตรงประเภทจานแม่เหล็ก เช่น ดิสเก็ตต์, ฮาร์ดดิสก์หรือ CD-ROM
อาจแบ่งตามลักษณะการทำงานออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
1.1 แบบแฮชไฟล์ (Hash File)
1.2 แบบดัชนี (Indexed File)

แบบแฮชไฟล์ (Hash File) อาศัยอัลกอริทึม ที่เรียกว่า แฮชชิ่ง (hashing) ในการคำนวณ หาค่าคีย์ฟีลด์
ถ้าข้อมูลมาก การแปลงค่าตำแหน่งอาจเกิดการชนกัน (collision) ได้

แบบเรียงลำดับ (Sequential File Structure)

โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดพื้นฐานที่สามารถใช้งานได้ง่ายที่สุด
จัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลำดับเรคอร์ดต่อเนื่องกันไป
การอ่านหรือค้นคืนข้อมูลจะข้ามลำดับไปอ่านโดยตรงไม่ได้
เหมาะสมกับงานที่มีการอ่านข้อมูลต่อเนื่องกันไปตามลำดับและในปริมาณมาก
จัดเก็บอยู่ในอุปกรณ์ประเภทเทปแม่เหล็ก (magnetic tape


2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ
(2.1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2.2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบไว้ก่อน

ที่มา : //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm




โดย: นาย สุระทิน ใจใส หมู่ 15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151202 IP: 1.1.1.171, 58.147.7.66 วันที่: 29 กรกฎาคม 2552 เวลา:21:00:34 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

//www.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm
การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

//it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#4

2.2 (1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง
(online processing)

หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่อง
ปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผล
การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น
การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม
การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง
(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม
(batch processing)

หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบ
ข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน
หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อ
เก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล
นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหา
คำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อ
ให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/2/c2_7.htm#




โดย: สุจิตรา มหาฤทธิ์ 51040305111 สาขาภาษาอังกฤษธุรกิจ หมู่ 01 จันทร์บ่าย IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 30 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:24:01 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ การเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access)
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่ต้องผ่านเรคคอร์ดที่อยู่ก่อน การเข้าถึงเรคคอร์ดแบบสุ่มจะเร็วกว่าแบบโดยลำดับมาก เหมาะสมกับงานที่ต้องการความเร็วในการดึงข้อมูลมาก ๆ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมักเป็นดิสก์ หรือจานแม่เหล็ก

การเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)
เป็นการเข้าถึงข้อมูลทีละเรคคอร์ดเรียงไปตามลำดับของการจัดเก็บ ถ้าจะดึงข้อมูลเรคคอร์ดที่ 10 มาใช้จะต้องอ่านข้อมูลผ่านเรคคอร์ดที่ 1 ถึง 9 ก่อนเสมอ เมื่อถึงเรคคอร์ดที่ 10 จึงจะสามารถดึงข้อมูลออกมาใช้ได้ สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้มักเป็น เทป (Tape)

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ 2 วิธี
(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน





โดย: นายนิติธรรม พฤหัส เช้า หมู่ 08 IP: 1.1.1.4, 202.29.5.62 วันที่: 30 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:38:20 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ


การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป


การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม



ที่มา //it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#3


โดย: นางสาวอังสุมารินทร์ ลุนินิมิตร (ม15 ศ. เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:26:11 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

1.การค้นหาข้อมูลแบบสุมหรือโดยตรง (Random / Direct Access File)
การค้นหาข้อมูลประเภทนี้ เป็นการค้นหาแบบข้อมูลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล หรืออ่านข้อมูลจากต้นแฟ้มข้อมูลนั้น ๆ การค้นหาแบบสุ่มหรือโดยตรงนี้ จะมี คีย์หลัก เป็นตัวกำหนดตำแหน่งข้อมูล ในระเบียน เป็นวิธีการที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการทำงานเพราะตำแหน่งของระเบียนจะมีเท่ากับขนาดของ คีย์ เช่น ระเบียนลำดับที่ของ นักเรียน เป็นคีย์หลัก มีความกว้างเท่ากับ 2 จะมี คีย์หลัก อยู่ในช่วย 1-99 และในลักษณะ เดียวกันจะมีตำแหน่งข้อมูล
คำอธิบาย

ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลของนักศึกษาคนที่ 5 โดยมีลำดับที่เป้นคีย์หลัก คือ 5 การเข้าถึงข้อมูลจะเข้าถึง ข้อมูลที่เก็บใน ตำแหน่งที่ 5 ทันทีจึงเป็นวิธีที่เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วที่สุด แต่การทำงานของการแปลงส่งโดยตรงนี้ มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กับ คีย์หลักที่เป็นอักษรได้และไม่เหมาะกับแฟ้มข้อมูลที่มี Field จำนวนมาก เพราะต้องใช้ เนื้อที่จองตำแหน่ง มาก เช่น คีย์หลักเป็นรหัสพนักงาน มีความกว้าง 10 ฉะนั้น ตำแนห่งของข้อมูลที่เป็นไปได้อยู่ ในช่วง 1-9999999999 จะทำให้สิ้นเปลืองเนื้อที่

2.การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search หรือ Linear Search)

การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายและใช้ได้กับตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ หรือไม่เรียงตามลำดับก็ได้การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
ข้อดี

1. ง่ายต่อการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการจัดเก็บข้อมูล
2. ใช้กับสื่อข้อมูลได้ทุกประเภท จึงสามารถเลือกเก็บในสื่อข้อมูลราคาถูก
3. สามารถใช้กับงานที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมาก
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงได้
2. การประมวลผลข้า เพราะเสียเวลาในการอ่าน Record ที่ไม่ต้องการประมวลผล

//members.fortunecity.com

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

//new.yupparaj.ac.th/



โดย: นายอรรคพล วิทิยาเทคโนผลิตพืชอังคารเช้าหมู่22 IP: 125.26.167.27 วันที่: 1 สิงหาคม 2552 เวลา:19:20:07 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ชนิดและโครงสร้างของตัวดัชนี
จากพัฒนาการของอุปกรณ์ชนิดเข้าถึงโดยตรงได้ ทำให้เราสามารถดัดแปลงแฟ้มลำดับให้เป็นแฟ้มที่เข้าถึงระเบียนได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่มโดยผ่านคีย์หลัก แฟ้มข้อมูลดังกล่าวคือแฟ้มลำดับเชิงดัชนี

ระบบแฟ้มลำดับเชิงดัชนีคือวิธีการจัดเก็บระเบียนให้มีประสิทธิภาพเพื่อให้สามารถเข้าถึงระเบียนแบบลำดับโดยคีย์บางตัว ในขณะเดียวกันก็สามารถเข้าถึงระเบียนหนึ่งระเบียนใดแบบสุ่มโดยคีย์ตัวเดียวกันนั้น ข้อกำหนดที่สำคัญสำหรับแฟ้มข้อมูลชนิดนี้คือทุกระเบียนจะต้องมีคีย์ และแฟ้มข้อมูลจะต้องเก็บอยู่ในอุปกรณ์ Direct Access Storage Device (DASD) ส่วนดัชนีในระบบฐานข้อมูลนั้นเป็นโครงสร้างข้อมูลที่ทำให้ระบบการจัดการฐานข้อมูลสามารถค้นหาระเบียนในแฟ้มข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น เพื่อตอบสนองการสอบถามข้อมูลของผู้ใช้ แฟ้มข้อมูลที่ประกอบไปด้วยระเบียนเชิงตรรกเรียกว่าแฟ้มข้อมูล ส่วนแฟ้มข้อมูลที่ประกอบไปด้วย

โครงสร้างของแฟ้มลำดับเชิงดัชนีเป็นแฟ้มลำดับที่มีส่วนของดัชนีคอยชี้ตำแหน่งระเบียน โครงสร้างของส่วนดัชนีเป็นแบบ binary search tree เราใช้ดัชนีช่วยทางด้านการเข้าถึงระเบียนเฉพาะราย ในขณะที่ส่วนของแฟ้มลำดับใช้บริการด้านการเข้าถึงแบบลำดับ การจัดโครงสร้างของแฟ้มลำดับเชิงดัชนีมี 2 วิธี คือ

Block Indexes and Data (dynamic) โครงสร้างของวิธีนี้ ทั้งส่วนของดัชนีและแฟ้มข้อมูลจัดเก็บในลักษณะของบล็อก โดยที่ส่วนดัชนีมีโครงสร้างแบบต้นไม้ และส่วนของแฟ้มข้อมูลมีโครงสร้างแบบลำดับที่มีเนื้อที่ว่างกระจายอยู่ตามกลุ่มของระเบียน ถ้าต้องการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ การค้นหาไม่จำเป็นต้องเริ่มจากส่วนของดัชนี แต่สามารถเข้าถึงระเบียนโดยเรียงตามลำดับของบล็อกข้อมูล บล็อกของข้อมูลต่างๆไม่จำเป็นต้องเก็บเรียงตามลำดับทางกายภาพ แต่ต้องเรียงตามลำดับของคีย์ โดยมีตัวเชื่อมในทุกๆบล็อกของข้อมูลใช้โยงข้อมูลให้เรียงตามลำดับเชิงตรรก
Prime and Overflow Data Area วิธีนี้เกี่ยวข้องกับลักษณะทางกายภาพของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลมากขึ้น แฟ้มลำดับเชิงดัชนี ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะทางกายภาพ แฟ้มลำดับเชิงดัชนี แบ่งเนื้อที่แฟ้มข้อมูล เนื้อที่ ของแฟ้ม แฟ้มลำดับเชิงดัชนีแบ่งเนื้อที่ออกเป็น
2.1 ส่วนดัชนี (index file) เป็นส่วนที่ช่วยให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยผ่านคีย์หลักอย่างสุ่ม

2.2 ส่วนเก็บข้อมูล มีโครงสร้างแบบแฟ้มลำดับ และประกอบด้วยระเบียนข้อมูล

2.3 เนื้อที่ส่วนเผื่อขยาย (overflow area) มีไว้สำหรับเก็บระเบียนที่จะแทรกเข้าไปใหม่ โดยไม่ต้องคัดลอกแฟ้มใหม่อย่างที่ทำกันในแฟ้มลำดับ

การเข้าถึงแฟ้มลำดับเชิงดัชนีอาจทำได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่ม ถ้าเป็นการเข้าถึงแบบลำดับนั้น ระเบียนต่างๆจะถูกเรียกใช้ในลักษณะเดียวกับแฟ้มลำดับ การเข้าถึงแบบลำดับสามารถเริ่มที่ระเบียนใดก็ได้
3.1 ชนิดและโครงสร้างของตัวดัชนี
3.2 ความแตกต่างระหว่างตัวดัชนีหลักและตัวดัชนีรอง
3.3 ประเภทของเทคนิคที่นำตัวดัชนีมาใช้ในการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลให้เร็วขึ้น




//sot.swu.ac.th/cp342/lesson09/ms3t1.htm


โดย: น.ส ผกาพรรณ หงษ์ทอง หมู่ 1 จันทร์-บ่าย IP: 124.157.146.209 วันที่: 3 สิงหาคม 2552 เวลา:15:25:20 น.  

 
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
การประมวลผลข้อมูล

ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ บนโลกนี้มีอยู่มากมายมหาศาล การที่จะจัดการกับข้อมูลเหล่านี้ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการใช้งาน ต้องอาศัยเครื่องมือ กระบวนการ วิธีการต่าง ๆ เพื่อทำการประมวลผลข้อมูลให้ได้สารสนเทศที่ดี มีประโยชน์สามารถจัดเก็บและค้นคืนมาใช้งาน
ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ตลอดเวลา

4.1 ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริง เกี่ยวกับคน สัตว์ วัตถุ สิ่งของ หรือลักษณะต่าง ๆ ที่อาจอยู่ในรูปข้อความ ตัวเลข สัญลักษณ์ ภาพ และเสียง หรือผสมผสานกันไป เช่น ชื่อนักศึกษา จำนวนอาจารย์ อายุ เพศ คะแนน รายการสินค้า ฯลฯ
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข่าวสารที่ได้จากการนำข้อมูลมาคำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นจะอยู่ในรูปที่สามารถนำไป
ใช้งานได้ทันที (วาสนา สุขกระสานติ, 2541, หน้า 6-1)



ภาพที่ 4.1 แสดงกระบวนการได้มาของสารสนเทศ

4.2 กระบวนการผลิตสารสนเทศ
การผลิตสารสนเทศ มีวิธีการปฏิบัติ 9 วิธี ดังนี้ (สานิตย์ กายาผาด, 2542, หน้า 87)
4.2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Capturing) เป็นการดำเนินการเพื่อรวบรวม และบันทึกข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบเพื่อนำมาประมวลผล การเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานในด้านต่าง ๆ อาจเริ่มต้นด้วยการออกแบบสอบถามสำหรับนำไปสำรวจข้อมูล การทดสอบ และใช้แบบสำรวจ ซึ่งข้อมูลที่ได้ต้องมีคุณลักษณะที่สำคัญคือมีความถูกต้องและมีความเชื่อถือได้
4.2.2 การตรวจสอบข้อมูล (Verifying) เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วจะต้องตรวจสอบข้อมูลเพื่อตรวจทานหรือแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้อง ข้อมูลที่จัดเก็บต้องมีความถูกต้องน่าเชื่อถือ เพราะหากข้อมูลไม่น่าเชื่อถือสารสนเทศที่ได้ก็ไม่น่าเชื่อถือด้วย
4.2.3 การจำแนก (Classifying) เป็นการแบ่งแยกข้อมูลออกเป็นกลุ่ม หมวดหมู่
เรื่องไว้เพื่อให้การดำเนินการในขั้นตอนต่อไปจะได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น เช่น การนำข้อมูลเกี่ยวกับประวัตินักศึกษามาแยกตามคณะต่าง ๆ เป็นต้น
4.2.4 การจัดเรียงข้อมูล (Arranging) ภายหลังที่มีการจำแนกข้อมูล จะต้องมีการจัดโครงสร้างข้อมูลให้เป็นแฟ้ม เพื่อให้มีการจัดเรียงลำดับข้อมูลเพื่อสะดวกต่อการค้นหาหรืออ้างอิงในภายหลัง การจัดเรียงข้อมูลจึงเป็นวิธีการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศอีกวิธีหนึ่ง
4.2.5 การสรุป (Summarizing) เป็นการจัดรวบรวมข้อมูลเข้าด้วยกัน เพื่อเตรียมคำนวณหาค่าดัชนีหรือสารสนเทศในขั้นต่อไป
4.2.6 การคำนวณ (Calculating) เป็นขั้นตอนสำคัญในการจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยอาศัยกระบวนการทางคณิตศาสตรเช่น การหาค่าเฉลี่ย การหาผลรวม ของข้อมูลที่จัดเก็บ
ซึ่ง มีทั้งข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ข้อความและตัวเลข
4.2.7 การจัดเก็บ (Storing) ข้อมูลที่รวบรวมและมีการตรวจสอบความถูกต้องมาแล้ว เมื่อมีการคำนวณหรือประมวลผลให้เป็นสารสนเทศแล้ว จะต้องดำเนินการจัดเก็บเอาไว้เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในภายหลัง การจัดเก็บข้อมูลสมัยใหม่ เปลี่ยนข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถจัดเก็บได้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์เก็ต เป็นต้น
4.2.8 การเรียกใช้ (Retrieving) เป็นกระบวนการค้นหา และดึงข้อมูลที่ต้องการออกจากสื่อที่ใช้เก็บ เพื่อปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันหรือให้บริการแก่ผู้ใช้
4.2.9 การเผยแพร่ (Disseminating and Reproducing) เป็นการแจกจ่ายหรือเผยแพร่สารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม่ทำให้สามารถจัดส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็วให้กับผู้ใช้ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น รูปแบบเอกสาร รายงานหรือการเสนอบนจอภาพคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

4.3 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ข้อมูลที่จะนำมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศที่ดีนั้น จะต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานดังนี้ (ครรชิต มาลัยวงศ์, 2539, หน้า 122)
4.3.1 ความถูกต้อง ในการเก็บรวบรวมข้อมูลหากข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะทำให้เกิดผลเสียหายมาก ผู้ใช้จะไม่สามารถอ้างอิงนำไปใช้ประโยชน์ และอาจเป็นสาเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำและมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบจึงต้องคำนึงถึงวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ถูกต้องแม่นยำมากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของการประมวลผลส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องโดยมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร ดังนั้นการออกแบบระบบจึงต้องคำนึงถึงในเรื่องนี้ ให้มากที่สุด
4.3.2 ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้และมีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็ว สามารถให้สารสนเทศที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ ซึ่งมีการออกแบบระบบการเรียกค้นและรายงานตามความต้องการของผู้ใช้
4.3.3 ความสมบูรณ์ของสารสนเทศที่ได้นั้นขึ้นอยู่กับการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งเราต้องคำนึงถึงข้อมูลที่เก็บมาด้วยว่าจะต้องมีความสมบูรณ์มากพอที่จะให้ประโยชน์ อย่างครบถ้วนตามความต้องการผู้ใช้หรือไม่ เช่น การเก็บข้อมูลบุคลากร เราอาจให้ความสนใจกับเงินเดือน แต่ถ้าเราไม่เก็บข้อมูลตำแหน่งและระยะเวลาในการทำงาน ก็จะไม่สามารถบอกได้ว่าการปฏิบัติงานของบุคลากรแต่ละตำแหน่ง เป็นต้นมีความแตกต่างกันหรือไม่ ดังนั้นในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศ ต้องสำรวจและสอบถามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ มีความสมบูรณ์เหมาะสม
4.3.4 สอดคล้องกับเรื่องที่สนใจ ซึ่งทำให้ทราบถึงความต้องการข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญ ขณะเดียวกันข้อมูลภายในและภายนอก มีจำนวนมาก เราคงไม่สามารถให้ความสนใจหรือจัดเก็บได้หมด ดังนั้นจึงควรมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงาน หรือเลือกเก็บเฉพาะข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการของเราเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องพยายามเก็บข้อมูลให้ครบทุกเรื่องและทุกประเด็นเกินไปเพราะทำให้สิ้นเปลืองเวลาและค่าใช้จ่าย
4.3.5 ค้นคืนได้สะดวก การจัดเก็บข้อมูลต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมาก จึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัด สื่อความหมายได้ดี เพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ และมีการใช้รหัสเพื่อเรียกใช้ข้อมูลได้สะดวก สามารถค้นคืนข้อมูลได้ตลอดเวลา

4.4 วิธีการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะข้อมูลรอบ ๆ ตัวเรามีจำนวนมาก ก่อนนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศก่อนจึงจะนำไปใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งวิธีการประมวลผลข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 วิธี ดังนี้ (สานิตย์ กายาผาด, 2542, หน้า 94)
4.4.1 การประมวลผลออนไลน์ (Online Processing) เป็นเทคนิคการประมวลผลแบบสุ่ม จะประมวลผลตามเวลาที่เกิด การประมวลผลออนไลน์นี้จัดว่าเป็นการประมวลผลแบบ Real-Time Processing หมายความว่าจะทำการประมวลผลทันทีโดยไม่ต้องรอรวบรวมข้อมูล รายการจะถูกนำไปประมวลผลและได้ผลลัพธ์ทันที การประมวลผลแบบ Real-Time นี้ จะมีเทอร์มินัลต่อเข้ากับ CPU โดยตรง ข้อมูลจะมีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา ระบบลักษณะนี้เรียกว่า Online System เช่น การฝาก-ถอนเงินของธนาคารด้วย ATM
4.4.2 การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) คือ การประมวลผลโดยมีการรวบรวมข้อมูลไว้ช่วงเวลาหนึ่งก่อนทำการประมวลผล การประมวลผลจะทำตามช่วงเวลาที่กำหนดอาจทำทุกวันหรือทุกสิ้นเดือน ผู้ใช้ไม่สามารถเห็นผลลัพธ์ทันทีและไม่สามารถโต้ตอบกับระบบได้ แต่การประมวลผลแบบนี้จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการประมวลผลได้มากกว่าการประมวลผลแบบอื่น ข้อมูลจะเป็นแบบ Transaction file ระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการประมวลผลนี้เรียกว่า Off-line System เช่น ระบบคิดดอกเบี้ยของธนาคาร การคิดค่าน้ำ-ค่าไฟ เป็นต้น

4.5 รหัสแทนข้อมูล
ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศ โดยส่วนใหญ่จะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานทั้งนี้เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ ปกติการทำงานของ เครื่องคอมพิวเตอร์จะใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ โดยกำหนดตัวเลข 0 และ 1 เป็นสัญลักษณ์แทน สถานะปิดและเปิดสัญญาณ และมีการกำหนดรหัสแทนอักขระด้วยชุดของตัวเลขในระบบเลขฐานสอง (Binary Digit) ประกอบด้วยเลข 0 และ 1 โดยตัวเลขแต่ละหลักหรือแต่ละตัว ของระบบเลขฐานสองจะเรียกว่า บิต (bit)
เพื่อให้การ แทนอักขระต่าง ๆ ด้วยตัวเลขฐานสองได้ครบจึงมีการกำหนดให้ใช้ ตัวเลขฐานสอง 8 บิต เรียกว่า 1 ไบต์ (Byte) แทนตัวอักขระ 1 ตัว (Character) โดยข้อมูล 8 บิตสามารถสื่อความหมายข้อมูลแบบต่าง ๆ ได้ 28 หรือ 256 แบบ โดยระบบมาตรฐานที่ใช้ในการกำหนดข้อมูลมี 2 ระบบ คือ ระบบ EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) ใช้กับเครื่อง Mainframe ของ IBM และ ระบบ ASCII (American Standard Code for Information Interchange) ใช้กับเครื่อง Microcomputer, Mainframe, Minicomputer

natthaya.sru.ac.th/images/ch_04.doc


โดย: น.ส ผกาพรรณ หงษ์ทอง หมู่ 1 จันทร์-บ่าย IP: 124.157.146.209 วันที่: 3 สิงหาคม 2552 เวลา:15:29:05 น.  

 
การเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่ต้องผ่านเรคคอร์ดที่อยู่ก่อน การเข้าถึงเรคคอร์ดแบบสุ่มจะเร็วกว่าแบบโดยลำดับมาก เหมาะสมกับงานที่ต้องการความเร็วในการดึงข้อมูลมาก ๆ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมักเป็นดิสก์ หรือจานแม่เหล็ก

การเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลทีละเรคคอร์ดเรียงไปตามลำดับของการจัดเก็บ ถ้าจะดึงข้อมูลเรคคอร์ดที่ 10 มาใช้จะต้องอ่านข้อมูลผ่านเรคคอร์ดที่ 1 ถึง 9 ก่อนเสมอ เมื่อถึงเรคคอร์ดที่ 10 จึงจะสามารถดึงข้อมูลออกมาใช้ได้ สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้มักเป็น เทป (Tape)

ที่มา //office.microsoft.com/th-th/help/HA102064701054.aspx

ข้อ2 ตอบ วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: ธวัชชัย นิวาสธนชัย 52040001162 (พุธ เช้า) IP: 124.157.146.209 วันที่: 4 สิงหาคม 2552 เวลา:14:40:36 น.  

 
การเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่ต้องผ่านเรคคอร์ดที่อยู่ก่อน การเข้าถึงเรคคอร์ดแบบสุ่มจะเร็วกว่าแบบโดยลำดับมาก เหมาะสมกับงานที่ต้องการความเร็วในการดึงข้อมูลมาก ๆ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมักเป็นดิสก์ หรือจานแม่เหล็ก

การเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลทีละเรคคอร์ดเรียงไปตามลำดับของการจัดเก็บ ถ้าจะดึงข้อมูลเรคคอร์ดที่ 10 มาใช้จะต้องอ่านข้อมูลผ่านเรคคอร์ดที่ 1 ถึง 9 ก่อนเสมอ เมื่อถึงเรคคอร์ดที่ 10 จึงจะสามารถดึงข้อมูลออกมาใช้ได้ สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้มักเป็น เทป (Tape)

ที่มา //office.microsoft.com/th-th/help/HA102064701054.aspx

ข้อ2 ตอบ วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: เติมศักดิ์ พงษ์มา 52040001153 (พุธ เ้ช้า) IP: 124.157.146.209 วันที่: 4 สิงหาคม 2552 เวลา:14:42:22 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบวิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)
การเข้าถึงแบบลำดับเป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ หมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่มเป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท
การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 ดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลครวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม

ที่มา
//irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Database/database2.htm

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2.2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบไว้ก่อน

ที่มา : //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm
//www.ict.su.ac.th/th/ict-elearning/800110/week3/Week-03_Database_23-06-52.ppt#286,28,2. แบบสุ่ม (Direct/Random File Structure)


โดย: นาย สุระทิน ใจใส รหัส 52041151202 หมุ่15 ศุกร์เช้า IP: 202.29.5.62 วันที่: 4 สิงหาคม 2552 เวลา:18:59:37 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการเหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ

ที่มา: //www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ มี 2 วิธี
(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่อง
ปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผล การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม
การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง
(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม(batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหา คำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อ ให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา:
www.thaigoodview.com/library/teachershow/.../c2_7.htm



โดย: นางสาวสุภาพร รัตนา 50240210102 วท.บ.สาธารณสุขศาสตร์ (เรียน พฤ-ค่ำ เวลา 17.00-21.00 น. ) IP: 114.128.22.96 วันที่: 5 สิงหาคม 2552 เวลา:12:05:54 น.  

 
random access
การเข้าถึงโดยสุ่มการเข้าถึงข้อมูลที่บันทึกไว้โดยสุ่มหมายความว่าเข้าถึง
ได้ทุก ๆ จุดได้โดยทันทีทันใด เป็นต้นว่า
การเข้าถึงข้อมูลที่เก็บในจานบันทึก
ซึ่งจะใช้เวลาเท่ากันหมดไม่ว่าเก็บไว้ที่จุดไหน
ต่างกับการเข้าถึงข้อมูลที่เก็บไว้ในแถบบันทึกหรือเทป
ถ้าข้อมูลที่ต้องการอยู่ตอนปลาย
ก็จะต้องรอให้เทปเดินหน้าไปจนถึงจุดนั้นเสียก่อน
การเข้าถึงข้อมูลโดยวิธีนี้ จะมีหัวอ่าน/บันทึก (read head)
ต่อกับก้านโลหะที่เคลื่อนเข้า/ออกได้ เหนือจานที่หมุนรอบแกนอีกทีหนึ่ง
เปรียบเทียบ) ถ้าเปรียบกับการฟังเพลงจากจานเสียงและเทป
จะทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น กล่าวคือ ถ้าเป็นเทปหรือแถบบันทึก
หากจะฟังเพลงที่อยู่ในลำดับท้าย ๆ
ก็จะต้องรอให้เทปหมุนผ่านเพลงในลำดับแรก ๆ ไปก่อน แต่ถ้าเป็นจานเสียง
เราต้องการฟังเพลงใด ก็สั่งได้ทันทีดู sequential access เปรียบเทียบ

random access storage
หน่วยเก็บเข้าถึงโดยสุ่มเป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได
้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่มหมายถึง
การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด
ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป)
หน่วยเก็บในที่นี้หมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์
วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ
ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด นอกจากนั้นยังหมายถึงจานบันทึก
ซึ่งใช้เวลาในการเข้าถึงข้อมูลเท่ากันหมดเช่นกัน


[th/245469/hope/dictionary/m5r9-66ce0842f]


(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง
(online processing)

หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่อง
ปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผล
การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น
การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม
การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม
(batch processing)

หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบ
ข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน
หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อ
เก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล
นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหา
คำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อ
ให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/2/c2_7.htm#


โดย: นายนารายณ์ แก้วภักดี ม. 15 ศ.เช้า IP: 124.157.129.16 วันที่: 10 สิงหาคม 2552 เวลา:17:24:00 น.  

 
ตรวจแล้ว (ครั้งที่ 1)


โดย: อ.น้ำผึ้ง (neaup ) วันที่: 11 สิงหาคม 2552 เวลา:11:30:14 น.  

 

2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล
ที่มาwww.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm
2.2)วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
ที่มา:www.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: 52040263105 ชื่อ.น.ส.อรวรรณ ไชยยงค์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หมู่22 (อังคารเช้า) IP: 124.157.149.216 วันที่: 12 สิงหาคม 2552 เวลา:13:33:26 น.  

 
1.

แฟ้มลำดับ (sequential) ลำดับ เทปแม่เหล็กจานแม่เหล็ก ประหยัด ใช้ได้ดีกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก หรือทั้งแฟ้ม การจะเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงใช้เวลามาก

แฟ้มสุ่ม(direct หรือ hash) สุ่ม จานแม่เหล็ก การเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงเร็วมาก ไม่เหมาะกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก และไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับได้ สิ้นเปลือง

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html

2.
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือ หมายถึงการใช้แรงงานคนเป็นหลักในการประมวลผล โดยมีอุปกรณ์ต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการประมวลผล เช่น ดินสอ ปากกา ไม้บรรทัด กระดาษ ลูกคิด เครื่องคิดเลข วิธีการประมวลผลด้วยมือเหมาะกับงานที่มีปริมาณไม่มากนัก และอยู่ในภาวะที่แรงงานยังมีการจ้างงานที่ไม่สูงนัก

2. การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล(Manual With Machine Assistance Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล หรือการประมวลผลด้วยเครื่องจักรกล ซึ่งการประมวลผลแบบนี้จะเหมาะกับงานระดับกลางที่มีปริมาณไม่มากนัก และต้องการความเร็วในการทำงานในระดับพอสมควร การทำงานจะอาศัยแรงงานคน ร่วมกับเครื่องจักรกล เครื่องที่ใช้กันมาก คือ เครื่องทำบัญชี หรือเครื่องประมวลผลกึ่งอิเล็กทรอนิกส์ (Semi-electronic Data Processing)

3. การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing)
การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ หรือการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เรียกย่อๆ ว่า EDP คือ การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งงานที่เหมาะสมกับการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์คือ งานที่มีลักษณะดังนี้

งานที่มีปริมาณมากๆ
ต้องการความเร็วในการประมวลผล
ต้องการความละเอียดและความถูกต้องของงานสูง
งานที่มีขั้นตอนยุ่งยาก ซับซ้อน หรือมีลักษณะที่ทำงานแบบเดิมซ้ำกันหลายๆ รอบ
มีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน

เช่น ระบบงานทะเบียนและวัดผล, ระบบงานการจองตั๋วเครื่องบิน หรือระบบงานด้านการเงินและการธนาคาร เป็นต้น
ขั้นตอนการประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์

การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ
1. การเตรียมข้อมูลเข้า (Input Data)
คือการเก็บรวบรวมข้อมูลให้พร้อมที่จะทำการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผล ซึ่งประกอบไปด้วย
1.1 การลงรหัส (Coding) คือการใช้รหัสแทนข้อมูล ซึ่งทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปที่กระทัดรัดเพื่อสะดวกแก่การประมวลผล รหัสที่ใช้อาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลขก็ได้
1.2 การแก้ไข (Editing) คือการตรวจสอบข้อมูล ให้มีความถูกต้อง และเป็นไปได้ (เช่น ข้อมูลอายุ ควรจะอยู่ระหว่าง 0 - 100 ปี เป็นต้น) ก่อนนำไปใช้งาน โดยมีการปรับปรุงแก้ไขเท่าที่จำเป็น
1.3 การแยกประเภท (Classifying) คือ การจัดประเภทของข้อมูล หรือจำแนกข้อมูลออกเป็นกลุ่มเพื่อสะดวกแก่การนำไปประมวลผล เช่น ร้านค้าย่อย อาจจะจำแนกเป็น ชนิดของสินค้า แผนกที่ขาย ผู้ขาย หรือจำแนกหมวดอื่นๆ ตามที่ผู้จัดร้านเห็นว่ามีประโยชน์ต่อการดำเนินงาน
1.4 การแปรสภาพข้อมูล (Transforming) คือ การเปลี่ยนสื่อ หรือตัวกลางที่ใช้บันทึกข้อมูลเพื่อให้อยู่ในรูปที่สามารถนำไปประมวลผลต่อไปได้ เช่น การเจาะข้อมูลลงบนบัตร เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถรับไปประมวลผลได้

2. การประมวลผล (Processing)
ได้แก่ วิธีการจัดการกับข้อมูล ซึ่งอาจเป็นการบวก ลบ คูณ หาร หรือการคำนวณ และเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ ที่กำหนดไว้

3. การนำเสนอข้อมูล (Output)
คือ การเอาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงให้ผู้อื่นทราบ อาจจะแสดงไว้ในรูปรายงาน ตาราง หรือแบบใดก็ได้ที่สามารถนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
3.1 การสรุปผล (Summarizing) คือการนำเอาข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่มากลั่นกรอง และย่อลงให้เหลือเฉพาะส่วนที่จำเป็น เพื่อที่จะนำไปปฏิบัติให้คล่องตัว และใช้ประกอบการตัดสินใจ
3.2 การเก็บข้อมูล (Storing) เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ได้อีกในอนาคตจึงจำเป็นต้องมีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ ในระบบคอมพิวเตอร์มักจะบันทึกลงเทปแม่เหล็กหรือจานแม่เหล็ก
3.3 การค้นหาและการเรียกใช้ข้อมูล (Searching and Retrieving) คือ การค้นหาข้อมูลในแฟ้มข้อมูล และเรียกข้อมูลนั้นกลับมาใช้งาน (เช่นนำข้อมูลกลับมาแก้ไข ปรับปรุง)
3.4 การทำสำเนาข้อมูล (Reproduction) ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลดิบที่ได้มาใหม่ หรือข้อมูลจากการประมวลผล ในบางครั้งต้องการข้อมูลหลายชุด จึงจำเป็นต้องมีการสำเนาข้อมูลออกมาใช้หลายๆ ชุด

ระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer processing)
สามารถแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้
1. การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing system)
หมายถึงการประมวลผลข้อมูลที่ต้องมีการรวบรวมข้อมูลให้มากพอควร โดยใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งในการเก็บรวบรวม เมื่อมีการสะสมข้อมูลครบเวลาที่กำหนด จึงนำไปประมวลผล ระบบเครื่องที่ประมวลผลแบบนี้เรียกว่าระบบออฟไลน์ (Off-line system)

2. การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive processing system)
เป็นวิธีการประมวลผลที่รับข้อมูลที่เกิดขึ้นเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง และเครื่องสามารถที่จะโต้ตอบข้อมูลที่รับเข้ามาทันที (ข้อมูลที่เข้าไปแต่ละรายการจะถูกประมวลผลทันที) เช่น ระบบการฝากถอนเงินโดยเครื่อง ATM เป็นต้น การทำงานในระบบนี้เรียกอีกอย่างว่าระบบออนไลน์ (On-line system) ซึ่งระบบ On-line นี้ยังมีประเภทย่อยๆ อีก 2 ประเภท คือ
2.1 ระบบการประมวลผลโดยใช้เวลาจริง (Real-time processing) เป็นระบบที่ต้องการความรวดเร็วในการตอบสนองข้อมูลสูงมาก (ข้อมูลที่ตอบสนองมาต้องถูกต้อง แน่นอน แม่นยำ ทันต่อเวลา)
2.2 ระบบการประมวลผลแบบเวลา (Timesharing processing) เป็นระบบที่ให้ผู้ใช้หลายๆ คนสามารถทำงานพร้อมๆ กันได้ โดยการแบ่งเวลาหน่วยประมวลผลกันใช้งาน โดยการผ่านเครื่องเทอร์มินัล ซึ่งเป็นสถานีที่ใช้ในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ และสามารถจัดสรรหน่วยความจำของระบบให้ผู้ใช้ได้ตามความต้องการของงาน

3. การประมวลผลโดยใช้ตัวประมวลผลมากกว่า 1 ชุด (Multiprocessing system)
หมายถึงการประมวลผลโดนอาศัยหน่วยประมวลผลกลางมากกว่า 1 ชุด โดยกำหนดให้ทำงานในเวลาพร้อมๆ กัน (อาจจะเสริมการทำงาน หรือ สำรองการทำงานซึ่งกันและกัน) นิยมใช้กับงานที่จำเป็นต้องมีการประมวลผล อยู่ตลอดเวลา

4. การประมวลผลแบบหลายโปรแกรม (Multiprogramming system)
ระบบ Multiprogramming system หรือ Multi tasking system หมายถึงระบบการประมวลผลที่ในขณะเวลาใดเวลาหนึ่งสามารถมีโปรแกรม อยู่ในระบบการประมวลผลมากกว่า 1 โปรแกรมได้ กล่าวคือ ในขณะที่โปรแกรมหนึ่งกำลังทำงานอยู่ ผู้ใช้สามารถที่จะเรียกโปรแกรมอื่น มาทำงานซ้อนได้ และสามารถที่จะสลับกันทำงานระหว่างโปรแกรมที่เปิดใช้งานอยู่ได้

ที่มา

//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data3.html








โดย: นางสาวชลดา บุญรุ่ง (หมู่8 พฤหัส เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 15 สิงหาคม 2552 เวลา:13:44:42 น.  

 
1.

แฟ้มลำดับ (sequential) ลำดับ เทปแม่เหล็กจานแม่เหล็ก ประหยัด ใช้ได้ดีกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก หรือทั้งแฟ้ม การจะเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงใช้เวลามาก

แฟ้มสุ่ม(direct หรือ hash) สุ่ม จานแม่เหล็ก การเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงเร็วมาก ไม่เหมาะกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก และไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับได้ สิ้นเปลือง

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html

2.
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือ หมายถึงการใช้แรงงานคนเป็นหลักในการประมวลผล โดยมีอุปกรณ์ต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการประมวลผล เช่น ดินสอ ปากกา ไม้บรรทัด กระดาษ ลูกคิด เครื่องคิดเลข วิธีการประมวลผลด้วยมือเหมาะกับงานที่มีปริมาณไม่มากนัก และอยู่ในภาวะที่แรงงานยังมีการจ้างงานที่ไม่สูงนัก

2. การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล(Manual With Machine Assistance Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล หรือการประมวลผลด้วยเครื่องจักรกล ซึ่งการประมวลผลแบบนี้จะเหมาะกับงานระดับกลางที่มีปริมาณไม่มากนัก และต้องการความเร็วในการทำงานในระดับพอสมควร การทำงานจะอาศัยแรงงานคน ร่วมกับเครื่องจักรกล เครื่องที่ใช้กันมาก คือ เครื่องทำบัญชี หรือเครื่องประมวลผลกึ่งอิเล็กทรอนิกส์ (Semi-electronic Data Processing)

3. การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing)
การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ หรือการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เรียกย่อๆ ว่า EDP คือ การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งงานที่เหมาะสมกับการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์คือ งานที่มีลักษณะดังนี้

งานที่มีปริมาณมากๆ
ต้องการความเร็วในการประมวลผล
ต้องการความละเอียดและความถูกต้องของงานสูง
งานที่มีขั้นตอนยุ่งยาก ซับซ้อน หรือมีลักษณะที่ทำงานแบบเดิมซ้ำกันหลายๆ รอบ
มีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน

เช่น ระบบงานทะเบียนและวัดผล, ระบบงานการจองตั๋วเครื่องบิน หรือระบบงานด้านการเงินและการธนาคาร เป็นต้น
ขั้นตอนการประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์

การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ
1. การเตรียมข้อมูลเข้า (Input Data)
คือการเก็บรวบรวมข้อมูลให้พร้อมที่จะทำการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผล ซึ่งประกอบไปด้วย
1.1 การลงรหัส (Coding) คือการใช้รหัสแทนข้อมูล ซึ่งทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปที่กระทัดรัดเพื่อสะดวกแก่การประมวลผล รหัสที่ใช้อาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลขก็ได้
1.2 การแก้ไข (Editing) คือการตรวจสอบข้อมูล ให้มีความถูกต้อง และเป็นไปได้ (เช่น ข้อมูลอายุ ควรจะอยู่ระหว่าง 0 - 100 ปี เป็นต้น) ก่อนนำไปใช้งาน โดยมีการปรับปรุงแก้ไขเท่าที่จำเป็น
1.3 การแยกประเภท (Classifying) คือ การจัดประเภทของข้อมูล หรือจำแนกข้อมูลออกเป็นกลุ่มเพื่อสะดวกแก่การนำไปประมวลผล เช่น ร้านค้าย่อย อาจจะจำแนกเป็น ชนิดของสินค้า แผนกที่ขาย ผู้ขาย หรือจำแนกหมวดอื่นๆ ตามที่ผู้จัดร้านเห็นว่ามีประโยชน์ต่อการดำเนินงาน
1.4 การแปรสภาพข้อมูล (Transforming) คือ การเปลี่ยนสื่อ หรือตัวกลางที่ใช้บันทึกข้อมูลเพื่อให้อยู่ในรูปที่สามารถนำไปประมวลผลต่อไปได้ เช่น การเจาะข้อมูลลงบนบัตร เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถรับไปประมวลผลได้

2. การประมวลผล (Processing)
ได้แก่ วิธีการจัดการกับข้อมูล ซึ่งอาจเป็นการบวก ลบ คูณ หาร หรือการคำนวณ และเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ ที่กำหนดไว้

3. การนำเสนอข้อมูล (Output)
คือ การเอาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงให้ผู้อื่นทราบ อาจจะแสดงไว้ในรูปรายงาน ตาราง หรือแบบใดก็ได้ที่สามารถนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
3.1 การสรุปผล (Summarizing) คือการนำเอาข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่มากลั่นกรอง และย่อลงให้เหลือเฉพาะส่วนที่จำเป็น เพื่อที่จะนำไปปฏิบัติให้คล่องตัว และใช้ประกอบการตัดสินใจ
3.2 การเก็บข้อมูล (Storing) เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ได้อีกในอนาคตจึงจำเป็นต้องมีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ ในระบบคอมพิวเตอร์มักจะบันทึกลงเทปแม่เหล็กหรือจานแม่เหล็ก
3.3 การค้นหาและการเรียกใช้ข้อมูล (Searching and Retrieving) คือ การค้นหาข้อมูลในแฟ้มข้อมูล และเรียกข้อมูลนั้นกลับมาใช้งาน (เช่นนำข้อมูลกลับมาแก้ไข ปรับปรุง)
3.4 การทำสำเนาข้อมูล (Reproduction) ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลดิบที่ได้มาใหม่ หรือข้อมูลจากการประมวลผล ในบางครั้งต้องการข้อมูลหลายชุด จึงจำเป็นต้องมีการสำเนาข้อมูลออกมาใช้หลายๆ ชุด

ระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer processing)
สามารถแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้
1. การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing system)
หมายถึงการประมวลผลข้อมูลที่ต้องมีการรวบรวมข้อมูลให้มากพอควร โดยใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งในการเก็บรวบรวม เมื่อมีการสะสมข้อมูลครบเวลาที่กำหนด จึงนำไปประมวลผล ระบบเครื่องที่ประมวลผลแบบนี้เรียกว่าระบบออฟไลน์ (Off-line system)

2. การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive processing system)
เป็นวิธีการประมวลผลที่รับข้อมูลที่เกิดขึ้นเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง และเครื่องสามารถที่จะโต้ตอบข้อมูลที่รับเข้ามาทันที (ข้อมูลที่เข้าไปแต่ละรายการจะถูกประมวลผลทันที) เช่น ระบบการฝากถอนเงินโดยเครื่อง ATM เป็นต้น การทำงานในระบบนี้เรียกอีกอย่างว่าระบบออนไลน์ (On-line system) ซึ่งระบบ On-line นี้ยังมีประเภทย่อยๆ อีก 2 ประเภท คือ
2.1 ระบบการประมวลผลโดยใช้เวลาจริง (Real-time processing) เป็นระบบที่ต้องการความรวดเร็วในการตอบสนองข้อมูลสูงมาก (ข้อมูลที่ตอบสนองมาต้องถูกต้อง แน่นอน แม่นยำ ทันต่อเวลา)
2.2 ระบบการประมวลผลแบบเวลา (Timesharing processing) เป็นระบบที่ให้ผู้ใช้หลายๆ คนสามารถทำงานพร้อมๆ กันได้ โดยการแบ่งเวลาหน่วยประมวลผลกันใช้งาน โดยการผ่านเครื่องเทอร์มินัล ซึ่งเป็นสถานีที่ใช้ในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ และสามารถจัดสรรหน่วยความจำของระบบให้ผู้ใช้ได้ตามความต้องการของงาน

3. การประมวลผลโดยใช้ตัวประมวลผลมากกว่า 1 ชุด (Multiprocessing system)
หมายถึงการประมวลผลโดนอาศัยหน่วยประมวลผลกลางมากกว่า 1 ชุด โดยกำหนดให้ทำงานในเวลาพร้อมๆ กัน (อาจจะเสริมการทำงาน หรือ สำรองการทำงานซึ่งกันและกัน) นิยมใช้กับงานที่จำเป็นต้องมีการประมวลผล อยู่ตลอดเวลา

4. การประมวลผลแบบหลายโปรแกรม (Multiprogramming system)
ระบบ Multiprogramming system หรือ Multi tasking system หมายถึงระบบการประมวลผลที่ในขณะเวลาใดเวลาหนึ่งสามารถมีโปรแกรม อยู่ในระบบการประมวลผลมากกว่า 1 โปรแกรมได้ กล่าวคือ ในขณะที่โปรแกรมหนึ่งกำลังทำงานอยู่ ผู้ใช้สามารถที่จะเรียกโปรแกรมอื่น มาทำงานซ้อนได้ และสามารถที่จะสลับกันทำงานระหว่างโปรแกรมที่เปิดใช้งานอยู่ได้

ที่มา

//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data3.html








โดย: นางสาวชลดา บุญรุ่ง (หมู่8 พฤหัส เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 15 สิงหาคม 2552 เวลา:13:47:00 น.  

 
2.1การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Accessความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป
ที่มา//it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#top
การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม

ที่มา//it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#top
2.2การประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา//www.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm
โดยน.สอภิญญา อุ้ยปะโค 52041278104 ม.15 ศ.เช้า


โดย: อภิญญา อุ้ยปะโค IP: 117.47.128.146 วันที่: 15 สิงหาคม 2552 เวลา:15:04:45 น.  

 
1.ตอบ

แฟ้มลำดับ (sequential) ลำดับ เทปแม่เหล็กจานแม่เหล็ก ประหยัด ใช้ได้ดีกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก หรือทั้งแฟ้ม การจะเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงใช้เวลามาก

แฟ้มสุ่ม(direct หรือ hash) สุ่ม จานแม่เหล็ก การเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงเร็วมาก ไม่เหมาะกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก และไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับได้ สิ้นเปลือง

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html



2. การประมวลผลข้อมูลแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ คือ
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือ หมายถึงการใช้แรงงานคนเป็นหลักในการประมวลผล โดยมีอุปกรณ์ต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการประมวลผล เช่น ดินสอ ปากกา ไม้บรรทัด กระดาษ ลูกคิด เครื่องคิดเลข วิธีการประมวลผลด้วยมือเหมาะกับงานที่มีปริมาณไม่มากนัก และอยู่ในภาวะที่แรงงานยังมีการจ้างงานที่ไม่สูงนัก

2. การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล(Manual With Machine Assistance Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล หรือการประมวลผลด้วยเครื่องจักรกล ซึ่งการประมวลผลแบบนี้จะเหมาะกับงานระดับกลางที่มีปริมาณไม่มากนัก และต้องการความเร็วในการทำงานในระดับพอสมควร การทำงานจะอาศัยแรงงานคน ร่วมกับเครื่องจักรกล เครื่องที่ใช้กันมาก คือ เครื่องทำบัญชี หรือเครื่องประมวลผลกึ่งอิเล็กทรอนิกส์ (Semi-electronic Data Processing)

3. การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing)
การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ หรือการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เรียกย่อๆ ว่า EDP คือ การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งงานที่เหมาะสมกับการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์คือ งานที่มีลักษณะดังนี้

งานที่มีปริมาณมากๆ
ต้องการความเร็วในการประมวลผล
ต้องการความละเอียดและความถูกต้องของงานสูง
งานที่มีขั้นตอนยุ่งยาก ซับซ้อน หรือมีลักษณะที่ทำงานแบบเดิมซ้ำกันหลายๆ รอบ
มีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน

เช่น ระบบงานทะเบียนและวัดผล, ระบบงานการจองตั๋วเครื่องบิน หรือระบบงานด้านการเงินและการธนาคาร เป็นต้น
ขั้นตอนการประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์

การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ
1. การเตรียมข้อมูลเข้า (Input Data)
คือการเก็บรวบรวมข้อมูลให้พร้อมที่จะทำการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผล ซึ่งประกอบไปด้วย
1.1 การลงรหัส (Coding) คือการใช้รหัสแทนข้อมูล ซึ่งทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปที่กระทัดรัดเพื่อสะดวกแก่การประมวลผล รหัสที่ใช้อาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลขก็ได้
1.2 การแก้ไข (Editing) คือการตรวจสอบข้อมูล ให้มีความถูกต้อง และเป็นไปได้ (เช่น ข้อมูลอายุ ควรจะอยู่ระหว่าง 0 - 100 ปี เป็นต้น) ก่อนนำไปใช้งาน โดยมีการปรับปรุงแก้ไขเท่าที่จำเป็น
1.3 การแยกประเภท (Classifying) คือ การจัดประเภทของข้อมูล หรือจำแนกข้อมูลออกเป็นกลุ่มเพื่อสะดวกแก่การนำไปประมวลผล เช่น ร้านค้าย่อย อาจจะจำแนกเป็น ชนิดของสินค้า แผนกที่ขาย ผู้ขาย หรือจำแนกหมวดอื่นๆ ตามที่ผู้จัดร้านเห็นว่ามีประโยชน์ต่อการดำเนินงาน
1.4 การแปรสภาพข้อมูล (Transforming) คือ การเปลี่ยนสื่อ หรือตัวกลางที่ใช้บันทึกข้อมูลเพื่อให้อยู่ในรูปที่สามารถนำไปประมวลผลต่อไปได้ เช่น การเจาะข้อมูลลงบนบัตร เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถรับไปประมวลผลได้

2. ตอบ
การประมวลผล (Processing)
ได้แก่ วิธีการจัดการกับข้อมูล ซึ่งอาจเป็นการบวก ลบ คูณ หาร หรือการคำนวณ และเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ ที่กำหนดไว้

3. การนำเสนอข้อมูล (Output)
คือ การเอาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงให้ผู้อื่นทราบ อาจจะแสดงไว้ในรูปรายงาน ตาราง หรือแบบใดก็ได้ที่สามารถนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
3.1 การสรุปผล (Summarizing) คือการนำเอาข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่มากลั่นกรอง และย่อลงให้เหลือเฉพาะส่วนที่จำเป็น เพื่อที่จะนำไปปฏิบัติให้คล่องตัว และใช้ประกอบการตัดสินใจ
3.2 การเก็บข้อมูล (Storing) เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ได้อีกในอนาคตจึงจำเป็นต้องมีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ ในระบบคอมพิวเตอร์มักจะบันทึกลงเทปแม่เหล็กหรือจานแม่เหล็ก
3.3 การค้นหาและการเรียกใช้ข้อมูล (Searching and Retrieving) คือ การค้นหาข้อมูลในแฟ้มข้อมูล และเรียกข้อมูลนั้นกลับมาใช้งาน (เช่นนำข้อมูลกลับมาแก้ไข ปรับปรุง)
3.4 การทำสำเนาข้อมูล (Reproduction) ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลดิบที่ได้มาใหม่ หรือข้อมูลจากการประมวลผล ในบางครั้งต้องการข้อมูลหลายชุด จึงจำเป็นต้องมีการสำเนาข้อมูลออกมาใช้หลายๆ ชุด


--------------------------------------------------------------------------------

ระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer processing)
สามารถแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้
1. การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing system)
หมายถึงการประมวลผลข้อมูลที่ต้องมีการรวบรวมข้อมูลให้มากพอควร โดยใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งในการเก็บรวบรวม เมื่อมีการสะสมข้อมูลครบเวลาที่กำหนด จึงนำไปประมวลผล ระบบเครื่องที่ประมวลผลแบบนี้เรียกว่าระบบออฟไลน์ (Off-line system)

2. การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive processing system)
เป็นวิธีการประมวลผลที่รับข้อมูลที่เกิดขึ้นเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง และเครื่องสามารถที่จะโต้ตอบข้อมูลที่รับเข้ามาทันที (ข้อมูลที่เข้าไปแต่ละรายการจะถูกประมวลผลทันที) เช่น ระบบการฝากถอนเงินโดยเครื่อง ATM เป็นต้น การทำงานในระบบนี้เรียกอีกอย่างว่าระบบออนไลน์ (On-line system) ซึ่งระบบ On-line นี้ยังมีประเภทย่อยๆ อีก 2 ประเภท คือ
2.1 ระบบการประมวลผลโดยใช้เวลาจริง (Real-time processing) เป็นระบบที่ต้องการความรวดเร็วในการตอบสนองข้อมูลสูงมาก (ข้อมูลที่ตอบสนองมาต้องถูกต้อง แน่นอน แม่นยำ ทันต่อเวลา)
2.2 ระบบการประมวลผลแบบเวลา (Timesharing processing) เป็นระบบที่ให้ผู้ใช้หลายๆ คนสามารถทำงานพร้อมๆ กันได้ โดยการแบ่งเวลาหน่วยประมวลผลกันใช้งาน โดยการผ่านเครื่องเทอร์มินัล ซึ่งเป็นสถานีที่ใช้ในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ และสามารถจัดสรรหน่วยความจำของระบบให้ผู้ใช้ได้ตามความต้องการของงาน

3. การประมวลผลโดยใช้ตัวประมวลผลมากกว่า 1 ชุด (Multiprocessing system)
หมายถึงการประมวลผลโดนอาศัยหน่วยประมวลผลกลางมากกว่า 1 ชุด โดยกำหนดให้ทำงานในเวลาพร้อมๆ กัน (อาจจะเสริมการทำงาน หรือ สำรองการทำงานซึ่งกันและกัน) นิยมใช้กับงานที่จำเป็นต้องมีการประมวลผล อยู่ตลอดเวลา

4. การประมวลผลแบบหลายโปรแกรม (Multiprogramming system)
ระบบ Multiprogramming system หรือ Multi tasking system หมายถึงระบบการประมวลผลที่ในขณะเวลาใดเวลาหนึ่งสามารถมีโปรแกรม อยู่ในระบบการประมวลผลมากกว่า 1 โปรแกรมได้ กล่าวคือ ในขณะที่โปรแกรมหนึ่งกำลังทำงานอยู่ ผู้ใช้สามารถที่จะเรียกโปรแกรมอื่น มาทำงานซ้อนได้ และสามารถที่จะสลับกันทำงานระหว่างโปรแกรมที่เปิดใช้งานอยู่ได้




ที่มา

//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data3.html


โดย: นางสาวคนึงนิจ ผิวบาง หมู่22 IP: 124.157.148.178 วันที่: 17 สิงหาคม 2552 เวลา:19:27:13 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

1.การค้นหาข้อมูลแบบสุมหรือโดยตรง (Random / Direct Access File)
การค้นหาข้อมูลประเภทนี้ เป็นการค้นหาแบบข้อมูลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล หรืออ่านข้อมูลจากต้นแฟ้มข้อมูลนั้น ๆ การค้นหาแบบสุ่มหรือโดยตรงนี้ จะมี คีย์หลัก เป็นตัวกำหนดตำแหน่งข้อมูล ในระเบียน เป็นวิธีการที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการทำงานเพราะตำแหน่งของระเบียนจะมีเท่ากับขนาดของ คีย์ เช่น ระเบียนลำดับที่ของ นักเรียน เป็นคีย์หลัก มีความกว้างเท่ากับ 2 จะมี คีย์หลัก อยู่ในช่วย 1-99 และในลักษณะ เดียวกันจะมีตำแหน่งข้อมูล
คำอธิบาย

ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลของนักศึกษาคนที่ 5 โดยมีลำดับที่เป้นคีย์หลัก คือ 5 การเข้าถึงข้อมูลจะเข้าถึง ข้อมูลที่เก็บใน ตำแหน่งที่ 5 ทันทีจึงเป็นวิธีที่เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วที่สุด แต่การทำงานของการแปลงส่งโดยตรงนี้ มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กับ คีย์หลักที่เป็นอักษรได้และไม่เหมาะกับแฟ้มข้อมูลที่มี Field จำนวนมาก เพราะต้องใช้ เนื้อที่จองตำแหน่ง มาก เช่น คีย์หลักเป็นรหัสพนักงาน มีความกว้าง 10 ฉะนั้น ตำแนห่งของข้อมูลที่เป็นไปได้อยู่ ในช่วง 1-9999999999 จะทำให้สิ้นเปลืองเนื้อที่

2.การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search หรือ Linear Search)

การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายและใช้ได้กับตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ หรือไม่เรียงตามลำดับก็ได้การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
ข้อดี

1. ง่ายต่อการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการจัดเก็บข้อมูล
2. ใช้กับสื่อข้อมูลได้ทุกประเภท จึงสามารถเลือกเก็บในสื่อข้อมูลราคาถูก
3. สามารถใช้กับงานที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมาก
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงได้
2. การประมวลผลข้า เพราะเสียเวลาในการอ่าน Record ที่ไม่ต้องการประมวลผล

//members.fortunecity.com/one2many/dstruct/ff7.html

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

//new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm





โดย: นางสาว นงนุช นาเจริญ 52040258129 หมู่22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.182, 58.147.7.66 วันที่: 20 สิงหาคม 2552 เวลา:19:22:57 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม
ที่มา//www.pck1.go.th/krusuriya/ebook3/page/glossary.htm#7

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

1.การประมวลผลข้อมูล
2.การประมวลผลความรอบรู้
3.การประมวลผลแบบกลุ่ม
4.การประมวลแบบเชื่อมตรง
5.การประมวลผลแบบรวมศูนย์
เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการประมวลผลย่อยหลายกระบวนการประกอบกัน ตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ การทำรายงาน การจัดเก็บ การทำสำเนา รวมถึงการแจกจ่ายและการสื่อสารข้อมูล
ที่มา//www.pck1.go.th/krusuriya/ebook3/page/glossary.htm#8



โดย: นางสาว นฤมล หมู่หาญ 52040263122 หมู่22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.182, 58.147.7.66 วันที่: 20 สิงหาคม 2552 เวลา:19:33:59 น.  

 
ข้อที่ 1

วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าในระบบคอมพิวเตอร์มักมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ก็สามารถที่จะทำงานได้แล้วโดยที่หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่ต่างๆ คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม และหน่วยความจำ โดยหน่วยรับข้อมูลจะรับข้อมูล จาก ผู้ ใช้แล้วนำมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำ เพื่อให้หน่วยคำนวนและตรรกะ ทำการประมวลผลข้อมูลนั้นและเมื่อได้ รับผลลัพธ์ก็สงไปแสดงผลที่หน่วยแสดงผล หรือนำไปเก็บที่หน่วยความจำหลัก ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของหน่วยควบคุม แต่เหนื่องจากหน่วยความจำภายในไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ในกรณีที่ข้อมูล ที่ใช้มีจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีการขยายหน่วยความจำ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในระหว่างที่มีการคำนวณอยู่ ซึ่งเรียก ว่าหน่วยความจำหลักทำให้สามารถขยายขอบเขตการทำงานของคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีขั้นตตอน การทำงาน เช่นเดิม แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีหน่วยความจำหลักช่วยในการทำงาน แต่ในบางครั้งงาน ที่ทำอาจ จะ มีขนาดของข้อมูลที่โตกว่าจะเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ทั้งหมด อีกทั้งข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักของ เครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเก็บไว้ได้เป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการทำงานเท่านั้นเมื่อเลิกทำงานข้อมูล ดังกล่าว ก็จะสูญหายไปด้วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ทุกๆครั้งที่ทำงานเกี่ยวกับข้อมูล ดังกล่าวจะต้องมีการใส่ข้อมูลเข้าไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการ เสียเวลาเป็นอย่างมาก หน่วยความจำสำรองจึงเกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่เก็บ ข้อมูลไว้อย่าง ถาวร ตราบเท่า ที่ต้องการ และสามารถที่จะเก็บข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้มาก ซึ่งทำให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้ โดยการนำเอา เฉพาะข้อมูลส่วน ที่ต้องการใช้งานในขณะนั้นเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ส่วนข้อมูลที่ยังไม่ได ้ใช้งาน ในขณะนั้นก็ยังคงเก็บ ไว้ที่หน่วยความจำสำรองเช่นเดิม และหากว่าต้องการ ประมวลผลข้อมูลชุดใหม่ ก็สามารถกระทำ ได้โดยเอาข้อมูงชุดใหม่เข้าไปในหน่วยความจำแทนข้อมูลชุดเดิม ด้วยวิธีการเช่นนี้จะเห็นว่าแม้ว่า ข้อมูลจะมีจำนวน มากเกินกว่าขนาดของหน่วยความจำหลักเท่าใดก็ตาม เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน กับข้อมูลชุดนั้นได ้ เสมอและนอกจากนี้การที่มีการเก็บข้อมูลไว้ใวส่วนหน่วยความจำสำรอง จะทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมมากขึ้น กล่าวคือ นอกจากจะใช้ข้อมูลเพื่อทำงานอย่างหนึ่งได้แล้วเราสามารถใช้ข้อมูลชุดเดียวกันนี้ไปใช้เพื่อทำงานอื่นๆๆได้อีก โดยใช้ร่วมกับอีกโปรแกรมหนึ่งหรือให้โปรแกรมอื่นมาอ่านข้อมูลไปใช้งาน หากข้อมูลชุดนี้มีข้อสนเทศภายใน ที่ต้องการกล่าวโดยสรุปคือ ข้อมูลชุดหนึ่งๆสามารถใช้ได้กับโปรแกรมหลายๆโปรแกรม หากข้อมูลชุดนั้น เป็นที่ต้องการของโปรแกรมนั้น ซึ่งการเก็บข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง นี้จะต้องมีการจัดเก็บในรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้งานข้อมูลนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่จัดเก็บใน หน่วยความจำสำรอง จะเก็บอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังรายละเอียดที่กล่าวมาแล้ว การนำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรอง คือขั้นตอนการอ่านข้อมูล หรือ เขียนข้อมูลเมื่อต้องการบันทึกข้อมูล ดังนั้นวิธีการประมวลผลก็วิธีที่ว่าด้วยการอ่าน/หรือการเขียน ข้อมูลบนหน่วย ความจำสำรอง ดังนั้นจึงสามารถแบ่งวิธีการเข้าถึงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลตามรูปแบบการถึงหน่วยความจำสำรอง คือ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล


ที่มา //www.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm

ข้อที่ 2

การอธิบายการประมวลผล (Process Description)


การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้โดยการใช้แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) โดยการเขียนสัญลักษณ์การประมวลผลนั้นจะเขียนเพียงหัวข้อในการประมวลผลเท่านั้น ยังไม่มีการเขียนคำอธิบายโดยละเอียด ซึ่งเราสามารถเขียนอธิบายโดยละเอียดได้ด้วยการเขียนคำอธิบายการประมวลผล (Process Description) หรือ Process Specification

จุดประสงค์ของการเขียน Process Specification เพื่อใช้เป็นสื่อระหว่างผู้ใช้ระบบโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ระบบ ได้เข้าใจตรงกันในการประมวลผลนั้น โดยโปรแกรมเมอร์จะเข้าใจการประมวลผลนั้นเพื่อใช้ในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะในกรณีของการมีโปรแกรมเมอร์หลายคนในการเขียนโปรแกรมในการสื่อให้เข้าใจตรงกัน ส่วนผู้ใช้ระบบจะได้เห็นถึงผลการวิเคราะห์ของนักวิเคราะห์ระบบว่าเข้าใจถูกต้องหรือไม่

จุดมุ่งหมายในการใช้การอธิบายการประมวลผลนั้นสรุปได้ 3 ข้อคือ

1. เพื่อให้การประมวลผลนั้นชัดเจน เข้าใจง่าย

การใช้วิธีนี้จะทำให้ผู้วิเคราะห์ได้เรียนรู้รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนในการประมวลผลการทำงานในส่วนที่ไม่ชัดเจนต่างๆ จะถูกบันทึก และเขียนออกมาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจะรวมมาจากการสืบค้นข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลวิธีต่างๆ

2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถูกต้องในการอธิบายในรูปแบบเฉพาะของการประมวลผลนั้นระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

ในการสื่อถึงกันให้เข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์และโปรแกรมเมอร์นั้น ถ้าไม่สื่อกันให้ชัดเจนจะมีผลตามมาอย่างมากเมื่อลงรหัสโปรแกรม เนื่องจากจะต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย และอาจทำให้การบริหารโครงการไม่เป็นไปตามกำหนดเวลาอีกด้วย ดังนั้นในการอธิบายการประมวลผลจึงมีส่วนช่วยอย่างมากในการสื่อการประมวลผลให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

3. เพื่อตรวจสอบการออกแบบระบบ

โดยการประมวลผลนั้นจะถูกต้องหรือไม่ในด้านข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่อง การออกรายงานทั้งหน้าจอ และการพิมพ์รายงานนั้นจะเป็นไปตามการวิเคราะห์ตามแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) หรือไม่ จะสามารถตรวจสอบได้จากการอธิบายการประมวลผลนี้

การเขียนคำอธิบายการประมวลผลนี้จะมีเฉพาะโพรเซสในระดับล่างสุดเท่านั้น ระดับแม่เราจะไม่เขียนคำอธิบายเนื่องจากเราเขียน DFD ระดับแม่เพื่อใช้เป็นเครื่องมือเขียน DFD ระดับลูกเพื่อให้เกิดการแตกโครงสร้างแบบบน-ลง-ล่าง (Top - Down) และเมื่ออธิบายโพรเซสระดับลูกแล้วก็หมายความรวมถึงการทำงานระดับแม่โดยปริยาย


วิธีการที่ใช้อธิบายการประมวลผลที่จะกล่าวในที่นี้มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธีคือ

1. ประโยคโครงสร้าง (Structure Sentences)

2. การตัดสินใจแบบตาราง (Description Tables)


เราจะเลือกใช้วิธีการอันใดอันหนึ่งหรือใช้ปนกันก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม แต่ไม่ว่าจะเขียนด้วยวิธีใดๆ เมื่อเขียนแล้วควรจะมีคุณสมบัติ ดังนี้

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นสามารถนำมาตรวจสอบความถูกต้องกับผู้ใช้ได้ง่ายการเขียนเป็นประโยคโครงสร้างอาจจะไม่เหมาะสมถ้าต้องนำมาตรวจสอบกับผู้ใช้เพราะว่าคำอธิบายนั้นจะยาวและคำอธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไข หรือการทำงานซ้ำก็เขียนไม่สะดวก ตัวอย่างเช่น เงื่อนไขที่มี AND,OR หรือ NOT เป็นต้น

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นควรจะใช้สื่อสารกับผู้อื่นที่เกี่ยวข้องในระบบได้ง่ายผู้อื่นที่เกี่ยวข้องอาจจะเป็นผู้ใช้ ผู้จัดการ ผู้ตรวจสอบ เป็นต้น การเขียนคำอธิบายเป็นประโยคโครงสร้าง หรือเขียนเป็นการตัดสินใจแบบตารางจะเหมาะสมกับบุคคลเหล่านั้นเพราะว่าทั้ง 2 วิธีนั้นง่ายต่อการทำความเข้าใจถึงแม้ว่าอาจจะยาวไปหน่อยก็ตาม

โดยทั่วไปแล้ววิธีการเขียนแบบประโยคโครงสร้างเป็นที่นิยมใช้กันมากที่สุด และในโครงการเดียวกันควรจะเลือกใช้วิธีเดียวกันเพื่อให้ง่ายต่อการสื่อสาร การจะเลือกใช้วิธีการมากกว่าหนึ่งวิธีก็อาจจะเป็นไปได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ

1. ความชอบของผู้ใช้

2. ความชอบของผู้เขียน (นักวิเคราะห์ระบบ)

3. ลักษณะการทำงานของโพรเซส


ที่มา //www.geocities.com/S_Analysis/FlowChart2_new.html


โดย: นางสาวสุจิตรา อินทสร้อย 52040258139 หมู่22 อังคารเช้า IP: 124.157.144.104 วันที่: 22 สิงหาคม 2552 เวลา:14:41:13 น.  

 
1.ขั้นตอนวิธีแบบสุ่ม (อังกฤษ: randomized algorithm) เป็นขั้นตอนวิธีที่ยอมให้มีการโยนเหรียญได้ ในทางปฏิบัติ เครื่องที่ใช้ทำงานขั้นตอนวิธีนี้ จะต้องใช้ตัวสร้างเลขสุ่มเทียม (pseudo-random number generator) ในการสร้างตัวเลขสุ่มขึ้นมา อัลกอรึทึมโดยทั่วๆไปมักใช้บิทสุ่ม (random bit) สำหรับเป็นอินพุตเสริม เพื่อชี้นำการกระทำของมันต่อไป โดยมีความหวังว่าจะช่วยให้มีประสิทธิภาพที่ดีใน "กรณีส่วนมาก (average case)" หรือหากพูดในทางคณิตศาสตร์ก็คือ ประสิทธิภาพของขั้นตอนวิธีมีค่าเท่ากับตัวแปรสุ่ม (random variable) ซึ่งคำนวณจากบิทสุ่ม โดยหวังว่าจะมีค่าคาดหวัง (expected value) ที่ดี กรณีที่แย่มากที่สุดมักจะมีโอกาสเกิดขึ้นน้อยมากจนแทบจะไม่ต้องสนใจ


2.การประมวลผลมี 5 วิธีข้อมูล คือข้อเท็จจริงที่เราสนใจ ส่วน สารสนเทศ คือข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลด้วยวิธีการที่เหมาะสมถูกต้อง จนได้รูปแบบผลลัพธ์ ตรงความต้องการของผู้ใช้

ข้อมูลที่จะนำมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ จะต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานดังต่อไปนี้
ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลและข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะทำให้เกิดผลเสียหายมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำนึงถึงกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยำมากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของการประมวลผลส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคำนึงถึงในเรื่องนี้
ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้นและรายงาน ตามความต้องการของผู้ใช้
ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมและวิธีการทางปฏิบัติ ในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศ ต้องสำรวจและสอบถามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์เหมาะสม
ความชัดเจนกระทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมาก จึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กระทัดรัด สื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือย่อข้อมูลให้เหมาะสม เพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องสำคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตข้อมูล ที่สอดคล้องกับความต้องการ



โดย: นายวรวัฒน์ ศรีใจ 52040332110 พฤหัส เช้า หมู่ 08 IP: 202.29.5.62 วันที่: 27 สิงหาคม 2552 เวลา:18:11:44 น.  

 
ระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer processing)
สามารถแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้
1. การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing system)
หมายถึงการประมวลผลข้อมูลที่ต้องมีการรวบรวมข้อมูลให้มากพอควร โดยใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งในการเก็บรวบรวม เมื่อมีการสะสมข้อมูลครบเวลาที่กำหนด จึงนำไปประมวลผล ระบบเครื่องที่ประมวลผลแบบนี้เรียกว่าระบบออฟไลน์ (Off-line system)

2. การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive processing system)
เป็นวิธีการประมวลผลที่รับข้อมูลที่เกิดขึ้นเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง และเครื่องสามารถที่จะโต้ตอบข้อมูลที่รับเข้ามาทันที (ข้อมูลที่เข้าไปแต่ละรายการจะถูกประมวลผลทันที) เช่น ระบบการฝากถอนเงินโดยเครื่อง ATM เป็นต้น การทำงานในระบบนี้เรียกอีกอย่างว่าระบบออนไลน์ (On-line system) ซึ่งระบบ On-line นี้ยังมีประเภทย่อยๆ อีก 2 ประเภท คือ
2.1 ระบบการประมวลผลโดยใช้เวลาจริง (Real-time processing) เป็นระบบที่ต้องการความรวดเร็วในการตอบสนองข้อมูลสูงมาก (ข้อมูลที่ตอบสนองมาต้องถูกต้อง แน่นอน แม่นยำ ทันต่อเวลา)
2.2 ระบบการประมวลผลแบบเวลา (Timesharing processing) เป็นระบบที่ให้ผู้ใช้หลายๆ คนสามารถทำงานพร้อมๆ กันได้ โดยการแบ่งเวลาหน่วยประมวลผลกันใช้งาน โดยการผ่านเครื่องเทอร์มินัล ซึ่งเป็นสถานีที่ใช้ในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ และสามารถจัดสรรหน่วยความจำของระบบให้ผู้ใช้ได้ตามความต้องการของงาน

3. การประมวลผลโดยใช้ตัวประมวลผลมากกว่า 1 ชุด (Multiprocessing system)
หมายถึงการประมวลผลโดนอาศัยหน่วยประมวลผลกลางมากกว่า 1 ชุด โดยกำหนดให้ทำงานในเวลาพร้อมๆ กัน (อาจจะเสริมการทำงาน หรือ สำรองการทำงานซึ่งกันและกัน) นิยมใช้กับงานที่จำเป็นต้องมีการประมวลผล อยู่ตลอดเวลา

4. การประมวลผลแบบหลายโปรแกรม (Multiprogramming system)
ระบบ Multiprogramming system หรือ Multi tasking system หมายถึงระบบการประมวลผลที่ในขณะเวลาใดเวลาหนึ่งสามารถมีโปรแกรม อยู่ในระบบการประมวลผลมากกว่า 1 โปรแกรมได้ กล่าวคือ ในขณะที่โปรแกรมหนึ่งกำลังทำงานอยู่ ผู้ใช้สามารถที่จะเรียกโปรแกรมอื่น มาทำงานซ้อนได้ และสามารถที่จะสลับกันทำงานระหว่างโปรแกรมที่เปิดใช้งานอยู่ได้




ที่มา

//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data3.html



โดย: นายอัศวิน บัวน้ำอ้อม 51241151118 รูปแบบพิเศษหมู่ 5 วันเสาร์บ่ายโมง IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:06:53 น.  

 
ข้อที่ 1

วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าในระบบคอมพิวเตอร์มักมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ก็สามารถที่จะทำงานได้แล้วโดยที่หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่ต่างๆ คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม และหน่วยความจำ โดยหน่วยรับข้อมูลจะรับข้อมูล จาก ผู้ ใช้แล้วนำมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำ เพื่อให้หน่วยคำนวนและตรรกะ ทำการประมวลผลข้อมูลนั้นและเมื่อได้ รับผลลัพธ์ก็สงไปแสดงผลที่หน่วยแสดงผล หรือนำไปเก็บที่หน่วยความจำหลัก ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของหน่วยควบคุม แต่เหนื่องจากหน่วยความจำภายในไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ในกรณีที่ข้อมูล ที่ใช้มีจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีการขยายหน่วยความจำ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในระหว่างที่มีการคำนวณอยู่ ซึ่งเรียก ว่าหน่วยความจำหลักทำให้สามารถขยายขอบเขตการทำงานของคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีขั้นตตอน การทำงาน เช่นเดิม แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีหน่วยความจำหลักช่วยในการทำงาน แต่ในบางครั้งงาน ที่ทำอาจ จะ มีขนาดของข้อมูลที่โตกว่าจะเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ทั้งหมด อีกทั้งข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักของ เครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเก็บไว้ได้เป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการทำงานเท่านั้นเมื่อเลิกทำงานข้อมูล ดังกล่าว ก็จะสูญหายไปด้วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ทุกๆครั้งที่ทำงานเกี่ยวกับข้อมูล ดังกล่าวจะต้องมีการใส่ข้อมูลเข้าไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการ เสียเวลาเป็นอย่างมาก หน่วยความจำสำรองจึงเกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่เก็บ ข้อมูลไว้อย่าง ถาวร ตราบเท่า ที่ต้องการ และสามารถที่จะเก็บข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้มาก ซึ่งทำให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้ โดยการนำเอา เฉพาะข้อมูลส่วน ที่ต้องการใช้งานในขณะนั้นเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ส่วนข้อมูลที่ยังไม่ได ้ใช้งาน ในขณะนั้นก็ยังคงเก็บ ไว้ที่หน่วยความจำสำรองเช่นเดิม และหากว่าต้องการ ประมวลผลข้อมูลชุดใหม่ ก็สามารถกระทำ ได้โดยเอาข้อมูงชุดใหม่เข้าไปในหน่วยความจำแทนข้อมูลชุดเดิม ด้วยวิธีการเช่นนี้จะเห็นว่าแม้ว่า ข้อมูลจะมีจำนวน มากเกินกว่าขนาดของหน่วยความจำหลักเท่าใดก็ตาม เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน กับข้อมูลชุดนั้นได ้ เสมอและนอกจากนี้การที่มีการเก็บข้อมูลไว้ใวส่วนหน่วยความจำสำรอง จะทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมมากขึ้น กล่าวคือ นอกจากจะใช้ข้อมูลเพื่อทำงานอย่างหนึ่งได้แล้วเราสามารถใช้ข้อมูลชุดเดียวกันนี้ไปใช้เพื่อทำงานอื่นๆๆได้อีก โดยใช้ร่วมกับอีกโปรแกรมหนึ่งหรือให้โปรแกรมอื่นมาอ่านข้อมูลไปใช้งาน หากข้อมูลชุดนี้มีข้อสนเทศภายใน ที่ต้องการกล่าวโดยสรุปคือ ข้อมูลชุดหนึ่งๆสามารถใช้ได้กับโปรแกรมหลายๆโปรแกรม หากข้อมูลชุดนั้น เป็นที่ต้องการของโปรแกรมนั้น ซึ่งการเก็บข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง นี้จะต้องมีการจัดเก็บในรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้งานข้อมูลนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่จัดเก็บใน หน่วยความจำสำรอง จะเก็บอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังรายละเอียดที่กล่าวมาแล้ว การนำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรอง คือขั้นตอนการอ่านข้อมูล หรือ เขียนข้อมูลเมื่อต้องการบันทึกข้อมูล ดังนั้นวิธีการประมวลผลก็วิธีที่ว่าด้วยการอ่าน/หรือการเขียน ข้อมูลบนหน่วย ความจำสำรอง ดังนั้นจึงสามารถแบ่งวิธีการเข้าถึงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลตามรูปแบบการถึงหน่วยความจำสำรอง คือ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล


ที่มา //www.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm

ข้อที่ 2

การอธิบายการประมวลผล (Process Description)


การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้โดยการใช้แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) โดยการเขียนสัญลักษณ์การประมวลผลนั้นจะเขียนเพียงหัวข้อในการประมวลผลเท่านั้น ยังไม่มีการเขียนคำอธิบายโดยละเอียด ซึ่งเราสามารถเขียนอธิบายโดยละเอียดได้ด้วยการเขียนคำอธิบายการประมวลผล (Process Description) หรือ Process Specification

จุดประสงค์ของการเขียน Process Specification เพื่อใช้เป็นสื่อระหว่างผู้ใช้ระบบโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ระบบ ได้เข้าใจตรงกันในการประมวลผลนั้น โดยโปรแกรมเมอร์จะเข้าใจการประมวลผลนั้นเพื่อใช้ในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะในกรณีของการมีโปรแกรมเมอร์หลายคนในการเขียนโปรแกรมในการสื่อให้เข้าใจตรงกัน ส่วนผู้ใช้ระบบจะได้เห็นถึงผลการวิเคราะห์ของนักวิเคราะห์ระบบว่าเข้าใจถูกต้องหรือไม่

จุดมุ่งหมายในการใช้การอธิบายการประมวลผลนั้นสรุปได้ 3 ข้อคือ

1. เพื่อให้การประมวลผลนั้นชัดเจน เข้าใจง่าย

การใช้วิธีนี้จะทำให้ผู้วิเคราะห์ได้เรียนรู้รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนในการประมวลผลการทำงานในส่วนที่ไม่ชัดเจนต่างๆ จะถูกบันทึก และเขียนออกมาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจะรวมมาจากการสืบค้นข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลวิธีต่างๆ

2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถูกต้องในการอธิบายในรูปแบบเฉพาะของการประมวลผลนั้นระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

ในการสื่อถึงกันให้เข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์และโปรแกรมเมอร์นั้น ถ้าไม่สื่อกันให้ชัดเจนจะมีผลตามมาอย่างมากเมื่อลงรหัสโปรแกรม เนื่องจากจะต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย และอาจทำให้การบริหารโครงการไม่เป็นไปตามกำหนดเวลาอีกด้วย ดังนั้นในการอธิบายการประมวลผลจึงมีส่วนช่วยอย่างมากในการสื่อการประมวลผลให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

3. เพื่อตรวจสอบการออกแบบระบบ

โดยการประมวลผลนั้นจะถูกต้องหรือไม่ในด้านข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่อง การออกรายงานทั้งหน้าจอ และการพิมพ์รายงานนั้นจะเป็นไปตามการวิเคราะห์ตามแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) หรือไม่ จะสามารถตรวจสอบได้จากการอธิบายการประมวลผลนี้

การเขียนคำอธิบายการประมวลผลนี้จะมีเฉพาะโพรเซสในระดับล่างสุดเท่านั้น ระดับแม่เราจะไม่เขียนคำอธิบายเนื่องจากเราเขียน DFD ระดับแม่เพื่อใช้เป็นเครื่องมือเขียน DFD ระดับลูกเพื่อให้เกิดการแตกโครงสร้างแบบบน-ลง-ล่าง (Top - Down) และเมื่ออธิบายโพรเซสระดับลูกแล้วก็หมายความรวมถึงการทำงานระดับแม่โดยปริยาย


วิธีการที่ใช้อธิบายการประมวลผลที่จะกล่าวในที่นี้มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธีคือ

1. ประโยคโครงสร้าง (Structure Sentences)

2. การตัดสินใจแบบตาราง (Description Tables)


เราจะเลือกใช้วิธีการอันใดอันหนึ่งหรือใช้ปนกันก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม แต่ไม่ว่าจะเขียนด้วยวิธีใดๆ เมื่อเขียนแล้วควรจะมีคุณสมบัติ ดังนี้

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นสามารถนำมาตรวจสอบความถูกต้องกับผู้ใช้ได้ง่ายการเขียนเป็นประโยคโครงสร้างอาจจะไม่เหมาะสมถ้าต้องนำมาตรวจสอบกับผู้ใช้เพราะว่าคำอธิบายนั้นจะยาวและคำอธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไข หรือการทำงานซ้ำก็เขียนไม่สะดวก ตัวอย่างเช่น เงื่อนไขที่มี AND,OR หรือ NOT เป็นต้น

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นควรจะใช้สื่อสารกับผู้อื่นที่เกี่ยวข้องในระบบได้ง่ายผู้อื่นที่เกี่ยวข้องอาจจะเป็นผู้ใช้ ผู้จัดการ ผู้ตรวจสอบ เป็นต้น การเขียนคำอธิบายเป็นประโยคโครงสร้าง หรือเขียนเป็นการตัดสินใจแบบตารางจะเหมาะสมกับบุคคลเหล่านั้นเพราะว่าทั้ง 2 วิธีนั้นง่ายต่อการทำความเข้าใจถึงแม้ว่าอาจจะยาวไปหน่อยก็ตาม

โดยทั่วไปแล้ววิธีการเขียนแบบประโยคโครงสร้างเป็นที่นิยมใช้กันมากที่สุด และในโครงการเดียวกันควรจะเลือกใช้วิธีเดียวกันเพื่อให้ง่ายต่อการสื่อสาร การจะเลือกใช้วิธีการมากกว่าหนึ่งวิธีก็อาจจะเป็นไปได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ

1. ความชอบของผู้ใช้

2. ความชอบของผู้เขียน (นักวิเคราะห์ระบบ)

3. ลักษณะการทำงานของโพรเซส


ที่มา //www.geocities.com/S_Analysis/FlowChart2_new.html


โดย: นางสาววินภา พินิจมนตรี รหัส 51241151116 รูปแบบพิเศษหมู่ 5 วันเสาร์บ่ายโมง IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:08:23 น.  

 

1.

แฟ้มลำดับ (sequential) ลำดับ เทปแม่เหล็กจานแม่เหล็ก ประหยัด ใช้ได้ดีกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก หรือทั้งแฟ้ม การจะเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงใช้เวลามาก

แฟ้มสุ่ม(direct หรือ hash) สุ่ม จานแม่เหล็ก การเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงเร็วมาก ไม่เหมาะกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก และไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับได้ สิ้นเปลือง

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html



2. การประมวลผลข้อมูลแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ คือ
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือ หมายถึงการใช้แรงงานคนเป็นหลักในการประมวลผล โดยมีอุปกรณ์ต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการประมวลผล เช่น ดินสอ ปากกา ไม้บรรทัด กระดาษ ลูกคิด เครื่องคิดเลข วิธีการประมวลผลด้วยมือเหมาะกับงานที่มีปริมาณไม่มากนัก และอยู่ในภาวะที่แรงงานยังมีการจ้างงานที่ไม่สูงนัก

2. การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล(Manual With Machine Assistance Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล หรือการประมวลผลด้วยเครื่องจักรกล ซึ่งการประมวลผลแบบนี้จะเหมาะกับงานระดับกลางที่มีปริมาณไม่มากนัก และต้องการความเร็วในการทำงานในระดับพอสมควร การทำงานจะอาศัยแรงงานคน ร่วมกับเครื่องจักรกล เครื่องที่ใช้กันมาก คือ เครื่องทำบัญชี หรือเครื่องประมวลผลกึ่งอิเล็กทรอนิกส์ (Semi-electronic Data Processing)

3. การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing)
การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ หรือการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เรียกย่อๆ ว่า EDP คือ การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งงานที่เหมาะสมกับการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์คือ งานที่มีลักษณะดังนี้

งานที่มีปริมาณมากๆ
ต้องการความเร็วในการประมวลผล
ต้องการความละเอียดและความถูกต้องของงานสูง
งานที่มีขั้นตอนยุ่งยาก ซับซ้อน หรือมีลักษณะที่ทำงานแบบเดิมซ้ำกันหลายๆ รอบ
มีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน

เช่น ระบบงานทะเบียนและวัดผล, ระบบงานการจองตั๋วเครื่องบิน หรือระบบงานด้านการเงินและการธนาคาร เป็นต้น
ขั้นตอนการประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์

การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ
1. การเตรียมข้อมูลเข้า (Input Data)
คือการเก็บรวบรวมข้อมูลให้พร้อมที่จะทำการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผล ซึ่งประกอบไปด้วย
1.1 การลงรหัส (Coding) คือการใช้รหัสแทนข้อมูล ซึ่งทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปที่กระทัดรัดเพื่อสะดวกแก่การประมวลผล รหัสที่ใช้อาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลขก็ได้
1.2 การแก้ไข (Editing) คือการตรวจสอบข้อมูล ให้มีความถูกต้อง และเป็นไปได้ (เช่น ข้อมูลอายุ ควรจะอยู่ระหว่าง 0 - 100 ปี เป็นต้น) ก่อนนำไปใช้งาน โดยมีการปรับปรุงแก้ไขเท่าที่จำเป็น
1.3 การแยกประเภท (Classifying) คือ การจัดประเภทของข้อมูล หรือจำแนกข้อมูลออกเป็นกลุ่มเพื่อสะดวกแก่การนำไปประมวลผล เช่น ร้านค้าย่อย อาจจะจำแนกเป็น ชนิดของสินค้า แผนกที่ขาย ผู้ขาย หรือจำแนกหมวดอื่นๆ ตามที่ผู้จัดร้านเห็นว่ามีประโยชน์ต่อการดำเนินงาน
1.4 การแปรสภาพข้อมูล (Transforming) คือ การเปลี่ยนสื่อ หรือตัวกลางที่ใช้บันทึกข้อมูลเพื่อให้อยู่ในรูปที่สามารถนำไปประมวลผลต่อไปได้ เช่น การเจาะข้อมูลลงบนบัตร เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถรับไปประมวลผลได้

2. การประมวลผล (Processing)
ได้แก่ วิธีการจัดการกับข้อมูล ซึ่งอาจเป็นการบวก ลบ คูณ หาร หรือการคำนวณ และเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ ที่กำหนดไว้

3. การนำเสนอข้อมูล (Output)
คือ การเอาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงให้ผู้อื่นทราบ อาจจะแสดงไว้ในรูปรายงาน ตาราง หรือแบบใดก็ได้ที่สามารถนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
3.1 การสรุปผล (Summarizing) คือการนำเอาข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่มากลั่นกรอง และย่อลงให้เหลือเฉพาะส่วนที่จำเป็น เพื่อที่จะนำไปปฏิบัติให้คล่องตัว และใช้ประกอบการตัดสินใจ
3.2 การเก็บข้อมูล (Storing) เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ได้อีกในอนาคตจึงจำเป็นต้องมีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ ในระบบคอมพิวเตอร์มักจะบันทึกลงเทปแม่เหล็กหรือจานแม่เหล็ก
3.3 การค้นหาและการเรียกใช้ข้อมูล (Searching and Retrieving) คือ การค้นหาข้อมูลในแฟ้มข้อมูล และเรียกข้อมูลนั้นกลับมาใช้งาน (เช่นนำข้อมูลกลับมาแก้ไข ปรับปรุง)
3.4 การทำสำเนาข้อมูล (Reproduction) ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลดิบที่ได้มาใหม่ หรือข้อมูลจากการประมวลผล ในบางครั้งต้องการข้อมูลหลายชุด จึงจำเป็นต้องมีการสำเนาข้อมูลออกมาใช้หลายๆ ชุด


--------------------------------------------------------------------------------

ระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer processing)
สามารถแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้
1. การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing system)
หมายถึงการประมวลผลข้อมูลที่ต้องมีการรวบรวมข้อมูลให้มากพอควร โดยใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งในการเก็บรวบรวม เมื่อมีการสะสมข้อมูลครบเวลาที่กำหนด จึงนำไปประมวลผล ระบบเครื่องที่ประมวลผลแบบนี้เรียกว่าระบบออฟไลน์ (Off-line system)

2. การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive processing system)
เป็นวิธีการประมวลผลที่รับข้อมูลที่เกิดขึ้นเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง และเครื่องสามารถที่จะโต้ตอบข้อมูลที่รับเข้ามาทันที (ข้อมูลที่เข้าไปแต่ละรายการจะถูกประมวลผลทันที) เช่น ระบบการฝากถอนเงินโดยเครื่อง ATM เป็นต้น การทำงานในระบบนี้เรียกอีกอย่างว่าระบบออนไลน์ (On-line system) ซึ่งระบบ On-line นี้ยังมีประเภทย่อยๆ อีก 2 ประเภท คือ
2.1 ระบบการประมวลผลโดยใช้เวลาจริง (Real-time processing) เป็นระบบที่ต้องการความรวดเร็วในการตอบสนองข้อมูลสูงมาก (ข้อมูลที่ตอบสนองมาต้องถูกต้อง แน่นอน แม่นยำ ทันต่อเวลา)
2.2 ระบบการประมวลผลแบบเวลา (Timesharing processing) เป็นระบบที่ให้ผู้ใช้หลายๆ คนสามารถทำงานพร้อมๆ กันได้ โดยการแบ่งเวลาหน่วยประมวลผลกันใช้งาน โดยการผ่านเครื่องเทอร์มินัล ซึ่งเป็นสถานีที่ใช้ในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ และสามารถจัดสรรหน่วยความจำของระบบให้ผู้ใช้ได้ตามความต้องการของงาน

3. การประมวลผลโดยใช้ตัวประมวลผลมากกว่า 1 ชุด (Multiprocessing system)
หมายถึงการประมวลผลโดนอาศัยหน่วยประมวลผลกลางมากกว่า 1 ชุด โดยกำหนดให้ทำงานในเวลาพร้อมๆ กัน (อาจจะเสริมการทำงาน หรือ สำรองการทำงานซึ่งกันและกัน) นิยมใช้กับงานที่จำเป็นต้องมีการประมวลผล อยู่ตลอดเวลา

4. การประมวลผลแบบหลายโปรแกรม (Multiprogramming system)
ระบบ Multiprogramming system หรือ Multi tasking system หมายถึงระบบการประมวลผลที่ในขณะเวลาใดเวลาหนึ่งสามารถมีโปรแกรม อยู่ในระบบการประมวลผลมากกว่า 1 โปรแกรมได้ กล่าวคือ ในขณะที่โปรแกรมหนึ่งกำลังทำงานอยู่ ผู้ใช้สามารถที่จะเรียกโปรแกรมอื่น มาทำงานซ้อนได้ และสามารถที่จะสลับกันทำงานระหว่างโปรแกรมที่เปิดใช้งานอยู่ได้




ที่มา

//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data3.html



โดย: นาย ปิยะ ศรีกุลวงศ์ เสาร์บ่าย 51241151204 IP: 222.123.59.23 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:13:24:55 น.  

 
1.อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)

ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม
ที่มา
//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html


โดย: นาย ปิยะ ศรีกุลวงศ์ เสาร์บ่าย 51241151204 IP: 222.123.59.23 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:13:50:19 น.  

 

ข้อที่1

การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม


การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

//it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#3



ข้อที่2

วิธีการประมวลผลข้อมูล

วิธีการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ มีหลายวิธี ดังนี้

1) การคำนวณ (Calculation) หมายถึง การนำข้อมูลที่เป็นตัวเลขมาทำการ บวก ลบ คูณ หารยกกำลัง เช่น การคำนวณภาษี การคำนวณค่าแรง เป็นต้น

2) การจัดเรียงข้อมูล (Sorting) เป็นการเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก หรือมากไปหาน้อย เพื่อทำให้ดูง่ายขึ้น ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้เร็วขึ้น เช่น การเรียงคะแนนดิบของนักเรียนจากมาก ไปหาน้อย การเก็บบัตรดัชนีสำหรับหนังสือต่างๆ โดยการเรียงตามตัวอักษร จาก ก ข ค ถึง ฮ เป็นต้น

3) การจัดกลุ่ม (Classifying) หมายถึง การจัดข้อมูลโดยการแยกออกเป็นกลุ่มหรือประเภท ต่างๆ เช่น การนำข้อมูลเกี่ยวกับประวัตินักศึกษา มาแยกตามคณะต่างๆ เช่น แยกเป็นนักศึกษาที่ สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ นักศึกษาที่สังกัดคณะครุศาสตร์ เป็นต้น การทำเช่นนี้ทำให้การค้นหาข้อมูล ทำได้ง่ายขึ้น และยังสะดวกสำหรับทำรายงานต่างๆ

4) การดึงข้อมูล (Retrieving) หมายถึง การค้นหาและการนำข้อมูลที่ต้องการมาจากแหล่ง เก็บข้อมูล เพื่อนำไปใช้งาน

5) การรวมข้อมูล (Merging) หมายถึง การนำข้อมูลตั้งแต่สองชุดขึ้นไปมารวมกันให้เป็นชุด เดียวเช่น การนำประวัติส่วนตัวของนักศึกษา และประวัติการศึกษามารวมเป็นชุดเดียวกัน เป็นประวัตินักศึกษาเป็นต้น

6) การสรุปผล (Summarizing) หมายถึง การสรุปส่วนต่างๆของข้อมูลโดยย่อเอา เฉพาะส่วนที่เป็น ใจความสำคัญ เพื่อเน้นจุดสำคัญและแนวโน้ม เช่น การนำข้อฒุลมาแจงนับและ ทำเป็นตารางการ หายอดนักศึกษา ของแต่ละวิชา ข้อมูลเหล่านี้ใช้สำหรับพิมพ์เป็นรายงานสรุป ส่งขึ้นไปให้ผู้บริหาร ระดับสูง เพื่อใช้ในการบริหาร

7) การทำรายงาน (Reporting) หมายถึง การนำข้อมูลมาจัดพิมพ์รายงานรูปแบบต่างๆ เช่น รายงานการวิเคราะห์อาชีพของผู้ปกครองของนักศึกษา รายงานการเรียนของนักศึกษา เป็นต้น

8) การบันทึก (Recording) หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลเอาไว้โดยทำการคัดลอกข้อมูล จากต้นฉบับแล้วเก็บเป็นแฟ้ม (Filing) เช่น การบันทึกประวัติส่วนตัวนักศึกษาแต่ละคน เป็นต้น

9) การปรับปรุงรักษาข้อมูล (Updating) หมายถึง การเพิ่ม (Add) หรือการเอาออก (Delete) และการเปลี่ยนค่า (Change) ข้อมูลที่อยู่ในแฟ้มให้ทันสมัยอยู่เสมอ


//www.bs.ac.th/2548/e_bs/G7/raim/in4page2.html


โดย: นางาสาว สมร นาแพงหมื่น เสาร์บ่าย 51241151220 IP: 114.128.133.6 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:16:18:10 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ การเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access) เป็น การเข้าถึงข้อมูลทีละเรคคอร์ดเรียงไปตามลำดับของการจัดเก็บ ถ้าจะดึงข้อมูลเรคคอร์ดที่ 10 มาใช้จะต้องอ่านข้อมูลผ่านเรคคอร์ดที่ 1 ถึง 9 ก่อนเสมอ เมื่อถึงเรคคอร์ดที่ 10 จึงจะสามารถดึงข้อมูลออกมาใช้ได้ สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้มักเป็น เทป (Tape)
การเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access) เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่ต้องผ่านเรคคอร์ดที่อยู่ก่อน การเข้าถึงเรคคอร์ดแบบสุ่มจะเร็วกว่าแบบโดยลำดับมาก เหมาะสมกับงานที่ต้องการความเร็วในการดึงข้อมูลมาก ๆ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมักเป็นดิสก์ หรือจานแม่เหล็ก

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ การประมวลผลข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 3 วิธีใหญ่ ๆ ดังนี้
1. ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) คือ การประมวลผลโดยผู้ใช้จะทำการรวบรวมเอกสารที่ต้องการประมวลผลไว้เป็นชุด ๆ ซึ่งเอกสารแต่ละชุดต้องให้มีขนาดเท่ากัน

2. ระบบประมวลผลแบบโต้ตอบ (Transaction Processing) หมายถึงการทำงานในลักษณะที่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถที่จะตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลา


โดย: นางฉวีวรรณ แสงเลิศ 51241151132 รูปแบบพิเศษ รปศ. เรียนเวลา บ่ายโมงวันเสาร์ IP: 117.47.14.74 วันที่: 1 กันยายน 2552 เวลา:19:30:40 น.  

 
การเข้าถึงข้อมูล

· การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการเหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

· การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ




การประมวลผลข้อมูล
ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน การประมวลผลข้อมูล เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายอย่าง ประกอบกันคือ

การรวบรวมข้อมูล
การแยกแยะ
การตรวจสอบความถูกต้อง
การคำนวณ
การจัดลำดับหรือการเรียงลำดับ
การรายงานผล
การสื่อสารข้อมูลหรือการแจกจ่ายข้อมูลนั้น
การประมวลผลข้อมูล จึงเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญ เพราะข้อมูลที่มีอยู่ รอบๆ ตัวเรามีเป็นจำนวนมากในการใช้งานจึงต้องมีการประมวลผล เพื่อให้เกิดประโยชน์ กิจกรรมหลักของการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จึงประกอบด้วยกิจกรรมการ เก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งต้องมีการตรวจสอบ ความถูกต้องด้วย กิจกรรมการประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งแยกข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ และกิจกรรมการเก็บรักษาข้อมูลซึ่งอาจต้อง มีการทำสำเนา ทำรายงาน เพื่อแจกจ่าย

[แก้ไข] วิธีการประมวลผล
มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing) หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน



โดย: นางสาวลำไพ พูลเกษม (ศุกร์ เช้า หมู่เรียนที่ 15) IP: 1.1.1.40, 58.137.131.62 วันที่: 1 กันยายน 2552 เวลา:20:00:34 น.  

 
1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ แบบสุ่ม ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป


แบบลำดับ การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม


//it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#3




โดย: นางสาวสุกัญญา แก้วคูณเมือง รหัส 51241151122 (เรียนวันเสาร์บ่ายโมง) IP: 10.0.100.48, 125.26.246.123 วันที่: 2 กันยายน 2552 เวลา:22:02:49 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ
การเข้าถึงข้อมูลแบบ Sequential คือการเขาถึงข้อมูลอย่างเป็นลำดับ ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรงได้ ข้อเสียของการเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้ คือ ช้า ส่วนข้อดี คือ ประหยัด

การเข้าถึงข้อมูลแบบ Random คือการเข้าถึงข้อมูลโดยตรง โดยอาศัย addresses เป็นตัวชี้นำตำแหน่งข้อมูล ( OS จะใช้ระบบ ตารางหน้ามากำหนด addresses ) ตัวอย่างของการเข้าถึงข้อมูลแบบนี้ คือ Ram

2. การจัดการกับข้อมูล

1. การเก็บข้อมูล (Data Acquisition)
2. การบันทึกข้อมูล (Data Entry)
3. การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล (Data Edit)
4. การจัดแฟ้มข้อมูล (Filing)
5. การประมวลผล (Data Processing)
การประมวลผลข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 3 วิธีใหญ่ ๆ ดังนี้


5.1. ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) คือ การประมวลผลโดยผู้ใช้จะทำการรวบรวมเอกสารที่ต้องการประมวลผลไว้เป็นชุด ๆ ซึ่งเอกสารแต่ละชุดต้องให้มีขนาดเท่ากัน







5.2. ระบบประมวลผลแบบโต้ตอบ (Transaction Processing) หมายถึงการทำงานในลักษณะที่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถที่จะตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลา








5.3. ระบบประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) คือ การประมวลผลร่วมกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ต่อพ่วงกับระบบสื่อสาร (Communication) โดยอาศัยอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น โมเด็ม (Modem) ซึ่งลักษณะการทำงานอาจจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อพ่วงกันในระบบเครือข่าย (Network)






6. การสอบถามและค้นคืนข้อมูล(Data Query and Data Retrieval)
7. การปรับข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน (Update)
8. การจัดทำรายงาน (Reporting)
9. การทำสำเนา (Duplication)
10. การสำรองข้อมูล (Backup)
11. การกู้ข้อมูล (Data Recovery)
12. การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
13. การทำลายข้อมูล (Data Scraping)
14. การจัดการไฟล์
วิธีการจัดการไฟล์ของข้อมูลในสื่อบันทึกข้อมูล มี 3 วิธีใหญ่ ๆ คือ

14.1. การจัดแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ (Sequential File)
14.2. การจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่มหรือแบบโดยตรง(Random/direct File)
14.3. การจัดแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี(Indexed Sequential File)




การเข้าถึงข้อมูล


การเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลทีละเรคคอร์ดเรียงไปตามลำดับของการจัดเก็บ ถ้าจะดึงข้อมูลเรคคอร์ดที่ 10 มาใช้จะต้องอ่านข้อมูลผ่านเรคคอร์ดที่ 1 ถึง 9 ก่อนเสมอ เมื่อถึงเรคคอร์ดที่ 10 จึงจะสามารถดึงข้อมูลออกมาใช้ได้ สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้มักเป็น เทป (Tape)






การเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่ต้องผ่านเรคคอร์ดที่อยู่ก่อน การเข้าถึงเรคคอร์ดแบบสุ่มจะเร็วกว่าแบบโดยลำดับมาก เหมาะสมกับงานที่ต้องการความเร็วในการดึงข้อมูลมาก ๆ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมักเป็นดิสก์ หรือจานแม่เหล็ก

ที่มา
//yalor.yru.ac.th/~nipon/Archi_STD43/chapter4/group_20/Access.htm


2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ คือ...มี 2 วิธี
(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง
(online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่อง
ปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผล
การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น
การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง
(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม
(batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบ
ข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน
หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อ
เก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล
นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหา
คำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อ
ให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา...
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/2/c2_7.htm#








โดย: นาย สุระทิน ใจใส หมู่ 15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151202 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 4 กันยายน 2552 เวลา:10:57:54 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ · การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการเหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

· การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ

ที่มา : //www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา : //www.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นางสาวกฤติยา เหล่าผักสาร รหัสนักศึกษา 52040263134 คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร IP: 125.26.170.66 วันที่: 5 กันยายน 2552 เวลา:15:01:06 น.  

 
ข้อที่ 1

วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าในระบบคอมพิวเตอร์มักมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ก็สามารถที่จะทำงานได้แล้วโดยที่หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่ต่างๆ คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม และหน่วยความจำ โดยหน่วยรับข้อมูลจะรับข้อมูล จาก ผู้ ใช้แล้วนำมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำ เพื่อให้หน่วยคำนวนและตรรกะ ทำการประมวลผลข้อมูลนั้นและเมื่อได้ รับผลลัพธ์ก็สงไปแสดงผลที่หน่วยแสดงผล หรือนำไปเก็บที่หน่วยความจำหลัก ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของหน่วยควบคุม แต่เหนื่องจากหน่วยความจำภายในไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ในกรณีที่ข้อมูล ที่ใช้มีจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีการขยายหน่วยความจำ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในระหว่างที่มีการคำนวณอยู่ ซึ่งเรียก ว่าหน่วยความจำหลักทำให้สามารถขยายขอบเขตการทำงานของคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีขั้นตตอน การทำงาน เช่นเดิม แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีหน่วยความจำหลักช่วยในการทำงาน แต่ในบางครั้งงาน ที่ทำอาจ จะ มีขนาดของข้อมูลที่โตกว่าจะเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ทั้งหมด อีกทั้งข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักของ เครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเก็บไว้ได้เป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการทำงานเท่านั้นเมื่อเลิกทำงานข้อมูล ดังกล่าว ก็จะสูญหายไปด้วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ทุกๆครั้งที่ทำงานเกี่ยวกับข้อมูล ดังกล่าวจะต้องมีการใส่ข้อมูลเข้าไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการ เสียเวลาเป็นอย่างมาก หน่วยความจำสำรองจึงเกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่เก็บ ข้อมูลไว้อย่าง ถาวร ตราบเท่า ที่ต้องการ และสามารถที่จะเก็บข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้มาก ซึ่งทำให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้ โดยการนำเอา เฉพาะข้อมูลส่วน ที่ต้องการใช้งานในขณะนั้นเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ส่วนข้อมูลที่ยังไม่ได ้ใช้งาน ในขณะนั้นก็ยังคงเก็บ ไว้ที่หน่วยความจำสำรองเช่นเดิม และหากว่าต้องการ ประมวลผลข้อมูลชุดใหม่ ก็สามารถกระทำ ได้โดยเอาข้อมูงชุดใหม่เข้าไปในหน่วยความจำแทนข้อมูลชุดเดิม ด้วยวิธีการเช่นนี้จะเห็นว่าแม้ว่า ข้อมูลจะมีจำนวน มากเกินกว่าขนาดของหน่วยความจำหลักเท่าใดก็ตาม เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน กับข้อมูลชุดนั้นได ้ เสมอและนอกจากนี้การที่มีการเก็บข้อมูลไว้ใวส่วนหน่วยความจำสำรอง จะทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมมากขึ้น กล่าวคือ นอกจากจะใช้ข้อมูลเพื่อทำงานอย่างหนึ่งได้แล้วเราสามารถใช้ข้อมูลชุดเดียวกันนี้ไปใช้เพื่อทำงานอื่นๆๆได้อีก โดยใช้ร่วมกับอีกโปรแกรมหนึ่งหรือให้โปรแกรมอื่นมาอ่านข้อมูลไปใช้งาน หากข้อมูลชุดนี้มีข้อสนเทศภายใน ที่ต้องการกล่าวโดยสรุปคือ ข้อมูลชุดหนึ่งๆสามารถใช้ได้กับโปรแกรมหลายๆโปรแกรม หากข้อมูลชุดนั้น เป็นที่ต้องการของโปรแกรมนั้น ซึ่งการเก็บข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง นี้จะต้องมีการจัดเก็บในรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้งานข้อมูลนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่จัดเก็บใน หน่วยความจำสำรอง จะเก็บอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังรายละเอียดที่กล่าวมาแล้ว การนำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรอง คือขั้นตอนการอ่านข้อมูล หรือ เขียนข้อมูลเมื่อต้องการบันทึกข้อมูล ดังนั้นวิธีการประมวลผลก็วิธีที่ว่าด้วยการอ่าน/หรือการเขียน ข้อมูลบนหน่วย ความจำสำรอง ดังนั้นจึงสามารถแบ่งวิธีการเข้าถึงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลตามรูปแบบการถึงหน่วยความจำสำรอง คือ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล


ที่มา //www.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm

ข้อที่ 2

การอธิบายการประมวลผล (Process Description)


การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้โดยการใช้แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) โดยการเขียนสัญลักษณ์การประมวลผลนั้นจะเขียนเพียงหัวข้อในการประมวลผลเท่านั้น ยังไม่มีการเขียนคำอธิบายโดยละเอียด ซึ่งเราสามารถเขียนอธิบายโดยละเอียดได้ด้วยการเขียนคำอธิบายการประมวลผล (Process Description) หรือ Process Specification

จุดประสงค์ของการเขียน Process Specification เพื่อใช้เป็นสื่อระหว่างผู้ใช้ระบบโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ระบบ ได้เข้าใจตรงกันในการประมวลผลนั้น โดยโปรแกรมเมอร์จะเข้าใจการประมวลผลนั้นเพื่อใช้ในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะในกรณีของการมีโปรแกรมเมอร์หลายคนในการเขียนโปรแกรมในการสื่อให้เข้าใจตรงกัน ส่วนผู้ใช้ระบบจะได้เห็นถึงผลการวิเคราะห์ของนักวิเคราะห์ระบบว่าเข้าใจถูกต้องหรือไม่

จุดมุ่งหมายในการใช้การอธิบายการประมวลผลนั้นสรุปได้ 3 ข้อคือ

1. เพื่อให้การประมวลผลนั้นชัดเจน เข้าใจง่าย

การใช้วิธีนี้จะทำให้ผู้วิเคราะห์ได้เรียนรู้รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนในการประมวลผลการทำงานในส่วนที่ไม่ชัดเจนต่างๆ จะถูกบันทึก และเขียนออกมาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจะรวมมาจากการสืบค้นข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลวิธีต่างๆ

2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถูกต้องในการอธิบายในรูปแบบเฉพาะของการประมวลผลนั้นระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

ในการสื่อถึงกันให้เข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์และโปรแกรมเมอร์นั้น ถ้าไม่สื่อกันให้ชัดเจนจะมีผลตามมาอย่างมากเมื่อลงรหัสโปรแกรม เนื่องจากจะต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย และอาจทำให้การบริหารโครงการไม่เป็นไปตามกำหนดเวลาอีกด้วย ดังนั้นในการอธิบายการประมวลผลจึงมีส่วนช่วยอย่างมากในการสื่อการประมวลผลให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

3. เพื่อตรวจสอบการออกแบบระบบ

โดยการประมวลผลนั้นจะถูกต้องหรือไม่ในด้านข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่อง การออกรายงานทั้งหน้าจอ และการพิมพ์รายงานนั้นจะเป็นไปตามการวิเคราะห์ตามแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) หรือไม่ จะสามารถตรวจสอบได้จากการอธิบายการประมวลผลนี้

การเขียนคำอธิบายการประมวลผลนี้จะมีเฉพาะโพรเซสในระดับล่างสุดเท่านั้น ระดับแม่เราจะไม่เขียนคำอธิบายเนื่องจากเราเขียน DFD ระดับแม่เพื่อใช้เป็นเครื่องมือเขียน DFD ระดับลูกเพื่อให้เกิดการแตกโครงสร้างแบบบน-ลง-ล่าง (Top - Down) และเมื่ออธิบายโพรเซสระดับลูกแล้วก็หมายความรวมถึงการทำงานระดับแม่โดยปริยาย


วิธีการที่ใช้อธิบายการประมวลผลที่จะกล่าวในที่นี้มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธีคือ

1. ประโยคโครงสร้าง (Structure Sentences)

2. การตัดสินใจแบบตาราง (Description Tables)


เราจะเลือกใช้วิธีการอันใดอันหนึ่งหรือใช้ปนกันก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม แต่ไม่ว่าจะเขียนด้วยวิธีใดๆ เมื่อเขียนแล้วควรจะมีคุณสมบัติ ดังนี้

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นสามารถนำมาตรวจสอบความถูกต้องกับผู้ใช้ได้ง่ายการเขียนเป็นประโยคโครงสร้างอาจจะไม่เหมาะสมถ้าต้องนำมาตรวจสอบกับผู้ใช้เพราะว่าคำอธิบายนั้นจะยาวและคำอธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไข หรือการทำงานซ้ำก็เขียนไม่สะดวก ตัวอย่างเช่น เงื่อนไขที่มี AND,OR หรือ NOT เป็นต้น

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นควรจะใช้สื่อสารกับผู้อื่นที่เกี่ยวข้องในระบบได้ง่ายผู้อื่นที่เกี่ยวข้องอาจจะเป็นผู้ใช้ ผู้จัดการ ผู้ตรวจสอบ เป็นต้น การเขียนคำอธิบายเป็นประโยคโครงสร้าง หรือเขียนเป็นการตัดสินใจแบบตารางจะเหมาะสมกับบุคคลเหล่านั้นเพราะว่าทั้ง 2 วิธีนั้นง่ายต่อการทำความเข้าใจถึงแม้ว่าอาจจะยาวไปหน่อยก็ตาม

โดยทั่วไปแล้ววิธีการเขียนแบบประโยคโครงสร้างเป็นที่นิยมใช้กันมากที่สุด และในโครงการเดียวกันควรจะเลือกใช้วิธีเดียวกันเพื่อให้ง่ายต่อการสื่อสาร การจะเลือกใช้วิธีการมากกว่าหนึ่งวิธีก็อาจจะเป็นไปได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ

1. ความชอบของผู้ใช้

2. ความชอบของผู้เขียน (นักวิเคราะห์ระบบ)

3. ลักษณะการทำงานของโพรเซส


ที่มา //www.geocities.com/S_Analysis/FlowChart2_new.html






โดย: นางสาวเกษร อัครฮาด รหัสนักศึกษา 52040003135 หมู่ 29 เรียนพุธเช้า IP: 110.49.98.71 วันที่: 7 กันยายน 2552 เวลา:18:18:35 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ · การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการเหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

· การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ

ที่มา : //www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา : //www.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นางสาวกฤติยา เหล่าผักสาร รหัสนักศึกษา 52040263134 หมู่ 22 อังคารเช้า คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 8 กันยายน 2552 เวลา:9:20:16 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ 2.1
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ2.2
วิธีการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ มีหลายวิธี ดังนี้

1) การคำนวณ (Calculation) หมายถึง การนำข้อมูลที่เป็นตัวเลขมาทำการ บวก ลบ คูณ หารยกกำลัง เช่น การคำนวณภาษี การคำนวณค่าแรง เป็นต้น

2) การจัดเรียงข้อมูล (Sorting) เป็นการเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก หรือมากไปหาน้อย เพื่อทำให้ดูง่ายขึ้น ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้เร็วขึ้น เช่น การเรียงคะแนนดิบของนักเรียนจากมาก ไปหาน้อย การเก็บบัตรดัชนีสำหรับหนังสือต่างๆ โดยการเรียงตามตัวอักษร จาก ก ข ค ถึง ฮ เป็นต้น

3) การจัดกลุ่ม (Classifying) หมายถึง การจัดข้อมูลโดยการแยกออกเป็นกลุ่มหรือประเภท ต่างๆ เช่น การนำข้อมูลเกี่ยวกับประวัตินักศึกษา มาแยกตามคณะต่างๆ เช่น แยกเป็นนักศึกษาที่ สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ นักศึกษาที่สังกัดคณะครุศาสตร์ เป็นต้น การทำเช่นนี้ทำให้การค้นหาข้อมูล ทำได้ง่ายขึ้น และยังสะดวกสำหรับทำรายงานต่างๆ

4) การดึงข้อมูล (Retrieving) หมายถึง การค้นหาและการนำข้อมูลที่ต้องการมาจากแหล่ง เก็บข้อมูล เพื่อนำไปใช้งาน

5) การรวมข้อมูล (Merging) หมายถึง การนำข้อมูลตั้งแต่สองชุดขึ้นไปมารวมกันให้เป็นชุด เดียวเช่น การนำประวัติส่วนตัวของนักศึกษา และประวัติการศึกษามารวมเป็นชุดเดียวกัน เป็นประวัตินักศึกษาเป็นต้น

6) การสรุปผล (Summarizing) หมายถึง การสรุปส่วนต่างๆของข้อมูลโดยย่อเอา เฉพาะส่วนที่เป็น ใจความสำคัญ เพื่อเน้นจุดสำคัญและแนวโน้ม เช่น การนำข้อฒุลมาแจงนับและ ทำเป็นตารางการ หายอดนักศึกษา ของแต่ละวิชา ข้อมูลเหล่านี้ใช้สำหรับพิมพ์เป็นรายงานสรุป ส่งขึ้นไปให้ผู้บริหาร ระดับสูง เพื่อใช้ในการบริหาร

7) การทำรายงาน (Reporting) หมายถึง การนำข้อมูลมาจัดพิมพ์รายงานรูปแบบต่างๆ เช่น รายงานการวิเคราะห์อาชีพของผู้ปกครองของนักศึกษา รายงานการเรียนของนักศึกษา เป็นต้น

8) การบันทึก (Recording) หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลเอาไว้โดยทำการคัดลอกข้อมูล จากต้นฉบับแล้วเก็บเป็นแฟ้ม (Filing) เช่น การบันทึกประวัติส่วนตัวนักศึกษาแต่ละคน เป็นต้น

9) การปรับปรุงรักษาข้อมูล (Updating) หมายถึง การเพิ่ม (Add) หรือการเอาออก (Delete) และการเปลี่ยนค่า (Change) ข้อมูลที่อยู่ในแฟ้มให้ทันสมัยอยู่เสมอ


ที่มา //www.bs.ac.th/2548/e_bs/G7/raim/in4page2.html







โดย: ชื่อ นายวัชระพงศ์ โคตรชมภู รหัสนักศึกษา 51040901205 หมู่ที่1จันทร์(บ่าย)สาขาวิชานิติศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 11 กันยายน 2552 เวลา:12:41:22 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ2.2
วิธีการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ มีหลายวิธี ดังนี้

1) การคำนวณ (Calculation) หมายถึง การนำข้อมูลที่เป็นตัวเลขมาทำการ บวก ลบ คูณ หารยกกำลัง เช่น การคำนวณภาษี การคำนวณค่าแรง เป็นต้น

2) การจัดเรียงข้อมูล (Sorting) เป็นการเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก หรือมากไปหาน้อย เพื่อทำให้ดูง่ายขึ้น ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้เร็วขึ้น เช่น การเรียงคะแนนดิบของนักเรียนจากมาก ไปหาน้อย การเก็บบัตรดัชนีสำหรับหนังสือต่างๆ โดยการเรียงตามตัวอักษร จาก ก ข ค ถึง ฮ เป็นต้น

3) การจัดกลุ่ม (Classifying) หมายถึง การจัดข้อมูลโดยการแยกออกเป็นกลุ่มหรือประเภท ต่างๆ เช่น การนำข้อมูลเกี่ยวกับประวัตินักศึกษา มาแยกตามคณะต่างๆ เช่น แยกเป็นนักศึกษาที่ สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ นักศึกษาที่สังกัดคณะครุศาสตร์ เป็นต้น การทำเช่นนี้ทำให้การค้นหาข้อมูล ทำได้ง่ายขึ้น และยังสะดวกสำหรับทำรายงานต่างๆ

4) การดึงข้อมูล (Retrieving) หมายถึง การค้นหาและการนำข้อมูลที่ต้องการมาจากแหล่ง เก็บข้อมูล เพื่อนำไปใช้งาน

5) การรวมข้อมูล (Merging) หมายถึง การนำข้อมูลตั้งแต่สองชุดขึ้นไปมารวมกันให้เป็นชุด เดียวเช่น การนำประวัติส่วนตัวของนักศึกษา และประวัติการศึกษามารวมเป็นชุดเดียวกัน เป็นประวัตินักศึกษาเป็นต้น

6) การสรุปผล (Summarizing) หมายถึง การสรุปส่วนต่างๆของข้อมูลโดยย่อเอา เฉพาะส่วนที่เป็น ใจความสำคัญ เพื่อเน้นจุดสำคัญและแนวโน้ม เช่น การนำข้อฒุลมาแจงนับและ ทำเป็นตารางการ หายอดนักศึกษา ของแต่ละวิชา ข้อมูลเหล่านี้ใช้สำหรับพิมพ์เป็นรายงานสรุป ส่งขึ้นไปให้ผู้บริหาร ระดับสูง เพื่อใช้ในการบริหาร

7) การทำรายงาน (Reporting) หมายถึง การนำข้อมูลมาจัดพิมพ์รายงานรูปแบบต่างๆ เช่น รายงานการวิเคราะห์อาชีพของผู้ปกครองของนักศึกษา รายงานการเรียนของนักศึกษา เป็นต้น

8) การบันทึก (Recording) หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลเอาไว้โดยทำการคัดลอกข้อมูล จากต้นฉบับแล้วเก็บเป็นแฟ้ม (Filing) เช่น การบันทึกประวัติส่วนตัวนักศึกษาแต่ละคน เป็นต้น

9) การปรับปรุงรักษาข้อมูล (Updating) หมายถึง การเพิ่ม (Add) หรือการเอาออก (Delete) และการเปลี่ยนค่า (Change) ข้อมูลที่อยู่ในแฟ้มให้ทันสมัยอยู่เสมอ

ที่มา //www.bs.ac.th/2548/e_bs/G7/raim/in4page2.html

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ
วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา : //www.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm



โดย: นางสาว ศิริพร คมกล้า รหัส 51040901250 สาขา นิติศาสตร์ หมู่ 01 (จันทร์ - บ่าย ) IP: 202.29.5.62 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:14:50:55 น.  

 
.

แฟ้มลำดับ (sequential) ลำดับ เทปแม่เหล็กจานแม่เหล็ก ประหยัด ใช้ได้ดีกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก หรือทั้งแฟ้ม การจะเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงใช้เวลามาก

แฟ้มสุ่ม(direct หรือ hash) สุ่ม จานแม่เหล็ก การเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงเร็วมาก ไม่เหมาะกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก และไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับได้ สิ้นเปลือง

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html



2. การประมวลผลข้อมูลแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ คือ
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือ หมายถึงการใช้แรงงานคนเป็นหลักในการประมวลผล โดยมีอุปกรณ์ต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการประมวลผล เช่น ดินสอ ปากกา ไม้บรรทัด กระดาษ ลูกคิด เครื่องคิดเลข วิธีการประมวลผลด้วยมือเหมาะกับงานที่มีปริมาณไม่มากนัก และอยู่ในภาวะที่แรงงานยังมีการจ้างงานที่ไม่สูงนัก

2. การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล(Manual With Machine Assistance Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล หรือการประมวลผลด้วยเครื่องจักรกล ซึ่งการประมวลผลแบบนี้จะเหมาะกับงานระดับกลางที่มีปริมาณไม่มากนัก และต้องการความเร็วในการทำงานในระดับพอสมควร การทำงานจะอาศัยแรงงานคน ร่วมกับเครื่องจักรกล เครื่องที่ใช้กันมาก คือ เครื่องทำบัญชี หรือเครื่องประมวลผลกึ่งอิเล็กทรอนิกส์ (Semi-electronic Data Processing)

3. การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing)
การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ หรือการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เรียกย่อๆ ว่า EDP คือ การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งงานที่เหมาะสมกับการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์คือ งานที่มีลักษณะดังนี้

งานที่มีปริมาณมากๆ
ต้องการความเร็วในการประมวลผล
ต้องการความละเอียดและความถูกต้องของงานสูง
งานที่มีขั้นตอนยุ่งยาก ซับซ้อน หรือมีลักษณะที่ทำงานแบบเดิมซ้ำกันหลายๆ รอบ
มีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน

เช่น ระบบงานทะเบียนและวัดผล, ระบบงานการจองตั๋วเครื่องบิน หรือระบบงานด้านการเงินและการธนาคาร เป็นต้น
ขั้นตอนการประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์

การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ
1. การเตรียมข้อมูลเข้า (Input Data)
คือการเก็บรวบรวมข้อมูลให้พร้อมที่จะทำการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผล ซึ่งประกอบไปด้วย
1.1 การลงรหัส (Coding) คือการใช้รหัสแทนข้อมูล ซึ่งทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปที่กระทัดรัดเพื่อสะดวกแก่การประมวลผล รหัสที่ใช้อาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลขก็ได้
1.2 การแก้ไข (Editing) คือการตรวจสอบข้อมูล ให้มีความถูกต้อง และเป็นไปได้ (เช่น ข้อมูลอายุ ควรจะอยู่ระหว่าง 0 - 100 ปี เป็นต้น) ก่อนนำไปใช้งาน โดยมีการปรับปรุงแก้ไขเท่าที่จำเป็น
1.3 การแยกประเภท (Classifying) คือ การจัดประเภทของข้อมูล หรือจำแนกข้อมูลออกเป็นกลุ่มเพื่อสะดวกแก่การนำไปประมวลผล เช่น ร้านค้าย่อย อาจจะจำแนกเป็น ชนิดของสินค้า แผนกที่ขาย ผู้ขาย หรือจำแนกหมวดอื่นๆ ตามที่ผู้จัดร้านเห็นว่ามีประโยชน์ต่อการดำเนินงาน
1.4 การแปรสภาพข้อมูล (Transforming) คือ การเปลี่ยนสื่อ หรือตัวกลางที่ใช้บันทึกข้อมูลเพื่อให้อยู่ในรูปที่สามารถนำไปประมวลผลต่อไปได้ เช่น การเจาะข้อมูลลงบนบัตร เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถรับไปประมวลผลได้

2. การประมวลผล (Processing)
ได้แก่ วิธีการจัดการกับข้อมูล ซึ่งอาจเป็นการบวก ลบ คูณ หาร หรือการคำนวณ และเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ ที่กำหนดไว้

3. การนำเสนอข้อมูล (Output)
คือ การเอาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงให้ผู้อื่นทราบ อาจจะแสดงไว้ในรูปรายงาน ตาราง หรือแบบใดก็ได้ที่สามารถนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
3.1 การสรุปผล (Summarizing) คือการนำเอาข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่มากลั่นกรอง และย่อลงให้เหลือเฉพาะส่วนที่จำเป็น เพื่อที่จะนำไปปฏิบัติให้คล่องตัว และใช้ประกอบการตัดสินใจ
3.2 การเก็บข้อมูล (Storing) เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ได้อีกในอนาคตจึงจำเป็นต้องมีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ ในระบบคอมพิวเตอร์มักจะบันทึกลงเทปแม่เหล็กหรือจานแม่เหล็ก
3.3 การค้นหาและการเรียกใช้ข้อมูล (Searching and Retrieving) คือ การค้นหาข้อมูลในแฟ้มข้อมูล และเรียกข้อมูลนั้นกลับมาใช้งาน (เช่นนำข้อมูลกลับมาแก้ไข ปรับปรุง)
3.4 การทำสำเนาข้อมูล (Reproduction) ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลดิบที่ได้มาใหม่ หรือข้อมูลจากการประมวลผล ในบางครั้งต้องการข้อมูลหลายชุด จึงจำเป็นต้องมีการสำเนาข้อมูลออกมาใช้หลายๆ ชุด


--------------------------------------------------------------------------------

ระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer processing)
สามารถแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้
1. การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing system)
หมายถึงการประมวลผลข้อมูลที่ต้องมีการรวบรวมข้อมูลให้มากพอควร โดยใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งในการเก็บรวบรวม เมื่อมีการสะสมข้อมูลครบเวลาที่กำหนด จึงนำไปประมวลผล ระบบเครื่องที่ประมวลผลแบบนี้เรียกว่าระบบออฟไลน์ (Off-line system)

2. การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive processing system)
เป็นวิธีการประมวลผลที่รับข้อมูลที่เกิดขึ้นเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง และเครื่องสามารถที่จะโต้ตอบข้อมูลที่รับเข้ามาทันที (ข้อมูลที่เข้าไปแต่ละรายการจะถูกประมวลผลทันที) เช่น ระบบการฝากถอนเงินโดยเครื่อง ATM เป็นต้น การทำงานในระบบนี้เรียกอีกอย่างว่าระบบออนไลน์ (On-line system) ซึ่งระบบ On-line นี้ยังมีประเภทย่อยๆ อีก 2 ประเภท คือ
2.1 ระบบการประมวลผลโดยใช้เวลาจริง (Real-time processing) เป็นระบบที่ต้องการความรวดเร็วในการตอบสนองข้อมูลสูงมาก (ข้อมูลที่ตอบสนองมาต้องถูกต้อง แน่นอน แม่นยำ ทันต่อเวลา)
2.2 ระบบการประมวลผลแบบเวลา (Timesharing processing) เป็นระบบที่ให้ผู้ใช้หลายๆ คนสามารถทำงานพร้อมๆ กันได้ โดยการแบ่งเวลาหน่วยประมวลผลกันใช้งาน โดยการผ่านเครื่องเทอร์มินัล ซึ่งเป็นสถานีที่ใช้ในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ และสามารถจัดสรรหน่วยความจำของระบบให้ผู้ใช้ได้ตามความต้องการของงาน

3. การประมวลผลโดยใช้ตัวประมวลผลมากกว่า 1 ชุด (Multiprocessing system)
หมายถึงการประมวลผลโดนอาศัยหน่วยประมวลผลกลางมากกว่า 1 ชุด โดยกำหนดให้ทำงานในเวลาพร้อมๆ กัน (อาจจะเสริมการทำงาน หรือ สำรองการทำงานซึ่งกันและกัน) นิยมใช้กับงานที่จำเป็นต้องมีการประมวลผล อยู่ตลอดเวลา

4. การประมวลผลแบบหลายโปรแกรม (Multiprogramming system)
ระบบ Multiprogramming system หรือ Multi tasking system หมายถึงระบบการประมวลผลที่ในขณะเวลาใดเวลาหนึ่งสามารถมีโปรแกรม อยู่ในระบบการประมวลผลมากกว่า 1 โปรแกรมได้ กล่าวคือ ในขณะที่โปรแกรมหนึ่งกำลังทำงานอยู่ ผู้ใช้สามารถที่จะเรียกโปรแกรมอื่น มาทำงานซ้อนได้ และสามารถที่จะสลับกันทำงานระหว่างโปรแกรมที่เปิดใช้งานอยู่ได้




ที่มา

//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data3.html







โดย: นายปิยะ หอมชื่น 51241151144 IP: 125.26.176.50 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:15:36:56 น.  

 
1.อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)

ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม
ที่มา
//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html


โดย: นางสาวพิพิทย์ชยานันต์ สีลาเวช 512411511 33 หมุ่ 05 IP: 125.26.176.50 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:15:37:51 น.  

 
1.อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)

ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม
ที่มา
//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html


โดย: นายสันทัด คูหานา 51241151128 IP: 125.26.176.50 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:15:38:23 น.  

 
ข้อที่ 1

วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าในระบบคอมพิวเตอร์มักมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ก็สามารถที่จะทำงานได้แล้วโดยที่หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่ต่างๆ คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม และหน่วยความจำ โดยหน่วยรับข้อมูลจะรับข้อมูล จาก ผู้ ใช้แล้วนำมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำ เพื่อให้หน่วยคำนวนและตรรกะ ทำการประมวลผลข้อมูลนั้นและเมื่อได้ รับผลลัพธ์ก็สงไปแสดงผลที่หน่วยแสดงผล หรือนำไปเก็บที่หน่วยความจำหลัก ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของหน่วยควบคุม แต่เหนื่องจากหน่วยความจำภายในไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ในกรณีที่ข้อมูล ที่ใช้มีจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีการขยายหน่วยความจำ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในระหว่างที่มีการคำนวณอยู่ ซึ่งเรียก ว่าหน่วยความจำหลักทำให้สามารถขยายขอบเขตการทำงานของคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีขั้นตตอน การทำงาน เช่นเดิม แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีหน่วยความจำหลักช่วยในการทำงาน แต่ในบางครั้งงาน ที่ทำอาจ จะ มีขนาดของข้อมูลที่โตกว่าจะเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ทั้งหมด อีกทั้งข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักของ เครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเก็บไว้ได้เป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการทำงานเท่านั้นเมื่อเลิกทำงานข้อมูล ดังกล่าว ก็จะสูญหายไปด้วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ทุกๆครั้งที่ทำงานเกี่ยวกับข้อมูล ดังกล่าวจะต้องมีการใส่ข้อมูลเข้าไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการ เสียเวลาเป็นอย่างมาก หน่วยความจำสำรองจึงเกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่เก็บ ข้อมูลไว้อย่าง ถาวร ตราบเท่า ที่ต้องการ และสามารถที่จะเก็บข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้มาก ซึ่งทำให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้ โดยการนำเอา เฉพาะข้อมูลส่วน ที่ต้องการใช้งานในขณะนั้นเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ส่วนข้อมูลที่ยังไม่ได ้ใช้งาน ในขณะนั้นก็ยังคงเก็บ ไว้ที่หน่วยความจำสำรองเช่นเดิม และหากว่าต้องการ ประมวลผลข้อมูลชุดใหม่ ก็สามารถกระทำ ได้โดยเอาข้อมูงชุดใหม่เข้าไปในหน่วยความจำแทนข้อมูลชุดเดิม ด้วยวิธีการเช่นนี้จะเห็นว่าแม้ว่า ข้อมูลจะมีจำนวน มากเกินกว่าขนาดของหน่วยความจำหลักเท่าใดก็ตาม เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน กับข้อมูลชุดนั้นได ้ เสมอและนอกจากนี้การที่มีการเก็บข้อมูลไว้ใวส่วนหน่วยความจำสำรอง จะทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมมากขึ้น กล่าวคือ นอกจากจะใช้ข้อมูลเพื่อทำงานอย่างหนึ่งได้แล้วเราสามารถใช้ข้อมูลชุดเดียวกันนี้ไปใช้เพื่อทำงานอื่นๆๆได้อีก โดยใช้ร่วมกับอีกโปรแกรมหนึ่งหรือให้โปรแกรมอื่นมาอ่านข้อมูลไปใช้งาน หากข้อมูลชุดนี้มีข้อสนเทศภายใน ที่ต้องการกล่าวโดยสรุปคือ ข้อมูลชุดหนึ่งๆสามารถใช้ได้กับโปรแกรมหลายๆโปรแกรม หากข้อมูลชุดนั้น เป็นที่ต้องการของโปรแกรมนั้น ซึ่งการเก็บข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง นี้จะต้องมีการจัดเก็บในรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้งานข้อมูลนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่จัดเก็บใน หน่วยความจำสำรอง จะเก็บอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังรายละเอียดที่กล่าวมาแล้ว การนำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรอง คือขั้นตอนการอ่านข้อมูล หรือ เขียนข้อมูลเมื่อต้องการบันทึกข้อมูล ดังนั้นวิธีการประมวลผลก็วิธีที่ว่าด้วยการอ่าน/หรือการเขียน ข้อมูลบนหน่วย ความจำสำรอง ดังนั้นจึงสามารถแบ่งวิธีการเข้าถึงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลตามรูปแบบการถึงหน่วยความจำสำรอง คือ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล


ที่มา //www.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm

ข้อที่ 2

การอธิบายการประมวลผล (Process Description)


การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้โดยการใช้แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) โดยการเขียนสัญลักษณ์การประมวลผลนั้นจะเขียนเพียงหัวข้อในการประมวลผลเท่านั้น ยังไม่มีการเขียนคำอธิบายโดยละเอียด ซึ่งเราสามารถเขียนอธิบายโดยละเอียดได้ด้วยการเขียนคำอธิบายการประมวลผล (Process Description) หรือ Process Specification

จุดประสงค์ของการเขียน Process Specification เพื่อใช้เป็นสื่อระหว่างผู้ใช้ระบบโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ระบบ ได้เข้าใจตรงกันในการประมวลผลนั้น โดยโปรแกรมเมอร์จะเข้าใจการประมวลผลนั้นเพื่อใช้ในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะในกรณีของการมีโปรแกรมเมอร์หลายคนในการเขียนโปรแกรมในการสื่อให้เข้าใจตรงกัน ส่วนผู้ใช้ระบบจะได้เห็นถึงผลการวิเคราะห์ของนักวิเคราะห์ระบบว่าเข้าใจถูกต้องหรือไม่

จุดมุ่งหมายในการใช้การอธิบายการประมวลผลนั้นสรุปได้ 3 ข้อคือ

1. เพื่อให้การประมวลผลนั้นชัดเจน เข้าใจง่าย

การใช้วิธีนี้จะทำให้ผู้วิเคราะห์ได้เรียนรู้รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนในการประมวลผลการทำงานในส่วนที่ไม่ชัดเจนต่างๆ จะถูกบันทึก และเขียนออกมาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจะรวมมาจากการสืบค้นข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลวิธีต่างๆ

2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถูกต้องในการอธิบายในรูปแบบเฉพาะของการประมวลผลนั้นระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

ในการสื่อถึงกันให้เข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์และโปรแกรมเมอร์นั้น ถ้าไม่สื่อกันให้ชัดเจนจะมีผลตามมาอย่างมากเมื่อลงรหัสโปรแกรม เนื่องจากจะต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย และอาจทำให้การบริหารโครงการไม่เป็นไปตามกำหนดเวลาอีกด้วย ดังนั้นในการอธิบายการประมวลผลจึงมีส่วนช่วยอย่างมากในการสื่อการประมวลผลให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

3. เพื่อตรวจสอบการออกแบบระบบ

โดยการประมวลผลนั้นจะถูกต้องหรือไม่ในด้านข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่อง การออกรายงานทั้งหน้าจอ และการพิมพ์รายงานนั้นจะเป็นไปตามการวิเคราะห์ตามแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) หรือไม่ จะสามารถตรวจสอบได้จากการอธิบายการประมวลผลนี้

การเขียนคำอธิบายการประมวลผลนี้จะมีเฉพาะโพรเซสในระดับล่างสุดเท่านั้น ระดับแม่เราจะไม่เขียนคำอธิบายเนื่องจากเราเขียน DFD ระดับแม่เพื่อใช้เป็นเครื่องมือเขียน DFD ระดับลูกเพื่อให้เกิดการแตกโครงสร้างแบบบน-ลง-ล่าง (Top - Down) และเมื่ออธิบายโพรเซสระดับลูกแล้วก็หมายความรวมถึงการทำงานระดับแม่โดยปริยาย


วิธีการที่ใช้อธิบายการประมวลผลที่จะกล่าวในที่นี้มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธีคือ

1. ประโยคโครงสร้าง (Structure Sentences)

2. การตัดสินใจแบบตาราง (Description Tables)


เราจะเลือกใช้วิธีการอันใดอันหนึ่งหรือใช้ปนกันก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม แต่ไม่ว่าจะเขียนด้วยวิธีใดๆ เมื่อเขียนแล้วควรจะมีคุณสมบัติ ดังนี้

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นสามารถนำมาตรวจสอบความถูกต้องกับผู้ใช้ได้ง่ายการเขียนเป็นประโยคโครงสร้างอาจจะไม่เหมาะสมถ้าต้องนำมาตรวจสอบกับผู้ใช้เพราะว่าคำอธิบายนั้นจะยาวและคำอธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไข หรือการทำงานซ้ำก็เขียนไม่สะดวก ตัวอย่างเช่น เงื่อนไขที่มี AND,OR หรือ NOT เป็นต้น

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นควรจะใช้สื่อสารกับผู้อื่นที่เกี่ยวข้องในระบบได้ง่ายผู้อื่นที่เกี่ยวข้องอาจจะเป็นผู้ใช้ ผู้จัดการ ผู้ตรวจสอบ เป็นต้น การเขียนคำอธิบายเป็นประโยคโครงสร้าง หรือเขียนเป็นการตัดสินใจแบบตารางจะเหมาะสมกับบุคคลเหล่านั้นเพราะว่าทั้ง 2 วิธีนั้นง่ายต่อการทำความเข้าใจถึงแม้ว่าอาจจะยาวไปหน่อยก็ตาม

โดยทั่วไปแล้ววิธีการเขียนแบบประโยคโครงสร้างเป็นที่นิยมใช้กันมากที่สุด และในโครงการเดียวกันควรจะเลือกใช้วิธีเดียวกันเพื่อให้ง่ายต่อการสื่อสาร การจะเลือกใช้วิธีการมากกว่าหนึ่งวิธีก็อาจจะเป็นไปได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ

1. ความชอบของผู้ใช้

2. ความชอบของผู้เขียน (นักวิเคราะห์ระบบ)

3. ลักษณะการทำงานของโพรเซส


ที่มา //www.geocities.com/S_Analysis/FlowChart2


โดย: นายสุรพล อินทร์ธิราช หมู่ 05 IP: 125.26.176.50 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:15:39:11 น.  

 
1.อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)

ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม


โดย: นายจักรกริช โพธิวงษ์ หมู่ 15 ศุกรเช้า IP: 192.168.1.103, 125.26.174.249 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:20:04:20 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ


การเข้าถึงแบบสุ่ม

เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ


การเข้าถึงแบบลำดับ

เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ


ที่มา : //www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html


โดย: น.ส. นาริณี อินทร์ดี IP: 125.26.160.68 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:0:10:44 น.  

 
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป


การประมวลผลข้อมูล

ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน การประมวลผลข้อมูล เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายอย่าง ประกอบกันคือ

1. การรวบรวมข้อมูล
2. การแยกแยะ
3. การตรวจสอบความถูกต้อง
4. การคำนวณ
5. การจัดลำดับหรือการเรียงลำดับ
6. การรายงานผล
7. การสื่อสารข้อมูลหรือการแจกจ่ายข้อมูลนั้น

การประมวลผลข้อมูล จึงเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญ เพราะข้อมูลที่มีอยู่ รอบๆ ตัวเรามีเป็นจำนวนมากในการใช้งานจึงต้องมีการประมวลผล เพื่อให้เกิดประโยชน์ กิจกรรมหลักของการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จึงประกอบด้วยกิจกรรมการ เก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งต้องมีการตรวจสอบ ความถูกต้องด้วย กิจกรรมการประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งแยกข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ และกิจกรรมการเก็บรักษาข้อมูลซึ่งอาจต้อง มีการทำสำเนา ทำรายงาน เพื่อแจกจ่าย
[แก้ไข] วิธีการประมวลผล

มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing) หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรง จึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภา ผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน


ทีมา : //www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5#.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A1.E0.B8.A7.E0.B8.A5.E0.B8.9C.E0.B8.A5.E0.B8.82.E0.B9.89.E0.B8.AD.E0.B8.A1.E0.B8.B9.E0.B8.A5


โดย: น.ส. นาริณี อินทร์ดี IP: 125.26.160.68 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:0:19:26 น.  

 




2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ การเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access)
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่ต้องผ่านเรคคอร์ดที่อยู่ก่อน การเข้าถึงเรคคอร์ดแบบสุ่มจะเร็วกว่าแบบโดยลำดับมาก เหมาะสมกับงานที่ต้องการความเร็วในการดึงข้อมูลมาก ๆ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมักเป็นดิสก์ หรือจานแม่เหล็ก

การเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)
เป็นการเข้าถึงข้อมูลทีละเรคคอร์ดเรียงไปตามลำดับของการจัดเก็บ ถ้าจะดึงข้อมูลเรคคอร์ดที่ 10 มาใช้จะต้องอ่านข้อมูลผ่านเรคคอร์ดที่ 1 ถึง 9 ก่อนเสมอ เมื่อถึงเรคคอร์ดที่ 10 จึงจะสามารถดึงข้อมูลออกมาใช้ได้ สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้มักเป็น เทป (Tape)

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ 2 วิธี
(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน




















โดย: น.ส.สุวรรณี ระวะใจ หมู่เรียนที่ 22 อังคารเช้า IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:10:15:54 น.  

 
ข้อ1 การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ

ในการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ควรคำนึงถึงประสิทธิภาพในการดึงข้อมูลเป็นสำคัญ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในบทที่ 2 การดึงข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองจะต้องใช้เวลานานกว่ามากเมื่อเทียบกับการดึงข้อมูลปริมาณเท่ากันจากหน่วยความจำหลัก ด้วยเหตุนี้ จึงควรเลือกใช้การจัดโครางสร้างแฟ้มข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับการใช้งานมากที่สุด

ปัจจัยในการเลือกใช้การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลให้เหมาะสมกับความต้องการ ได้แก่ปริมาณข้อมูล ความถี่ในการดึงข้อมูล ความถี่ในการปรับปรุงข้อมูล และจำนวนครั้งที่อ่านข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองต่อการค้นหาหรือดึงข้อมูลระเบียนหนึ่ง
ที่มา//74.125.153.132/search?q=cache:OZ_HSYN5ZGwJ:61.19.218.122/nongsua/webkrung/40201/ch5.doc+%E0%B8%A7%E0%B8%

ข้อ 2ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล

1) การรวบรวมเอกสารข้อมูล

เอกสารข้อมูล หมายถึง เอกสารข้อมูลที่ได้ถูกบันทึก โดยแหล่งใช้ข้อมูลนั้น เช่น บัตรลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา ใบรายชื่อประวัติหมู่เรียน เป็นต้น เอกสารข้อมูลนับเป็นสิ่งจำเป็นยิ่ง หากเอกสารผิดพลาดหรือไม่ครบถ้วน รายงานที่ได้จากการประมวลผลย่อมผิดพลาดไปด้วย ฉะนั้น งานในขั้นนี้ก็คือจะต้องสร้างวิธีการควบคุม ซ่งส่วนใหญ่มักใช้การจัดเอกสารให้เป็นกลุ่ม มีใบนำส่งที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับจำนวนเอกสารจากจุดต่างๆถ้าไม่ครบถ้วน หรือมีข้อผิดพลาดก็จะสามารถทราบจุดที่ติดต่อสอบถามได้ง่าย

สำหรับการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์อาจจะหมาถึงการรวบรวมแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กันไว้ในแหล่งข้อมูลที่สามารถเรียก ใช้ ดังเช่นในระบบฐานข้อมูลที่ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลจำนวนมากนั่นเอง

2) การเตรียมข้อมูล

การเตรียมขข้อมูล หมายถึง การจัดเตรียมข้อมูลที่รวบรวมมาแล้วให้อยู่ในรูปที่สะดวกต่อการประมวลผล ซึ่งได้แก่ งานต่างๆดังต่อไปนี้

- งานบรรณาธิกรเบื้องต้น (Preliminary Editing) คือ การนำข้อมูลที่รวบรวมได้ของแต่ละหน่วยงานมาตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วน และ ทำการปรับปรุงแก้ไข ในกรณีที่เอกสารมีข้อผิดพลาดต้องแก้ไขใหม่ ถ้าเป็นข้อมูลที่สำคัญ เช่นตัวเลขทางการเงินที่จะยอมให้คลาดเคลื่อนไม่ได้ควรส่งไปยังแหล่วงที่ให้เอกสารข้อมูล ทำการแก้ไขปรับปรุง การบรรณาธิกรเบื้องต้นนี้นับว่าเป็นสิ่งสำคัญยิ่งเพราะถ้าข้อมูลผิดพลาดย่อมทำให้ผลสรุป หรือรายงานที่ได้ผิดพลาดไปด้วย

- การลงรหัส (Coding) หมายถึง การใช้รหัสแทนข้อมูล เช่น จากข้อมูลเกี่ยวกับภูมิลำเนาของนักศึกษาอาจจำแนกำด้เป็นเขตๆ

ในส่วนของการประมวลผลแฟ้มข้อมูลหมายถึงการสร้างความสัมพันธ์ของข้อมูลระหว่างแฟ้มข้อมูล การออกแบบโปรแกรมเพื่อการประมวลผลแฟ้มข้อมูลต่างๆ

3) การประมวลผล

เมื่อผ่านการรวบรวมและเตรียมข้อมูลแล้วเราสามารถใช้วิธีการประมวลผลวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีดังที่ได้กล่าวมาแล้ว เช่น การคำนวณ การเรียงลำดับ เป็นต้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์เป็นข้อสนเทศ ซึ่งอาจจะอยู่ในรปรายงาน ตาราง หรือ กราฟ เราแบ่งประเภทของการประมวลผลข้อมูลโดยพิจารณาจากอุปกรณืที่ใช้เป็น 3 ประเภทด้วยกันคือ

ก. การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) ได้แก่ การประมวลผลที่ใช้แรงงานมนุษย์เป็นหลัก โดยมีอุปกรณ์ช่วย คือ กระดาษ ดินสอ เครื่องคิดเลข ใช้ได้ดีกับการประมวลผลที่มีข้อมูลไม่มากนัก เช่น การคำนวณค่าจากตารางโดยใช้เครื่องคิดเลขโดยการกดปุ่มคำสั่งทีละขั้นตอน ถ้ามีข้อมูลมากๆ วิธีการนี้จะให้ผลลัพธ์ที่ช้ามาก

ข. การประมวลผลแยยกึ่งอัตโนมัติ (Semi-autometic) ได้แก่การประมวลผลที่ใช้เครื่องจักรเฉพาะงานช่วย เช่น เครื่องจักรลงบัญชีสมุดเงินฝาก-ถอน ของธนาคารเครื่องนี้มีความสามารถในการคำนวณด้วย กระทำโดยเอาสมุดเงินฝากถอนใส่บนเครื่อง แล้วพนักงานกดตัวเลขข้อมูลจำนวนเงินเดิมที่มีอยู่ และกดตัวเลขจำนวนเงินที่ต้องการเพิ่มหรือลดเข้าไป เครื่องจะทำการบวกหรือลบยอดบัญชี และสามารถพิมพ์ยอดคงเหลือลงในช่องยอดเงินคงเหลือได้อย่างถูกต้อง การประมวลผลแบบนี้สามารถทำได้รวดเร็วและถูกต้องกว่าวิธีแรก จึงเหมาะกับงานที่มีข้อมูลปานกลาง

ค. การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรรกนิกส์ (Electronic Data Processing) ได้แก่การประมวลผลข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ งานที่ควรใช้กับการประมวลผลแบบนี้ ควรเป็นงานที่มีข้อมูลมากๆ ซึ่งต้องการความแม่นยำและรวดเร็ว มีขั้นตอนสลับซับซ้อนหรือใช้การคำนวณมากๆ เช่น งานวิจัย วางแผนและงานบัญชี เป็นต้น ประมวลผลข้อมูลจะเสียค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานมากกว่า 2 แบบแรก


โดย: น.สชไมพร ตะโคตร ม.29 พุธ(ช้า) 520404103 IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:11:13:03 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบการเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป
การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม
ที่มา//it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#3
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบมี2วิธี
1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่อง
ปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวล
2) การประมวลผลแบบกลุ่ม
(batch processing)
การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/2/c2_7.htm#





โดย: นางสาวกิตติยาพร คนดี(51040901202)สาขานิติศาสตร์ จันทร์บ่าย หมู่1 IP: 124.157.149.128 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:19:44:37 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
การเข้าถึงข้อมูล


ตอบ
· การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ

· การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการเหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

ที่มา
//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html


2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

ตอบ

ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (DATA PROCESSING)
มี 2แบบ ดังนี้

· การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เมื่อถึงกำหนด ข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว

· การประมวลผลแบบทันที (real-time processing) การประมวลผลแบบทันที เป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล

ที่มา
//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html




โดย: นาวสาวกาญจนา อุปวันดี (หมู่01 วันจันทร์บ่าย) IP: 113.53.164.173 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:21:57:30 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม
ที่มา//www.pck1.go.th/krusuriya/ebook3/page/glossary.htm#7

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

1.การประมวลผลข้อมูล
2.การประมวลผลความรอบรู้
3.การประมวลผลแบบกลุ่ม
4.การประมวลแบบเชื่อมตรง
5.การประมวลผลแบบรวมศูนย์
เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการประมวลผลย่อยหลายกระบวนการประกอบกัน ตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ การทำรายงาน การจัดเก็บ การทำสำเนา รวมถึงการแจกจ่ายและการสื่อสารข้อมูล
ที่มา//www.pck1.go.th/krusuriya/ebook3/page/glossary.htm#8







โดย: นางสาวประสิทธิ์พร เพ็งสอน(หมู่01 วันจันทร์บ่าย) IP: 113.53.164.173 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:21:58:58 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
-ตอบ การจัดระบบแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
ความหมายของแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
เป็นการจัดเรคอร์ดในแฟ้มที่ทำให้เราสามารถเข้าถึงเรคอร์ดแบบตามลำดับ (Sequential access) ของค่าฟิลด์ที่เป็นคีย์ของเรคอร์ดเหล่านั้น หรืออาจจะทำให้เราเข้าถึงเรคอร์ดแบบสุ่ม (random access) โดยใช้ค่าคีย์ตัวเดียวกันได้
ในการจัดระบบแฟ้มแบบนี้จะต้องกำหนดดังนี้
กำหนดดัชนี เป็นตัวชี้ไปยังเรคอร์ดที่เก็บข้อมูลที่เป็นดรรชนี ทำหน้าที่ให้บริการทำตามคำร้องขอของผู้ใช้ในการที่จะเข้าถึงเรคอร์ดใด ๆ ในไฟล์
กำหนดไฟล์ข้อมูล จัดเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบโดยเก็บแบบเรียงตามลำดับ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของแฟ้มข้อมูลประเภท Sequential file โดยเพิ่ม 1. Index เพื่อให้มีการเข้าถึงข้อมูลได้ทั้งแบบสุ่มและแบบลำดับ 2. Overflow เพื่อจัดการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูลในส่วนที่เพิ่มเติม
การนำแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดรรชนีไปใช้งานมีแนวทางพื้นฐานในการจักการแฟ้ม คือ
1. Block index and data (Dynamic)
2. Prime and overflow data (Static)
Block index and data (Dynamic)
วิธีการนี้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ CDC โดยใช้การจัดการไฟล์แบบ SIS (Scope Index Sequential) SIS เป็นไฟล์ที่แบ่งเป็น Data Block กับ Index Block แต่ละ Data Block หรือ Index Block จะถูกส่งผ่านด้วยคำสั่งจัดการ I/O เพียงคำสั่งเดียว Data Block จะมีขนาดคงที่ประกอบด้วย Header ของบล็อกของตัวเรคอร์ดต่าง ๆ (ที่เป็นแบบ logical record) และคีย์ของเรคอร์ดทั้งหมดที่อยู่ใน Data Block นั้น
รูปที่ 1 รูปแบบของ data block ของCDC Computer
Header R1 R2 R3 …padding… Key3 Key2 Key1
ใน SIS ไฟล์นอกจากจะมีส่วนของ Data Block แล้วยังจะมีส่วนของ Index block เพื่อที่จะทำให้สามารถเข้าถึงตัวเรคอร์ดได้เร็วขึ้น Index Block จะมีขนาดคงที่ประกอบด้วยค่าของ Header และค่าคีย์กับแอดเดรสของ Data Block ที่เกี่ยวข้อง ดังรูป
รูปที่ 2 รูปแบบของ index block บน CDC computer
กล่าวโดยสรุป Block index and data ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. Index file จัดอยู่ในรูป block มีโครงสร้างแบบ tree structureee
2. Data file เป็นไฟล์ที่ทำการเก็บข้อมูล
การค้นหาข้อมูล ทำได้ 2 วิธี
การค้นหาโดยตรง จะค้นจาก Block Index
ค้นหาแบบลำดับ จะทำการค้นหาข้อมูลตาม Block Data
การแทรกข้อมูล
ในการแทรกข้อมูลสามารถแทรกได้เลยถ้ามีที่ว่าง ถ้าไม่มีที่ว่างต้องทำการ Split block แล้วแก้ไข Index Block ที่เกี่ยวข้อง เมื่อ Block ดัชนีระดับสูงสุดเต็มจะทำการ Split block และจะเพิ่มบล็อกของดรรชนีระดับสูงขึ้นไปอีก 1 ระดับ
การลบข้อมูล
จะเลื่อนระเบียนที่มีค่าคีย์สูงกว่าเข้ามาแทนที่ตำแหน่งระเบียนที่ถูกลบไป ขยับเพื่อให้เนื้อที่ว่างทั้งหมดมาอยู่ด้วยกัน ถ้าระเบียนที่ลบเป็นระเบียนตัวแรกของบล็อก จะต้องปรับปรุงค่าหลักของดรรชนีในระดับถัดไป
ข้อพิจารณาวิธีนี้
1. ความลึกของดัชนี ซึ่งมีผลต่อจำนวนครั้งของ I/O operation
2. ปริมาณการเพิ่มและการลบออก ของระเบียน
3. ชนาดของบล็อกดรรชนีและบล็อกข้อมูล
4. Prime and Over flow data area
เป็นวิธีการแบบ Cylinder & Surface Indexing เป็นวิธีการที่ใช้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ IBM อาจเรียกวิธีการนี้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นวิธีการจัดการไฟล์แบบ ISAM (Index Sequential Access Method) วิธีการนี้เป็นวิธีการที่อาศัยโครงสร้างพื้นฐานของแผ่นดิสก์ ไฟล์ ISAM จะถูกแบ่งส่วนเป็น 3 ส่วน คือ
1. Index Area เป็นส่วนที่ประกอบด้วยดัชนีของ Cylinder ของข้อมูล
2. Prime Data Area เป็นส่วนที่จัดเก็บตัวเรคอร์ดของข้อมูล
3. Independent Overflow Area ส่วนอิสระ
ข้อมูลในไฟล์ ISAM จะจัดเก็บอยู่ในหลาย Cylinder แต่ละ Cylinder จะประกอบด้วย Surface Index ของข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ใน Cylinder นั้น ๆ ในส่วนของ Prime Data Area จะมีเรคอร์ดจัดเก็บอยู่เรียงตามลำดับตามค่าคีย์ โดยปกติแล้ว Surface Index จะเก็บอยู่ในหน้า (surface) ที่ 0 ของแผ่นและ Prime Data Area
จะเก็บอยู่บนหน้าที่ 1 ถึง n-1 และ Cylinder จะเก็บอยู่ในหน้าที่ n ของ Cylinder แต่ละหน้าของ Prime Data Area จะมีขนาดความจุที่และมีเรคอร์ดจัดเก็บอยู่เรียงไปตามลำดับค่าคีย์ จากค่าน้อยไปมากสังเกตว่า Cylinder Index Overflow Area ส่วนของPrime Data จะอยู่บน Cylinder ระหว่าง Cylinder บนสุดและล่างสุด
Overflow Area เป็นส่วนที่เราสงวนเอาไว้เผื่อการล้นของเรคอร์ดอยู่ในส่วนของ Prime Data Area เราจึงอาจเรียกว่าเป็น Embedded Overflow หากมีเรคอร์ดล้นออกจากส่วนของ Prime Data Area เมื่อใด ส่วนเรคอร์ดที่เกินมานั้นก็จะถูกจัดเก็บแบบเรียงไปตามลำดับใน Overflow Area นี้ ข้อดีของ Embedded Area คือเป็นพื้นที่ที่อยู่ใกล้กับ Prime Data Area เราไม่จำเป็นต้องจัดการเข้าถึงเรคอร์ดเพื่อดำเนินการค้นหาเรคอร์ดเพื่อดำเนินการค้นหาเรคอร์ดในไฟล์มากนัก ข้อด้อยของการใช้ Overflow Area ในส่วนนี้คือเรามักจะต้องกำหนดเนื้อที่ส่วนนี้ให้มีขนาดตายตัวสำหรับทุก Cylinder จะไม่เท่ากันก็ตาม ดังนั้จึงเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่โดยเปล่าประโยชน์
ในการออกแบบแฟ้มลำดับเชิงดรรชนีจะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นดรรชนี (Index area) ประกอบด้วย
- master index
- cylinder index
- track index
2. ส่วนที่เก็บข้อมูล (data file) ประกอบด้วย
- Prime Area
- Overflow Area
5. ข้อพิจารณาของแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
1. ในแต่ละเรคอร์ดควรมีเขตข้อมูลอะไรบ้างที่ประกอบกัน
2. ควรใช้ฟิลด์ใดเป็น primary key
3. จำนวนเรคอร์ดที่คาดว่าจะแทรกในอนาคต ปกติเผื่อไว้ 40 % ของระเบียนช่วงสร้างแฟ้มครั้งแรก
4. จะเลือกโครงสร้างแบบใด เช่น block index and data เพราะมีประสิทธิภาพมากกว่า

การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ



ที่มา
//cc.1asphost.com/wAcheerapan/8.doc
//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
-ตอบ วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นางสาวปิยนุช แสงจันทร์(หมู่01 วันจันทร์บ่าย) IP: 113.53.164.173 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:22:01:35 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

1.การค้นหาข้อมูลแบบสุมหรือโดยตรง (Random / Direct Access File)
การค้นหาข้อมูลประเภทนี้ เป็นการค้นหาแบบข้อมูลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล หรืออ่านข้อมูลจากต้นแฟ้มข้อมูลนั้น ๆ การค้นหาแบบสุ่มหรือโดยตรงนี้ จะมี คีย์หลัก เป็นตัวกำหนดตำแหน่งข้อมูล ในระเบียน เป็นวิธีการที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการทำงานเพราะตำแหน่งของระเบียนจะมีเท่ากับขนาดของ คีย์ เช่น ระเบียนลำดับที่ของ นักเรียน เป็นคีย์หลัก มีความกว้างเท่ากับ 2 จะมี คีย์หลัก อยู่ในช่วย 1-99 และในลักษณะ เดียวกันจะมีตำแหน่งข้อมูล
คำอธิบาย

ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลของนักศึกษาคนที่ 5 โดยมีลำดับที่เป้นคีย์หลัก คือ 5 การเข้าถึงข้อมูลจะเข้าถึง ข้อมูลที่เก็บใน ตำแหน่งที่ 5 ทันทีจึงเป็นวิธีที่เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วที่สุด แต่การทำงานของการแปลงส่งโดยตรงนี้ มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กับ คีย์หลักที่เป็นอักษรได้และไม่เหมาะกับแฟ้มข้อมูลที่มี Field จำนวนมาก เพราะต้องใช้ เนื้อที่จองตำแหน่ง มาก เช่น คีย์หลักเป็นรหัสพนักงาน มีความกว้าง 10 ฉะนั้น ตำแนห่งของข้อมูลที่เป็นไปได้อยู่ ในช่วง 1-9999999999 จะทำให้สิ้นเปลืองเนื้อที่

2.การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search หรือ Linear Search)

การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายและใช้ได้กับตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ หรือไม่เรียงตามลำดับก็ได้การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
ข้อดี

1. ง่ายต่อการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการจัดเก็บข้อมูล
2. ใช้กับสื่อข้อมูลได้ทุกประเภท จึงสามารถเลือกเก็บในสื่อข้อมูลราคาถูก
3. สามารถใช้กับงานที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมาก
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงได้
2. การประมวลผลข้า เพราะเสียเวลาในการอ่าน Record ที่ไม่ต้องการประมวลผล

ที่มา//members.fortunecity.com/one2many/dstruct/ff7.html

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm






โดย: นายวิทวัฒน์ พากุล รหัสนักศึกษา 52042055102 หมู่ 29 ( พุธ เช้า ) IP: 192.168.1.103, 119.42.82.83 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:19:44:16 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ชนิดและโครงสร้างของตัวดัชนี
จากพัฒนาการของอุปกรณ์ชนิดเข้าถึงโดยตรงได้ ทำให้เราสามารถดัดแปลงแฟ้มลำดับให้เป็นแฟ้มที่เข้าถึงระเบียนได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่มโดยผ่านคีย์หลัก แฟ้มข้อมูลดังกล่าวคือแฟ้มลำดับเชิงดัชนี

ระบบแฟ้มลำดับเชิงดัชนีคือวิธีการจัดเก็บระเบียนให้มีประสิทธิภาพเพื่อให้สามารถเข้าถึงระเบียนแบบลำดับโดยคีย์บางตัว ในขณะเดียวกันก็สามารถเข้าถึงระเบียนหนึ่งระเบียนใดแบบสุ่มโดยคีย์ตัวเดียวกันนั้น ข้อกำหนดที่สำคัญสำหรับแฟ้มข้อมูลชนิดนี้คือทุกระเบียนจะต้องมีคีย์ และแฟ้มข้อมูลจะต้องเก็บอยู่ในอุปกรณ์ Direct Access Storage Device (DASD) ส่วนดัชนีในระบบฐานข้อมูลนั้นเป็นโครงสร้างข้อมูลที่ทำให้ระบบการจัดการฐานข้อมูลสามารถค้นหาระเบียนในแฟ้มข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น เพื่อตอบสนองการสอบถามข้อมูลของผู้ใช้ แฟ้มข้อมูลที่ประกอบไปด้วยระเบียนเชิงตรรกเรียกว่าแฟ้มข้อมูล ส่วนแฟ้มข้อมูลที่ประกอบไปด้วย

โครงสร้างของแฟ้มลำดับเชิงดัชนีเป็นแฟ้มลำดับที่มีส่วนของดัชนีคอยชี้ตำแหน่งระเบียน โครงสร้างของส่วนดัชนีเป็นแบบ binary search tree เราใช้ดัชนีช่วยทางด้านการเข้าถึงระเบียนเฉพาะราย ในขณะที่ส่วนของแฟ้มลำดับใช้บริการด้านการเข้าถึงแบบลำดับ การจัดโครงสร้างของแฟ้มลำดับเชิงดัชนีมี 2 วิธี คือ

Block Indexes and Data (dynamic) โครงสร้างของวิธีนี้ ทั้งส่วนของดัชนีและแฟ้มข้อมูลจัดเก็บในลักษณะของบล็อก โดยที่ส่วนดัชนีมีโครงสร้างแบบต้นไม้ และส่วนของแฟ้มข้อมูลมีโครงสร้างแบบลำดับที่มีเนื้อที่ว่างกระจายอยู่ตามกลุ่มของระเบียน ถ้าต้องการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ การค้นหาไม่จำเป็นต้องเริ่มจากส่วนของดัชนี แต่สามารถเข้าถึงระเบียนโดยเรียงตามลำดับของบล็อกข้อมูล บล็อกของข้อมูลต่างๆไม่จำเป็นต้องเก็บเรียงตามลำดับทางกายภาพ แต่ต้องเรียงตามลำดับของคีย์ โดยมีตัวเชื่อมในทุกๆบล็อกของข้อมูลใช้โยงข้อมูลให้เรียงตามลำดับเชิงตรรก
Prime and Overflow Data Area วิธีนี้เกี่ยวข้องกับลักษณะทางกายภาพของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลมากขึ้น แฟ้มลำดับเชิงดัชนี ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะทางกายภาพ แฟ้มลำดับเชิงดัชนี แบ่งเนื้อที่แฟ้มข้อมูล เนื้อที่ ของแฟ้ม แฟ้มลำดับเชิงดัชนีแบ่งเนื้อที่ออกเป็น
2.1 ส่วนดัชนี (index file) เป็นส่วนที่ช่วยให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยผ่านคีย์หลักอย่างสุ่ม

2.2 ส่วนเก็บข้อมูล มีโครงสร้างแบบแฟ้มลำดับ และประกอบด้วยระเบียนข้อมูล

2.3 เนื้อที่ส่วนเผื่อขยาย (overflow area) มีไว้สำหรับเก็บระเบียนที่จะแทรกเข้าไปใหม่ โดยไม่ต้องคัดลอกแฟ้มใหม่อย่างที่ทำกันในแฟ้มลำดับ

การเข้าถึงแฟ้มลำดับเชิงดัชนีอาจทำได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่ม ถ้าเป็นการเข้าถึงแบบลำดับนั้น ระเบียนต่างๆจะถูกเรียกใช้ในลักษณะเดียวกับแฟ้มลำดับ การเข้าถึงแบบลำดับสามารถเริ่มที่ระเบียนใดก็ได้
3.1 ชนิดและโครงสร้างของตัวดัชนี
3.2 ความแตกต่างระหว่างตัวดัชนีหลักและตัวดัชนีรอง
3.3 ประเภทของเทคนิคที่นำตัวดัชนีมาใช้ในการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลให้เร็วขึ้น




//sot.swu.ac.th/cp342/lesson09/ms3t1.htm





โดย: จ.ส.ต. เสกสิท วงศรีรักษา 51241151128 เสารืบ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:14:28:20 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม
ที่มา//www.pck1.go.th/krusuriya/ebook3/page/glossary.htm#7

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

1.การประมวลผลข้อมูล
2.การประมวลผลความรอบรู้
3.การประมวลผลแบบกลุ่ม
4.การประมวลแบบเชื่อมตรง
5.การประมวลผลแบบรวมศูนย์
เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการประมวลผลย่อยหลายกระบวนการประกอบกัน ตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ การทำรายงาน การจัดเก็บ การทำสำเนา รวมถึงการแจกจ่ายและการสื่อสารข้อมูล
ที่มา//www.pck1.go.th/krusuriya/ebook3/page/glossary.htm#8




โดย: จ.ส.อ. อาสา โสมประยูร 51241151211 เสาร์บ่าย หมู่05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:14:30:50 น.  

 
2
วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน


ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm



โดย: จ.ส.ต. หญิง พรรสุภา ชิตเกษร 51241151125 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:14:33:55 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

2.1 การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม

ที่มา//it.benchama.ac.th/ebook3/page/glossary.htm#3

2.2การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

//new.yupparaj.ac.th/











โดย: น.ส.จิตราภรณ์ ภุเกตุ หมู่ 8 พฤหัสเช้า IP: 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:16:41:01 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
=
อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ

ที่มา
//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html


(2.2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบไว้ก่อน

ที่มา : //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm
//www.ict.su.ac.th/th/ict-elearning/800110/week3/Week-03_Database_23-06-52.ppt#286,28,2. แบบสุ่ม (Direct/Random File Structure)





โดย: นางสาวจุรีพร โดคตชมภุ รหัส 52040332125 พฤหัส (เช้า) หมู่ 8 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:15:24 น.  

 
2.1

การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม

2.2
การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เมื่อถึงกำหนด ข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว

· การประมวลผลแบบทันที (real-time processing) การประมวลผลแบบทันที เป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล

ที่มา //itd.htc.ac.th/st_it51/it5144/npt/work/dsa/frame/e12.html




โดย: นางสาวเจนจิรา จุตตะโน หมู่8 พฤหัส(เช้า) รหัส 52040302126 IP: 1.1.1.236, 58.137.131.62 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:51:00 น.







2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ
การเข้าถึงแบบสุ่ม คือ การเข้าถึงข้อมูลที่บันทึกไว้โดยสุ่มหมายความว่าเข้าถึงได้ทุก ๆ จุดได้โดยทันทีทันใด เป็นต้นว่า การเข้าถึงข้อมูลที่เก็บในจานบันทึก ซึ่งจะใช้เวลาเท่ากันหมดไม่ว่าเก็บไว้ที่จุดไหน ต่างกับการเข้าถึงข้อมูลที่เก็บไว้ในแถบบันทึกหรือเทป ถ้าข้อมูลที่ต้องการอยู่ตอนปลาย ก็จะต้องรอให้เทปเดินหน้าไปจนถึงจุดนั้นเสียก่อน การเข้าถึงข้อมูลโดยวิธีนี้ จะมีหัวอ่าน/บันทึก (read head) ต่อกับก้านโลหะที่เคลื่อนเข้า/ออกได้ เหนือจานที่หมุนรอบแกนอีกทีหนึ่ง เปรียบเทียบ) ถ้าเปรียบกับการฟังเพลงจากจานเสียงและเทป จะทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น กล่าวคือ ถ้าเป็นเทปหรือแถบบันทึก หากจะฟังเพลงที่อยู่ในลำดับท้าย ๆ ก็จะต้องรอให้เทปหมุนผ่านเพลงในลำดับแรก ๆ ไปก่อน แต่ถ้าเป็นจานเสียง เราต้องการฟังเพลงใด ก็สั่งได้ทันที ดู sequential access เปรียบเทียบ
การเข้าถึงแบบลำดับ คือ การเข้าถึงข้อมูลแบบ Sequential คือการเขาถึงข้อมูลอย่างเป็นลำดับ ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรงได้ ข้อเสียของการเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้ คือ ช้า ส่วนข้อดี คือ ประหยัด

ที่มา:
//yalor.yru.ac.th/~nipon/Archi_STD43/chapter4/group_20/Access.htm

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ
การประมวลผลข้อมูล แบ่งได้เป็น 3 ประเภท
ตามอุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing)
วิธีนี้เหมาะกับข้อมูลจำนวนไม่มาก และไม่ซับซ้อน
และเป็นวิธีที่ใช้มาแต่อดีต อุปกรณ์ในการคำนวณ ก็เช่น
เครื่องคิดเลข ลูกคิด กระดาษ เมื่อคำนวณเรียบร้อยแล้ว
ก็อาจจะมีการจัดเก็บโดยเรียงเข้าแฟ้ม และที่สำคัญคือ
ผู้ใช้ไม่เร่งรีบใช้ผลลัพธ์มากนัก
2. การประมวลผลด้วยเครื่องจักร(Mechanical Data
Processing) วิธีนี้เหมาะกับข้อมูล จำนวนปานกลาง
และไม่จำเป็นต้องใช้ผลจากการคำนวณในทันทีทันใด
เพราะต้องใช้เครื่องจักร และแรงงานคน
3. การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ (Electronic
Data Processing) วิธีนี้เหมาะกับงานที่มีจำนวนมาก
ไม่สามารถใช้แรงงานคนได้และงานมีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน เพราะการคำนวณด้วยเครื่อง
คอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง แม่นยำและรวดเร็ว ที่สำคัญการใช้คอมพิวเตอร์ในการคำนวณ
จะเหมาะสมสำหรับงานที่มีขั้นตอนซ้ำ ๆ หรือเหมือนเดิม และงานที่ต้องการภาพลักษณ์ที่ทันสมัย

ที่มา:
//ebook.nfe.go.th/ebook/pdf/026/0026_107.pdf





โดย: นายอภิเชษฐ์ หาคำ ม.8 พฤหัส (เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:22:27 น.  

 

2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)
แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน
2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น
//us.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. การประมวลผลสวนบุคคล 2. การประมวลผลแบบรวมศูนย์ และ 3.การประมวลผลแบบกระจาย


โดย: นายสุพจน์ ยางขัน หมู่ 8 พฤหัสเช้า IP: 58.137.131.62 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:14:26:57 น.  

 
2.แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าในระบบคอมพิวเตอร์มักมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ก็สามารถที่จะทำงานได้แล้วโดยที่หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่ต่างๆ คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม และหน่วยความจำ โดยหน่วยรับข้อมูลจะรับข้อมูล จาก ผู้ ใช้แล้วนำมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำ เพื่อให้หน่วยคำนวนและตรรกะ ทำการประมวลผลข้อมูลนั้นและเมื่อได้ รับผลลัพธ์ก็สงไปแสดงผลที่หน่วยแสดงผล หรือนำไปเก็บที่หน่วยความจำหลัก ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของหน่วยควบคุม แต่เหนื่องจากหน่วยความจำภายในไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ในกรณีที่ข้อมูล ที่ใช้มีจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีการขยายหน่วยความจำ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในระหว่างที่มีการคำนวณอยู่ ซึ่งเรียก ว่าหน่วยความจำหลักทำให้สามารถขยายขอบเขตการทำงานของคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีขั้นตตอน การทำงาน เช่นเดิม แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีหน่วยความจำหลักช่วยในการทำงาน แต่ในบางครั้งงาน ที่ทำอาจ จะ มีขนาดของข้อมูลที่โตกว่าจะเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ทั้งหมด อีกทั้งข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักของ เครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเก็บไว้ได้เป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการทำงานเท่านั้นเมื่อเลิกทำงานข้อมูล ดังกล่าว ก็จะสูญหายไปด้วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ทุกๆครั้งที่ทำงานเกี่ยวกับข้อมูล ดังกล่าวจะต้องมีการใส่ข้อมูลเข้าไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการ เสียเวลาเป็นอย่างมาก หน่วยความจำสำรองจึงเกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่เก็บ ข้อมูลไว้อย่าง ถาวร ตราบเท่า ที่ต้องการ และสามารถที่จะเก็บข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้มาก ซึ่งทำให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้ โดยการนำเอา เฉพาะข้อมูลส่วน ที่ต้องการใช้งานในขณะนั้นเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ส่วนข้อมูลที่ยังไม่ได ้ใช้งาน ในขณะนั้นก็ยังคงเก็บ ไว้ที่หน่วยความจำสำรองเช่นเดิม และหากว่าต้องการ ประมวลผลข้อมูลชุดใหม่ ก็สามารถกระทำ ได้โดยเอาข้อมูงชุดใหม่เข้าไปในหน่วยความจำแทนข้อมูลชุดเดิม ด้วยวิธีการเช่นนี้จะเห็นว่าแม้ว่า ข้อมูลจะมีจำนวน มากเกินกว่าขนาดของหน่วยความจำหลักเท่าใดก็ตาม เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน กับข้อมูลชุดนั้นได ้ เสมอและนอกจากนี้การที่มีการเก็บข้อมูลไว้ใวส่วนหน่วยความจำสำรอง จะทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมมากขึ้น กล่าวคือ นอกจากจะใช้ข้อมูลเพื่อทำงานอย่างหนึ่งได้แล้วเราสามารถใช้ข้อมูลชุดเดียวกันนี้ไปใช้เพื่อทำงานอื่นๆๆได้อีก โดยใช้ร่วมกับอีกโปรแกรมหนึ่งหรือให้โปรแกรมอื่นมาอ่านข้อมูลไปใช้งาน หากข้อมูลชุดนี้มีข้อสนเทศภายใน ที่ต้องการกล่าวโดยสรุปคือ ข้อมูลชุดหนึ่งๆสามารถใช้ได้กับโปรแกรมหลายๆโปรแกรม หากข้อมูลชุดนั้น เป็นที่ต้องการของโปรแกรมนั้น ซึ่งการเก็บข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง นี้จะต้องมีการจัดเก็บในรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้งานข้อมูลนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่จัดเก็บใน หน่วยความจำสำรอง จะเก็บอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังรายละเอียดที่กล่าวมาแล้ว การนำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรอง คือขั้นตอนการอ่านข้อมูล หรือ เขียนข้อมูลเมื่อต้องการบันทึกข้อมูล ดังนั้นวิธีการประมวลผลก็วิธีที่ว่าด้วยการอ่าน/หรือการเขียน ข้อมูลบนหน่วย ความจำสำรอง ดังนั้นจึงสามารถแบ่งวิธีการเข้าถึงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลตามรูปแบบการถึงหน่วยความจำสำรอง คือ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล


2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

ข้อมูลและการประมวลผลข้อมูล

ข้อมูล คือข้อเท็จจริงที่เราสนใจ ส่วน สารสนเทศ คือข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลด้วยวิธีการที่เหมาะสมถูกต้อง จนได้รูปแบบผลลัพธ์ ตรงความต้องการของผู้ใช้

ข้อมูลที่จะนำมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ จะต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานดังต่อไปนี้
ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลและข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะทำให้เกิดผลเสียหายมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำนึงถึงกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยำมากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของการประมวลผลส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคำนึงถึงในเรื่องนี้
ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้นและรายงาน ตามความต้องการของผู้ใช้
ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมและวิธีการทางปฏิบัติ ในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศ ต้องสำรวจและสอบถามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์เหมาะสม
ความชัดเจนกระทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมาก จึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กระทัดรัด สื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือย่อข้อมูลให้เหมาะสม เพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องสำคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตข้อมูล ที่สอดคล้องกับความต้องการ
ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน การประมวลผลข้อมูล เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายอย่าง ประกอบกันคือ
การรวบรวมข้อมูล
การแยกแยะ
การตรวจสอบความถูกต้อง
การคำนวณ
การจัดลำดับหรือการเรียงลำดับ
การรายงานผล
การสื่อสารข้อมูลหรือการแจกจ่ายข้อมูลนั้น
การประมวลผลข้อมูล จึงเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญ เพราะข้อมูลที่มีอยู่ รอบๆ ตัวเรามีเป็นจำนวนมากในการใช้งานจึงต้องมีการประมวลผล เพื่อให้เกิดประโยชน์ กิจกรรมหลักของการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จึงประกอบด้วยกิจกรรมการ เก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งต้องมีการตรวจสอบ ความถูกต้องด้วย กิจกรรมการประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งแยกข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ และกิจกรรมการเก็บรักษาข้อมูลซึ่งอาจต้อง มีการทำสำเนา ทำรายงาน เพื่อแจกจ่าย

วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน



โดย: นางสาวนฤมล ภูหนองโอง รหัสนักศึกษา 52040264108 หมู่ 29 (พุธ-เช้า) IP: 125.26.177.195 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:14:42:09 น.  

 

2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
การเข้าถึงข้อมูล

· การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ

· การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการเหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html


2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (DATA PROCESSING)
มี 2แบบ ดังนี้

· การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เมื่อถึงกำหนด ข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว

· การประมวลผลแบบทันที (real-time processing) การประมวลผลแบบทันที เป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html

นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115


โดย: นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115 IP: 192.168.1.124, 124.157.149.201 วันที่: 20 กันยายน 2552 เวลา:12:01:03 น.  

 
1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป

การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access)
การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม
ที่มา//www.pck1.go.th/krusuriya/ebook3/page/glossary.htm#7

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

1.การประมวลผลข้อมูล
2.การประมวลผลความรอบรู้
3.การประมวลผลแบบกลุ่ม
4.การประมวลแบบเชื่อมตรง
5.การประมวลผลแบบรวมศูนย์
เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการประมวลผลย่อยหลายกระบวนการประกอบกัน ตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ การทำรายงาน การจัดเก็บ การทำสำเนา รวมถึงการแจกจ่ายและการสื่อสารข้อมูล

2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (DATA PROCESSING)
มี 2แบบ ดังนี้

· การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เมื่อถึงกำหนด ข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว

· การประมวลผลแบบทันที (real-time processing) การประมวลผลแบบทันที เป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล


โดย: นางสาวสุขชฎา อินทปัญญา หมู่ 22 รหัส 52040427216 IP: 192.168.1.112, 124.157.129.6 วันที่: 23 กันยายน 2552 เวลา:18:16:53 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ 1.การค้นหาข้อมูลแบบสุมหรือโดยตรง (Random / Direct Access File)
การค้นหาข้อมูลประเภทนี้ เป็นการค้นหาแบบข้อมูลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล หรืออ่านข้อมูลจากต้นแฟ้มข้อมูลนั้น ๆ การค้นหาแบบสุ่มหรือโดยตรงนี้ จะมี คีย์หลัก เป็นตัวกำหนดตำแหน่งข้อมูล ในระเบียน เป็นวิธีการที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการทำงานเพราะตำแหน่งของระเบียนจะมีเท่ากับขนาดของ คีย์ เช่น ระเบียนลำดับที่ของ นักเรียน เป็นคีย์หลัก มีความกว้างเท่ากับ 2 จะมี คีย์หลัก อยู่ในช่วย 1-99 และในลักษณะ เดียวกันจะมีตำแหน่งข้อมูล
คำอธิบาย

ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลของนักศึกษาคนที่ 5 โดยมีลำดับที่เป้นคีย์หลัก คือ 5 การเข้าถึงข้อมูลจะเข้าถึง ข้อมูลที่เก็บใน ตำแหน่งที่ 5 ทันทีจึงเป็นวิธีที่เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วที่สุด แต่การทำงานของการแปลงส่งโดยตรงนี้ มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กับ คีย์หลักที่เป็นอักษรได้และไม่เหมาะกับแฟ้มข้อมูลที่มี Field จำนวนมาก เพราะต้องใช้ เนื้อที่จองตำแหน่ง มาก เช่น คีย์หลักเป็นรหัสพนักงาน มีความกว้าง 10 ฉะนั้น ตำแนห่งของข้อมูลที่เป็นไปได้อยู่ ในช่วง 1-9999999999 จะทำให้สิ้นเปลืองเนื้อที่

2.การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search หรือ Linear Search)

การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายและใช้ได้กับตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ หรือไม่เรียงตามลำดับก็ได้การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
ข้อดี

1. ง่ายต่อการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการจัดเก็บข้อมูล
2. ใช้กับสื่อข้อมูลได้ทุกประเภท จึงสามารถเลือกเก็บในสื่อข้อมูลราคาถูก
3. สามารถใช้กับงานที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมาก
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงได้
2. การประมวลผลข้า เพราะเสียเวลาในการอ่าน Record ที่ไม่ต้องการประมวลผล

ที่มา//members.fortunecity.com/one2many/dstruct/ff7.html


2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ 1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
//new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm







โดย: นางสาวหนึ่งฤทัย มังคละแสน คณะมนุษศษสตร์และสังคมศาสตร์ สาขานิติศาสตร์หมู่01 จ.บ่าย IP: 124.157.147.100 วันที่: 23 กันยายน 2552 เวลา:19:29:43 น.  

 
1.

แฟ้มลำดับ (sequential) ลำดับ เทปแม่เหล็กจานแม่เหล็ก ประหยัด ใช้ได้ดีกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก หรือทั้งแฟ้ม การจะเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงใช้เวลามาก

แฟ้มสุ่ม(direct หรือ hash) สุ่ม จานแม่เหล็ก การเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงเร็วมาก ไม่เหมาะกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก และไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับได้ สิ้นเปลือง

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html



2. การประมวลผลข้อมูลแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ คือ
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือ หมายถึงการใช้แรงงานคนเป็นหลักในการประมวลผล โดยมีอุปกรณ์ต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการประมวลผล เช่น ดินสอ ปากกา ไม้บรรทัด กระดาษ ลูกคิด เครื่องคิดเลข วิธีการประมวลผลด้วยมือเหมาะกับงานที่มีปริมาณไม่มากนัก และอยู่ในภาวะที่แรงงานยังมีการจ้างงานที่ไม่สูงนัก

2. การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล(Manual With Machine Assistance Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล หรือการประมวลผลด้วยเครื่องจักรกล ซึ่งการประมวลผลแบบนี้จะเหมาะกับงานระดับกลางที่มีปริมาณไม่มากนัก และต้องการความเร็วในการทำงานในระดับพอสมควร การทำงานจะอาศัยแรงงานคน ร่วมกับเครื่องจักรกล เครื่องที่ใช้กันมาก คือ เครื่องทำบัญชี หรือเครื่องประมวลผลกึ่งอิเล็กทรอนิกส์ (Semi-electronic Data Processing)

3. การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing)
การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ หรือการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เรียกย่อๆ ว่า EDP คือ การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งงานที่เหมาะสมกับการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์คือ งานที่มีลักษณะดังนี้

งานที่มีปริมาณมากๆ
ต้องการความเร็วในการประมวลผล
ต้องการความละเอียดและความถูกต้องของงานสูง
งานที่มีขั้นตอนยุ่งยาก ซับซ้อน หรือมีลักษณะที่ทำงานแบบเดิมซ้ำกันหลายๆ รอบ
มีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน

เช่น ระบบงานทะเบียนและวัดผล, ระบบงานการจองตั๋วเครื่องบิน หรือระบบงานด้านการเงินและการธนาคาร เป็นต้น
ขั้นตอนการประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์

การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ
1. การเตรียมข้อมูลเข้า (Input Data)
คือการเก็บรวบรวมข้อมูลให้พร้อมที่จะทำการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผล ซึ่งประกอบไปด้วย
1.1 การลงรหัส (Coding) คือการใช้รหัสแทนข้อมูล ซึ่งทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปที่กระทัดรัดเพื่อสะดวกแก่การประมวลผล รหัสที่ใช้อาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลขก็ได้
1.2 การแก้ไข (Editing) คือการตรวจสอบข้อมูล ให้มีความถูกต้อง และเป็นไปได้ (เช่น ข้อมูลอายุ ควรจะอยู่ระหว่าง 0 - 100 ปี เป็นต้น) ก่อนนำไปใช้งาน โดยมีการปรับปรุงแก้ไขเท่าที่จำเป็น
1.3 การแยกประเภท (Classifying) คือ การจัดประเภทของข้อมูล หรือจำแนกข้อมูลออกเป็นกลุ่มเพื่อสะดวกแก่การนำไปประมวลผล เช่น ร้านค้าย่อย อาจจะจำแนกเป็น ชนิดของสินค้า แผนกที่ขาย ผู้ขาย หรือจำแนกหมวดอื่นๆ ตามที่ผู้จัดร้านเห็นว่ามีประโยชน์ต่อการดำเนินงาน
1.4 การแปรสภาพข้อมูล (Transforming) คือ การเปลี่ยนสื่อ หรือตัวกลางที่ใช้บันทึกข้อมูลเพื่อให้อยู่ในรูปที่สามารถนำไปประมวลผลต่อไปได้ เช่น การเจาะข้อมูลลงบนบัตร เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถรับไปประมวลผลได้

2. การประมวลผล (Processing)
ได้แก่ วิธีการจัดการกับข้อมูล ซึ่งอาจเป็นการบวก ลบ คูณ หาร หรือการคำนวณ และเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ ที่กำหนดไว้

3. การนำเสนอข้อมูล (Output)
คือ การเอาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงให้ผู้อื่นทราบ อาจจะแสดงไว้ในรูปรายงาน ตาราง หรือแบบใดก็ได้ที่สามารถนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
3.1 การสรุปผล (Summarizing) คือการนำเอาข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่มากลั่นกรอง และย่อลงให้เหลือเฉพาะส่วนที่จำเป็น เพื่อที่จะนำไปปฏิบัติให้คล่องตัว และใช้ประกอบการตัดสินใจ
3.2 การเก็บข้อมูล (Storing) เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ได้อีกในอนาคตจึงจำเป็นต้องมีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ ในระบบคอมพิวเตอร์มักจะบันทึกลงเทปแม่เหล็กหรือจานแม่เหล็ก
3.3 การค้นหาและการเรียกใช้ข้อมูล (Searching and Retrieving) คือ การค้นหาข้อมูลในแฟ้มข้อมูล และเรียกข้อมูลนั้นกลับมาใช้งาน (เช่นนำข้อมูลกลับมาแก้ไข ปรับปรุง)
3.4 การทำสำเนาข้อมูล (Reproduction) ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลดิบที่ได้มาใหม่ หรือข้อมูลจากการประมวลผล ในบางครั้งต้องการข้อมูลหลายชุด จึงจำเป็นต้องมีการสำเนาข้อมูลออกมาใช้หลายๆ ชุด


--------------------------------------------------------------------------------

ระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer processing)
สามารถแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้
1. การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing system)
หมายถึงการประมวลผลข้อมูลที่ต้องมีการรวบรวมข้อมูลให้มากพอควร โดยใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งในการเก็บรวบรวม เมื่อมีการสะสมข้อมูลครบเวลาที่กำหนด จึงนำไปประมวลผล ระบบเครื่องที่ประมวลผลแบบนี้เรียกว่าระบบออฟไลน์ (Off-line system)

2. การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive processing system)
เป็นวิธีการประมวลผลที่รับข้อมูลที่เกิดขึ้นเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง และเครื่องสามารถที่จะโต้ตอบข้อมูลที่รับเข้ามาทันที (ข้อมูลที่เข้าไปแต่ละรายการจะถูกประมวลผลทันที) เช่น ระบบการฝากถอนเงินโดยเครื่อง ATM เป็นต้น การทำงานในระบบนี้เรียกอีกอย่างว่าระบบออนไลน์ (On-line system) ซึ่งระบบ On-line นี้ยังมีประเภทย่อยๆ อีก 2 ประเภท คือ
2.1 ระบบการประมวลผลโดยใช้เวลาจริง (Real-time processing) เป็นระบบที่ต้องการความรวดเร็วในการตอบสนองข้อมูลสูงมาก (ข้อมูลที่ตอบสนองมาต้องถูกต้อง แน่นอน แม่นยำ ทันต่อเวลา)
2.2 ระบบการประมวลผลแบบเวลา (Timesharing processing) เป็นระบบที่ให้ผู้ใช้หลายๆ คนสามารถทำงานพร้อมๆ กันได้ โดยการแบ่งเวลาหน่วยประมวลผลกันใช้งาน โดยการผ่านเครื่องเทอร์มินัล ซึ่งเป็นสถานีที่ใช้ในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ และสามารถจัดสรรหน่วยความจำของระบบให้ผู้ใช้ได้ตามความต้องการของงาน

3. การประมวลผลโดยใช้ตัวประมวลผลมากกว่า 1 ชุด (Multiprocessing system)
หมายถึงการประมวลผลโดนอาศัยหน่วยประมวลผลกลางมากกว่า 1 ชุด โดยกำหนดให้ทำงานในเวลาพร้อมๆ กัน (อาจจะเสริมการทำงาน หรือ สำรองการทำงานซึ่งกันและกัน) นิยมใช้กับงานที่จำเป็นต้องมีการประมวลผล อยู่ตลอดเวลา

4. การประมวลผลแบบหลายโปรแกรม (Multiprogramming system)
ระบบ Multiprogramming system หรือ Multi tasking system หมายถึงระบบการประมวลผลที่ในขณะเวลาใดเวลาหนึ่งสามารถมีโปรแกรม อยู่ในระบบการประมวลผลมากกว่า 1 โปรแกรมได้ กล่าวคือ ในขณะที่โปรแกรมหนึ่งกำลังทำงานอยู่ ผู้ใช้สามารถที่จะเรียกโปรแกรมอื่น มาทำงานซ้อนได้ และสามารถที่จะสลับกันทำงานระหว่างโปรแกรมที่เปิดใช้งานอยู่ได้




ที่มา

//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data3.html



โดย: ส.อ.ชาคร ทานินนท์ หมู่ 05 5124151208 IP: 125.26.164.16 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:11:23:26 น.  

 
ข้อ 1 อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

ตอบ การจัดระบบแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
ความหมายของแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
เป็นการจัดเรคอร์ดในแฟ้มที่ทำให้เราสามารถเข้าถึงเรคอร์ดแบบตามลำดับ (Sequential access) ของค่าฟิลด์ที่เป็นคีย์ของเรคอร์ดเหล่านั้น หรืออาจจะทำให้เราเข้าถึงเรคอร์ดแบบสุ่ม (random access) โดยใช้ค่าคีย์ตัวเดียวกันได้
ในการจัดระบบแฟ้มแบบนี้จะต้องกำหนดดังนี้
กำหนดดัชนี เป็นตัวชี้ไปยังเรคอร์ดที่เก็บข้อมูลที่เป็นดรรชนี ทำหน้าที่ให้บริการทำตามคำร้องขอของผู้ใช้ในการที่จะเข้าถึงเรคอร์ดใด ๆ ในไฟล์
กำหนดไฟล์ข้อมูล จัดเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบโดยเก็บแบบเรียงตามลำดับ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของแฟ้มข้อมูลประเภท Sequential file โดยเพิ่ม 1. Index เพื่อให้มีการเข้าถึงข้อมูลได้ทั้งแบบสุ่มและแบบลำดับ 2. Overflow เพื่อจัดการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูลในส่วนที่เพิ่มเติม
การนำแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดรรชนีไปใช้งานมีแนวทางพื้นฐานในการจักการแฟ้ม คือ
1. Block index and data (Dynamic)
2. Prime and overflow data (Static)
Block index and data (Dynamic)
วิธีการนี้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ CDC โดยใช้การจัดการไฟล์แบบ SIS (Scope Index Sequential) SIS เป็นไฟล์ที่แบ่งเป็น Data Block กับ Index Block แต่ละ Data Block หรือ Index Block จะถูกส่งผ่านด้วยคำสั่งจัดการ I/O เพียงคำสั่งเดียว Data Block จะมีขนาดคงที่ประกอบด้วย Header ของบล็อกของตัวเรคอร์ดต่าง ๆ (ที่เป็นแบบ logical record) และคีย์ของเรคอร์ดทั้งหมดที่อยู่ใน Data Block นั้น
รูปที่ 1 รูปแบบของ data block ของCDC Computer
Header R1 R2 R3 …padding… Key3 Key2 Key1
ใน SIS ไฟล์นอกจากจะมีส่วนของ Data Block แล้วยังจะมีส่วนของ Index block เพื่อที่จะทำให้สามารถเข้าถึงตัวเรคอร์ดได้เร็วขึ้น Index Block จะมีขนาดคงที่ประกอบด้วยค่าของ Header และค่าคีย์กับแอดเดรสของ Data Block ที่เกี่ยวข้อง ดังรูป
รูปที่ 2 รูปแบบของ index block บน CDC computer
กล่าวโดยสรุป Block index and data ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. Index file จัดอยู่ในรูป block มีโครงสร้างแบบ tree structureee
2. Data file เป็นไฟล์ที่ทำการเก็บข้อมูล
การค้นหาข้อมูล ทำได้ 2 วิธี
การค้นหาโดยตรง จะค้นจาก Block Index
ค้นหาแบบลำดับ จะทำการค้นหาข้อมูลตาม Block Data
การแทรกข้อมูล
ในการแทรกข้อมูลสามารถแทรกได้เลยถ้ามีที่ว่าง ถ้าไม่มีที่ว่างต้องทำการ Split block แล้วแก้ไข Index Block ที่เกี่ยวข้อง เมื่อ Block ดัชนีระดับสูงสุดเต็มจะทำการ Split block และจะเพิ่มบล็อกของดรรชนีระดับสูงขึ้นไปอีก 1 ระดับ
การลบข้อมูล
จะเลื่อนระเบียนที่มีค่าคีย์สูงกว่าเข้ามาแทนที่ตำแหน่งระเบียนที่ถูกลบไป ขยับเพื่อให้เนื้อที่ว่างทั้งหมดมาอยู่ด้วยกัน ถ้าระเบียนที่ลบเป็นระเบียนตัวแรกของบล็อก จะต้องปรับปรุงค่าหลักของดรรชนีในระดับถัดไป
ข้อพิจารณาวิธีนี้
1. ความลึกของดัชนี ซึ่งมีผลต่อจำนวนครั้งของ I/O operation
2. ปริมาณการเพิ่มและการลบออก ของระเบียน
3. ชนาดของบล็อกดรรชนีและบล็อกข้อมูล
4. Prime and Over flow data area
เป็นวิธีการแบบ Cylinder & Surface Indexing เป็นวิธีการที่ใช้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ IBM อาจเรียกวิธีการนี้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นวิธีการจัดการไฟล์แบบ ISAM (Index Sequential Access Method) วิธีการนี้เป็นวิธีการที่อาศัยโครงสร้างพื้นฐานของแผ่นดิสก์ ไฟล์ ISAM จะถูกแบ่งส่วนเป็น 3 ส่วน คือ
1. Index Area เป็นส่วนที่ประกอบด้วยดัชนีของ Cylinder ของข้อมูล
2. Prime Data Area เป็นส่วนที่จัดเก็บตัวเรคอร์ดของข้อมูล
3. Independent Overflow Area ส่วนอิสระ
ข้อมูลในไฟล์ ISAM จะจัดเก็บอยู่ในหลาย Cylinder แต่ละ Cylinder จะประกอบด้วย Surface Index ของข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ใน Cylinder นั้น ๆ ในส่วนของ Prime Data Area จะมีเรคอร์ดจัดเก็บอยู่เรียงตามลำดับตามค่าคีย์ โดยปกติแล้ว Surface Index จะเก็บอยู่ในหน้า (surface) ที่ 0 ของแผ่นและ Prime Data Area
จะเก็บอยู่บนหน้าที่ 1 ถึง n-1 และ Cylinder จะเก็บอยู่ในหน้าที่ n ของ Cylinder แต่ละหน้าของ Prime Data Area จะมีขนาดความจุที่และมีเรคอร์ดจัดเก็บอยู่เรียงไปตามลำดับค่าคีย์ จากค่าน้อยไปมากสังเกตว่า Cylinder Index Overflow Area ส่วนของPrime Data จะอยู่บน Cylinder ระหว่าง Cylinder บนสุดและล่างสุด
Overflow Area เป็นส่วนที่เราสงวนเอาไว้เผื่อการล้นของเรคอร์ดอยู่ในส่วนของ Prime Data Area เราจึงอาจเรียกว่าเป็น Embedded Overflow หากมีเรคอร์ดล้นออกจากส่วนของ Prime Data Area เมื่อใด ส่วนเรคอร์ดที่เกินมานั้นก็จะถูกจัดเก็บแบบเรียงไปตามลำดับใน Overflow Area นี้ ข้อดีของ Embedded Area คือเป็นพื้นที่ที่อยู่ใกล้กับ Prime Data Area เราไม่จำเป็นต้องจัดการเข้าถึงเรคอร์ดเพื่อดำเนินการค้นหาเรคอร์ดเพื่อดำเนินการค้นหาเรคอร์ดในไฟล์มากนัก ข้อด้อยของการใช้ Overflow Area ในส่วนนี้คือเรามักจะต้องกำหนดเนื้อที่ส่วนนี้ให้มีขนาดตายตัวสำหรับทุก Cylinder จะไม่เท่ากันก็ตาม ดังนั้จึงเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่โดยเปล่าประโยชน์
ในการออกแบบแฟ้มลำดับเชิงดรรชนีจะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นดรรชนี (Index area) ประกอบด้วย
- master index
- cylinder index
- track index
2. ส่วนที่เก็บข้อมูล (data file) ประกอบด้วย
- Prime Area
- Overflow Area
5. ข้อพิจารณาของแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
1. ในแต่ละเรคอร์ดควรมีเขตข้อมูลอะไรบ้างที่ประกอบกัน
2. ควรใช้ฟิลด์ใดเป็น primary key
3. จำนวนเรคอร์ดที่คาดว่าจะแทรกในอนาคต ปกติเผื่อไว้ 40 % ของระเบียนช่วงสร้างแฟ้มครั้งแรก
4. จะเลือกโครงสร้างแบบใด เช่น block index and data เพราะมีประสิทธิภาพมากกว่า

การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ



ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html



ข้อ2 การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

ตอบ วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm

นายตง ประดิชญากาญจน์ หมู่ 22 อังคารเช้า


โดย: นายตง ประดิชญากาญจน์ IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:13:28:08 น.  

 
การเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการเหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ

· การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ

//www.sirikitdam.egat.com


โดย: นายชัยวัฒน์ ศรีอุต หมู่ 22 อังคาร (เช้า) IP: 192.168.1.108, 124.157.139.216 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:15:07:36 น.  

 
วิธีการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งได้ตามสภาวะการนำข้อมูลมาประมวลผล ได้แก่

การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing) หมายถึงการทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผล การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีการที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้ง ๆ เช่น เมื่อต้องทราบข้อมูล ผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล(poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวม ข้อมูลได้แล้ว ก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูลนั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานผล หรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่ม จึงกระทำในลักษระเป็นครั้ง ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
ในการประมวลผลทั้งสองแบบนี้ เป็นวิธีการที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยดำเนินการกับข้อมูลจำนวนมากเพื่อแยกแยะ คำนวณ หรือดำเนินการตาม ที่กำหนดไว้ในโปรแกรม การทำงานของคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลจึงต้องมีซอฟต์แวร์ หรือโปรแกรมคอยสั่งการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ในรูปแบบที่ต้องการ

//www.yupparaj.ac.th


โดย: นายชัยวัฒน์ ศรีอุต หมู่ 22 อังคาร (เช้า) IP: 192.168.1.108, 124.157.139.216 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:15:10:35 น.  

 

ข้อ1.
การเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่ต้องผ่านเรคคอร์ดที่อยู่ก่อน การเข้าถึงเรคคอร์ดแบบสุ่มจะเร็วกว่าแบบโดยลำดับมาก เหมาะสมกับงานที่ต้องการความเร็วในการดึงข้อมูลมาก ๆ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมักเป็นดิสก์ หรือจานแม่เหล็ก

การเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลทีละเรคคอร์ดเรียงไปตามลำดับของการจัดเก็บ ถ้าจะดึงข้อมูลเรคคอร์ดที่ 10 มาใช้จะต้องอ่านข้อมูลผ่านเรคคอร์ดที่ 1 ถึง 9 ก่อนเสมอ เมื่อถึงเรคคอร์ดที่ 10 จึงจะสามารถดึงข้อมูลออกมาใช้ได้ สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้มักเป็น เทป (Tape)

ที่มา //office.microsoft.com/th-th/help/HA102064701054.aspx

ข้อ2 ตอบ วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
ที่มา //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing


นายศราวุฒิ ทดกลาง หมู่22(อ.เช้า)


โดย: นายศราวุฒิ ทดกลาง IP: 58.147.7.66 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:08:08 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
การเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลทีละเรคคอร์ดเรียงไปตามลำดับของการจัดเก็บ ถ้าจะดึงข้อมูลเรคคอร์ดที่ 10 มาใช้จะต้องอ่านข้อมูลผ่านเรคคอร์ดที่ 1 ถึง 9 ก่อนเสมอ เมื่อถึงเรคคอร์ดที่ 10 จึงจะสามารถดึงข้อมูลออกมาใช้ได้ สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้มักเป็น เทป (Tape)

การเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่ต้องผ่านเรคคอร์ดที่อยู่ก่อน การเข้าถึงเรคคอร์ดแบบสุ่มจะเร็วกว่าแบบโดยลำดับมาก เหมาะสมกับงานที่ต้องการความเร็วในการดึงข้อมูลมาก ๆ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมักเป็นดิสก์ หรือจานแม่เหล็ก



โดย: นายอายุวัฒฯ นามมาลา หมู่.29 พุธเช้า IP: 172.23.8.231, 58.137.131.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:30:08 น.  

 
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
การประมวลผลข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 3 วิธีใหญ่ ๆ ดังนี้
5.1. ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) คือ การประมวลผลโดยผู้ใช้จะทำการรวบรวมเอกสารที่ต้องการประมวลผลไว้เป็นชุด ๆ ซึ่งเอกสารแต่ละชุดต้องให้มีขนาดเท่ากัน
5.2. ระบบประมวลผลแบบโต้ตอบ (Transaction Processing) หมายถึงการทำงานในลักษณะที่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถที่จะตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลา
5.3. ระบบประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) คือ การประมวลผลร่วมกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ต่อพ่วงกับระบบสื่อสาร (Communication) โดยอาศัยอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น โมเด็ม (Modem) ซึ่งลักษณะการทำงานอาจจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อพ่วงกันในระบบเครือข่าย (Network)







โดย: นายอายุวัฒฯ นามมาลา หมู่.29 พุธเช้า IP: 172.23.8.231, 58.137.131.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:32:36 น.  

 

1.อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)

ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม
ที่มา
//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html


โดย: นาย วัชฤทธิ์ มวลพิทักษ์ หมู่22 อ.เช้า IP: 125.26.175.79 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:13:59:46 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

วิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
2.การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)

ในบางกรณี อาจต้องการให้ข้อมูลถูกประมวลผลทันที แต่บางกรณีอาจสะสมข้อมูลไว้จนถึงเวลาที่กำหนดแล้วจึงประมวลผลพร้อมกันทีเดียว ดังนั้นลักษณะการประมวลผลข้อมูลจึงสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ซึ่งการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของแต่ละประเภท

การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อถึงกำหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี ( 1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชี ข้อมูลการใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนำมารวบรวมและประมวลผลคราวเดียว เพื่อออกไปแจ้งหนี้ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบยอดการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไร
การประมวลผลแบบทันที (real-time processing)
การประมวลผลแบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงิน ข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลผลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากในบัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันที การฝากถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทำพร้อมกันในคราวเดียวไม่ได้ จึงต้องประมวลผลทันที จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม


โดย: นาย เกรียงไกร สลับศรี หมู่1 จ.บ่าย IP: 192.168.10.106, 117.47.12.205 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:19:00:59 น.  

 
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน




โดย: นาย เกรียงไกร สลับศรี หมู่1 จ.บ่าย IP: 192.168.10.106, 117.47.12.205 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:19:43:20 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

1.การค้นหาข้อมูลแบบสุมหรือโดยตรง (Random / Direct Access File)
การค้นหาข้อมูลประเภทนี้ เป็นการค้นหาแบบข้อมูลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล หรืออ่านข้อมูลจากต้นแฟ้มข้อมูลนั้น ๆ การค้นหาแบบสุ่มหรือโดยตรงนี้ จะมี คีย์หลัก เป็นตัวกำหนดตำแหน่งข้อมูล ในระเบียน เป็นวิธีการที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการทำงานเพราะตำแหน่งของระเบียนจะมีเท่ากับขนาดของ คีย์ เช่น ระเบียนลำดับที่ของ นักเรียน เป็นคีย์หลัก มีความกว้างเท่ากับ 2 จะมี คีย์หลัก อยู่ในช่วย 1-99 และในลักษณะ เดียวกันจะมีตำแหน่งข้อมูล
คำอธิบาย

ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลของนักศึกษาคนที่ 5 โดยมีลำดับที่เป้นคีย์หลัก คือ 5 การเข้าถึงข้อมูลจะเข้าถึง ข้อมูลที่เก็บใน ตำแหน่งที่ 5 ทันทีจึงเป็นวิธีที่เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วที่สุด แต่การทำงานของการแปลงส่งโดยตรงนี้ มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กับ คีย์หลักที่เป็นอักษรได้และไม่เหมาะกับแฟ้มข้อมูลที่มี Field จำนวนมาก เพราะต้องใช้ เนื้อที่จองตำแหน่ง มาก เช่น คีย์หลักเป็นรหัสพนักงาน มีความกว้าง 10 ฉะนั้น ตำแนห่งของข้อมูลที่เป็นไปได้อยู่ ในช่วง 1-9999999999 จะทำให้สิ้นเปลืองเนื้อที่

2.การค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search หรือ Linear Search)

การค้นหาแบบลำดับเป็นวิธีที่ใช้กันมาก เพราะสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายและใช้ได้กับตารางข้อมูลที่เรียงลำดับ หรือไม่เรียงตามลำดับก็ได้การค้นหาข้อมูลจะต้องเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบระเบียนที่ต้องการ
ข้อดี

1. ง่ายต่อการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการจัดเก็บข้อมูล
2. ใช้กับสื่อข้อมูลได้ทุกประเภท จึงสามารถเลือกเก็บในสื่อข้อมูลราคาถูก
3. สามารถใช้กับงานที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมาก
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงได้
2. การประมวลผลข้า เพราะเสียเวลาในการอ่าน Record ที่ไม่ต้องการประมวลผล

//members.fortunecity.com

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

//new.yupparaj.ac.th/


โดย: เบญจมาศ โคตรเพชร หมู่ 08 รหัส 52040332107 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:12:32:15 น.  

 
ข้อที่ 1

วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าในระบบคอมพิวเตอร์มักมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ก็สามารถที่จะทำงานได้แล้วโดยที่หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่ต่างๆ คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม และหน่วยความจำ โดยหน่วยรับข้อมูลจะรับข้อมูล จาก ผู้ ใช้แล้วนำมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำ เพื่อให้หน่วยคำนวนและตรรกะ ทำการประมวลผลข้อมูลนั้นและเมื่อได้ รับผลลัพธ์ก็สงไปแสดงผลที่หน่วยแสดงผล หรือนำไปเก็บที่หน่วยความจำหลัก ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของหน่วยควบคุม แต่เหนื่องจากหน่วยความจำภายในไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ในกรณีที่ข้อมูล ที่ใช้มีจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีการขยายหน่วยความจำ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในระหว่างที่มีการคำนวณอยู่ ซึ่งเรียก ว่าหน่วยความจำหลักทำให้สามารถขยายขอบเขตการทำงานของคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีขั้นตตอน การทำงาน เช่นเดิม แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีหน่วยความจำหลักช่วยในการทำงาน แต่ในบางครั้งงาน ที่ทำอาจ จะ มีขนาดของข้อมูลที่โตกว่าจะเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ทั้งหมด อีกทั้งข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักของ เครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเก็บไว้ได้เป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการทำงานเท่านั้นเมื่อเลิกทำงานข้อมูล ดังกล่าว ก็จะสูญหายไปด้วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ทุกๆครั้งที่ทำงานเกี่ยวกับข้อมูล ดังกล่าวจะต้องมีการใส่ข้อมูลเข้าไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการ เสียเวลาเป็นอย่างมาก หน่วยความจำสำรองจึงเกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่เก็บ ข้อมูลไว้อย่าง ถาวร ตราบเท่า ที่ต้องการ และสามารถที่จะเก็บข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้มาก ซึ่งทำให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้ โดยการนำเอา เฉพาะข้อมูลส่วน ที่ต้องการใช้งานในขณะนั้นเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ส่วนข้อมูลที่ยังไม่ได ้ใช้งาน ในขณะนั้นก็ยังคงเก็บ ไว้ที่หน่วยความจำสำรองเช่นเดิม และหากว่าต้องการ ประมวลผลข้อมูลชุดใหม่ ก็สามารถกระทำ ได้โดยเอาข้อมูงชุดใหม่เข้าไปในหน่วยความจำแทนข้อมูลชุดเดิม ด้วยวิธีการเช่นนี้จะเห็นว่าแม้ว่า ข้อมูลจะมีจำนวน มากเกินกว่าขนาดของหน่วยความจำหลักเท่าใดก็ตาม เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน กับข้อมูลชุดนั้นได ้ เสมอและนอกจากนี้การที่มีการเก็บข้อมูลไว้ใวส่วนหน่วยความจำสำรอง จะทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมมากขึ้น กล่าวคือ นอกจากจะใช้ข้อมูลเพื่อทำงานอย่างหนึ่งได้แล้วเราสามารถใช้ข้อมูลชุดเดียวกันนี้ไปใช้เพื่อทำงานอื่นๆๆได้อีก โดยใช้ร่วมกับอีกโปรแกรมหนึ่งหรือให้โปรแกรมอื่นมาอ่านข้อมูลไปใช้งาน หากข้อมูลชุดนี้มีข้อสนเทศภายใน ที่ต้องการกล่าวโดยสรุปคือ ข้อมูลชุดหนึ่งๆสามารถใช้ได้กับโปรแกรมหลายๆโปรแกรม หากข้อมูลชุดนั้น เป็นที่ต้องการของโปรแกรมนั้น ซึ่งการเก็บข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง นี้จะต้องมีการจัดเก็บในรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้งานข้อมูลนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่จัดเก็บใน หน่วยความจำสำรอง จะเก็บอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังรายละเอียดที่กล่าวมาแล้ว การนำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรอง คือขั้นตอนการอ่านข้อมูล หรือ เขียนข้อมูลเมื่อต้องการบันทึกข้อมูล ดังนั้นวิธีการประมวลผลก็วิธีที่ว่าด้วยการอ่าน/หรือการเขียน ข้อมูลบนหน่วย ความจำสำรอง ดังนั้นจึงสามารถแบ่งวิธีการเข้าถึงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลตามรูปแบบการถึงหน่วยความจำสำรอง คือ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล


ที่มา //www.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm

ข้อที่ 2

การอธิบายการประมวลผล (Process Description)


การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้โดยการใช้แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) โดยการเขียนสัญลักษณ์การประมวลผลนั้นจะเขียนเพียงหัวข้อในการประมวลผลเท่านั้น ยังไม่มีการเขียนคำอธิบายโดยละเอียด ซึ่งเราสามารถเขียนอธิบายโดยละเอียดได้ด้วยการเขียนคำอธิบายการประมวลผล (Process Description) หรือ Process Specification

จุดประสงค์ของการเขียน Process Specification เพื่อใช้เป็นสื่อระหว่างผู้ใช้ระบบโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ระบบ ได้เข้าใจตรงกันในการประมวลผลนั้น โดยโปรแกรมเมอร์จะเข้าใจการประมวลผลนั้นเพื่อใช้ในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะในกรณีของการมีโปรแกรมเมอร์หลายคนในการเขียนโปรแกรมในการสื่อให้เข้าใจตรงกัน ส่วนผู้ใช้ระบบจะได้เห็นถึงผลการวิเคราะห์ของนักวิเคราะห์ระบบว่าเข้าใจถูกต้องหรือไม่

จุดมุ่งหมายในการใช้การอธิบายการประมวลผลนั้นสรุปได้ 3 ข้อคือ

1. เพื่อให้การประมวลผลนั้นชัดเจน เข้าใจง่าย

การใช้วิธีนี้จะทำให้ผู้วิเคราะห์ได้เรียนรู้รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนในการประมวลผลการทำงานในส่วนที่ไม่ชัดเจนต่างๆ จะถูกบันทึก และเขียนออกมาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจะรวมมาจากการสืบค้นข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลวิธีต่างๆ

2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถูกต้องในการอธิบายในรูปแบบเฉพาะของการประมวลผลนั้นระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

ในการสื่อถึงกันให้เข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์และโปรแกรมเมอร์นั้น ถ้าไม่สื่อกันให้ชัดเจนจะมีผลตามมาอย่างมากเมื่อลงรหัสโปรแกรม เนื่องจากจะต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย และอาจทำให้การบริหารโครงการไม่เป็นไปตามกำหนดเวลาอีกด้วย ดังนั้นในการอธิบายการประมวลผลจึงมีส่วนช่วยอย่างมากในการสื่อการประมวลผลให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

3. เพื่อตรวจสอบการออกแบบระบบ

โดยการประมวลผลนั้นจะถูกต้องหรือไม่ในด้านข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่อง การออกรายงานทั้งหน้าจอ และการพิมพ์รายงานนั้นจะเป็นไปตามการวิเคราะห์ตามแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) หรือไม่ จะสามารถตรวจสอบได้จากการอธิบายการประมวลผลนี้

การเขียนคำอธิบายการประมวลผลนี้จะมีเฉพาะโพรเซสในระดับล่างสุดเท่านั้น ระดับแม่เราจะไม่เขียนคำอธิบายเนื่องจากเราเขียน DFD ระดับแม่เพื่อใช้เป็นเครื่องมือเขียน DFD ระดับลูกเพื่อให้เกิดการแตกโครงสร้างแบบบน-ลง-ล่าง (Top - Down) และเมื่ออธิบายโพรเซสระดับลูกแล้วก็หมายความรวมถึงการทำงานระดับแม่โดยปริยาย


วิธีการที่ใช้อธิบายการประมวลผลที่จะกล่าวในที่นี้มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธีคือ

1. ประโยคโครงสร้าง (Structure Sentences)

2. การตัดสินใจแบบตาราง (Description Tables)


เราจะเลือกใช้วิธีการอันใดอันหนึ่งหรือใช้ปนกันก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม แต่ไม่ว่าจะเขียนด้วยวิธีใดๆ เมื่อเขียนแล้วควรจะมีคุณสมบัติ ดังนี้

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นสามารถนำมาตรวจสอบความถูกต้องกับผู้ใช้ได้ง่ายการเขียนเป็นประโยคโครงสร้างอาจจะไม่เหมาะสมถ้าต้องนำมาตรวจสอบกับผู้ใช้เพราะว่าคำอธิบายนั้นจะยาวและคำอธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไข หรือการทำงานซ้ำก็เขียนไม่สะดวก ตัวอย่างเช่น เงื่อนไขที่มี AND,OR หรือ NOT เป็นต้น

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นควรจะใช้สื่อสารกับผู้อื่นที่เกี่ยวข้องในระบบได้ง่ายผู้อื่นที่เกี่ยวข้องอาจจะเป็นผู้ใช้ ผู้จัดการ ผู้ตรวจสอบ เป็นต้น การเขียนคำอธิบายเป็นประโยคโครงสร้าง หรือเขียนเป็นการตัดสินใจแบบตารางจะเหมาะสมกับบุคคลเหล่านั้นเพราะว่าทั้ง 2 วิธีนั้นง่ายต่อการทำความเข้าใจถึงแม้ว่าอาจจะยาวไปหน่อยก็ตาม

โดยทั่วไปแล้ววิธีการเขียนแบบประโยคโครงสร้างเป็นที่นิยมใช้กันมากที่สุด และในโครงการเดียวกันควรจะเลือกใช้วิธีเดียวกันเพื่อให้ง่ายต่อการสื่อสาร การจะเลือกใช้วิธีการมากกว่าหนึ่งวิธีก็อาจจะเป็นไปได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ

1. ความชอบของผู้ใช้

2. ความชอบของผู้เขียน (นักวิเคราะห์ระบบ)

3. ลักษณะการทำงานของโพรเซส


ที่มา //www.geocities.com/S_Analysis/FlowChart2_new.html


โดย: ปรีชา กลมเกลียว หมู่8 พฤหัสบดีเช้า รหัส 52040901222 IP: 124.157.139.201 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:15:49:10 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ชนิดและโครงสร้างของตัวดัชนี
จากพัฒนาการของอุปกรณ์ชนิดเข้าถึงโดยตรงได้ ทำให้เราสามารถดัดแปลงแฟ้มลำดับให้เป็นแฟ้มที่เข้าถึงระเบียนได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่มโดยผ่านคีย์หลัก แฟ้มข้อมูลดังกล่าวคือแฟ้มลำดับเชิงดัชนี

ระบบแฟ้มลำดับเชิงดัชนีคือวิธีการจัดเก็บระเบียนให้มีประสิทธิภาพเพื่อให้สามารถเข้าถึงระเบียนแบบลำดับโดยคีย์บางตัว ในขณะเดียวกันก็สามารถเข้าถึงระเบียนหนึ่งระเบียนใดแบบสุ่มโดยคีย์ตัวเดียวกันนั้น ข้อกำหนดที่สำคัญสำหรับแฟ้มข้อมูลชนิดนี้คือทุกระเบียนจะต้องมีคีย์ และแฟ้มข้อมูลจะต้องเก็บอยู่ในอุปกรณ์ Direct Access Storage Device (DASD) ส่วนดัชนีในระบบฐานข้อมูลนั้นเป็นโครงสร้างข้อมูลที่ทำให้ระบบการจัดการฐานข้อมูลสามารถค้นหาระเบียนในแฟ้มข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น เพื่อตอบสนองการสอบถามข้อมูลของผู้ใช้ แฟ้มข้อมูลที่ประกอบไปด้วยระเบียนเชิงตรรกเรียกว่าแฟ้มข้อมูล ส่วนแฟ้มข้อมูลที่ประกอบไปด้วย

โครงสร้างของแฟ้มลำดับเชิงดัชนีเป็นแฟ้มลำดับที่มีส่วนของดัชนีคอยชี้ตำแหน่งระเบียน โครงสร้างของส่วนดัชนีเป็นแบบ binary search tree เราใช้ดัชนีช่วยทางด้านการเข้าถึงระเบียนเฉพาะราย ในขณะที่ส่วนของแฟ้มลำดับใช้บริการด้านการเข้าถึงแบบลำดับ การจัดโครงสร้างของแฟ้มลำดับเชิงดัชนีมี 2 วิธี คือ

Block Indexes and Data (dynamic) โครงสร้างของวิธีนี้ ทั้งส่วนของดัชนีและแฟ้มข้อมูลจัดเก็บในลักษณะของบล็อก โดยที่ส่วนดัชนีมีโครงสร้างแบบต้นไม้ และส่วนของแฟ้มข้อมูลมีโครงสร้างแบบลำดับที่มีเนื้อที่ว่างกระจายอยู่ตามกลุ่มของระเบียน ถ้าต้องการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ การค้นหาไม่จำเป็นต้องเริ่มจากส่วนของดัชนี แต่สามารถเข้าถึงระเบียนโดยเรียงตามลำดับของบล็อกข้อมูล บล็อกของข้อมูลต่างๆไม่จำเป็นต้องเก็บเรียงตามลำดับทางกายภาพ แต่ต้องเรียงตามลำดับของคีย์ โดยมีตัวเชื่อมในทุกๆบล็อกของข้อมูลใช้โยงข้อมูลให้เรียงตามลำดับเชิงตรรก
Prime and Overflow Data Area วิธีนี้เกี่ยวข้องกับลักษณะทางกายภาพของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลมากขึ้น แฟ้มลำดับเชิงดัชนี ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะทางกายภาพ แฟ้มลำดับเชิงดัชนี แบ่งเนื้อที่แฟ้มข้อมูล เนื้อที่ ของแฟ้ม แฟ้มลำดับเชิงดัชนีแบ่งเนื้อที่ออกเป็น
2.1 ส่วนดัชนี (index file) เป็นส่วนที่ช่วยให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยผ่านคีย์หลักอย่างสุ่ม

2.2 ส่วนเก็บข้อมูล มีโครงสร้างแบบแฟ้มลำดับ และประกอบด้วยระเบียนข้อมูล

2.3 เนื้อที่ส่วนเผื่อขยาย (overflow area) มีไว้สำหรับเก็บระเบียนที่จะแทรกเข้าไปใหม่ โดยไม่ต้องคัดลอกแฟ้มใหม่อย่างที่ทำกันในแฟ้มลำดับ

การเข้าถึงแฟ้มลำดับเชิงดัชนีอาจทำได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่ม ถ้าเป็นการเข้าถึงแบบลำดับนั้น ระเบียนต่างๆจะถูกเรียกใช้ในลักษณะเดียวกับแฟ้มลำดับ การเข้าถึงแบบลำดับสามารถเริ่มที่ระเบียนใดก็ได้
3.1 ชนิดและโครงสร้างของตัวดัชนี
3.2 ความแตกต่างระหว่างตัวดัชนีหลักและตัวดัชนีรอง
3.3 ประเภทของเทคนิคที่นำตัวดัชนีมาใช้ในการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลให้เร็วขึ้น




//sot.swu.ac.th/cp342/lesson09/ms3t1.htm


นายเจริญชัย ผ่ามดิน หมู่ 22 (อ.เช้า)


โดย: นายเจริญชัย ผ่ามดิน IP: 58.137.131.62 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:10:36:29 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
-เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าในระบบคอมพิวเตอร์มักมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ก็สามารถที่จะทำงานได้แล้วโดยที่หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่ต่างๆ คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม และหน่วยความจำ โดยหน่วยรับข้อมูลจะรับข้อมูล จาก ผู้ ใช้แล้วนำมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำ เพื่อให้หน่วยคำนวนและตรรกะ ทำการประมวลผลข้อมูลนั้นและเมื่อได้ รับผลลัพธ์ก็สงไปแสดงผลที่หน่วยแสดงผล หรือนำไปเก็บที่หน่วยความจำหลัก ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของหน่วยควบคุม แต่เหนื่องจากหน่วยความจำภายในไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ในกรณีที่ข้อมูล ที่ใช้มีจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีการขยายหน่วยความจำ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในระหว่างที่มีการคำนวณอยู่ ซึ่งเรียก ว่าหน่วยความจำหลักทำให้สามารถขยายขอบเขตการทำงานของคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีขั้นตตอน การทำงาน เช่นเดิม แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีหน่วยความจำหลักช่วยในการทำงาน แต่ในบางครั้งงาน ที่ทำอาจ จะ มีขนาดของข้อมูลที่โตกว่าจะเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ทั้งหมด อีกทั้งข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักของ เครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเก็บไว้ได้เป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการทำงานเท่านั้นเมื่อเลิกทำงานข้อมูล ดังกล่าว ก็จะสูญหายไปด้วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ทุกๆครั้งที่ทำงานเกี่ยวกับข้อมูล ดังกล่าวจะต้องมีการใส่ข้อมูลเข้าไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการ เสียเวลาเป็นอย่างมาก หน่วยความจำสำรองจึงเกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่เก็บ ข้อมูลไว้อย่าง ถาวร ตราบเท่า ที่ต้องการ และสามารถที่จะเก็บข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้มาก ซึ่งทำให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้ โดยการนำเอา เฉพาะข้อมูลส่วน ที่ต้องการใช้งานในขณะนั้นเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ส่วนข้อมูลที่ยังไม่ได ้ใช้งาน ในขณะนั้นก็ยังคงเก็บ ไว้ที่หน่วยความจำสำรองเช่นเดิม และหากว่าต้องการ ประมวลผลข้อมูลชุดใหม่ ก็สามารถกระทำ ได้โดยเอาข้อมูงชุดใหม่เข้าไปในหน่วยความจำแทนข้อมูลชุดเดิม ด้วยวิธีการเช่นนี้จะเห็นว่าแม้ว่า ข้อมูลจะมีจำนวน มากเกินกว่าขนาดของหน่วยความจำหลักเท่าใดก็ตาม เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน กับข้อมูลชุดนั้นได ้ เสมอและนอกจากนี้การที่มีการเก็บข้อมูลไว้ใวส่วนหน่วยความจำสำรอง จะทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมมากขึ้น กล่าวคือ นอกจากจะใช้ข้อมูลเพื่อทำงานอย่างหนึ่งได้แล้วเราสามารถใช้ข้อมูลชุดเดียวกันนี้ไปใช้เพื่อทำงานอื่นๆๆได้อีก โดยใช้ร่วมกับอีกโปรแกรมหนึ่งหรือให้โปรแกรมอื่นมาอ่านข้อมูลไปใช้งาน หากข้อมูลชุดนี้มีข้อสนเทศภายใน ที่ต้องการกล่าวโดยสรุปคือ ข้อมูลชุดหนึ่งๆสามารถใช้ได้กับโปรแกรมหลายๆโปรแกรม หากข้อมูลชุดนั้น เป็นที่ต้องการของโปรแกรมนั้น ซึ่งการเก็บข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง นี้จะต้องมีการจัดเก็บในรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้งานข้อมูลนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่จัดเก็บใน หน่วยความจำสำรอง จะเก็บอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังรายละเอียดที่กล่าวมาแล้ว การนำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรอง คือขั้นตอนการอ่านข้อมูล หรือ เขียนข้อมูลเมื่อต้องการบันทึกข้อมูล ดังนั้นวิธีการประมวลผลก็วิธีที่ว่าด้วยการอ่าน/หรือการเขียน ข้อมูลบนหน่วย ความจำสำรอง ดังนั้นจึงสามารถแบ่งวิธีการเข้าถึงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลตามรูปแบบการถึงหน่วยความจำสำรอง คือ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล
us.geocities.com


โดย: นางสาววันวิสาข์ ศรีทอง หมู่ 1เรียนจันทร์บ่าย IP: 119.42.110.112 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:17:24:54 น.  

 
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
-วิธีการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ มีหลายวิธี ดังนี้

1) การคำนวณ (Calculation) หมายถึง การนำข้อมูลที่เป็นตัวเลขมาทำการ บวก ลบ คูณ หารยกกำลัง เช่น การคำนวณภาษี การคำนวณค่าแรง เป็นต้น

2) การจัดเรียงข้อมูล (Sorting) เป็นการเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก หรือมากไปหาน้อย เพื่อทำให้ดูง่ายขึ้น ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้เร็วขึ้น เช่น การเรียงคะแนนดิบของนักเรียนจากมากไปหาน้อย การเก็บบัตรดัชนีสำหรับหนังสือต่างๆโดยการเรียงตามตัวอักษร จาก ก ข ค ถึง ฮ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าการเรียงลำดับข้อมูลสองประเภทใหญ่ๆด้วยกันคือ การเรียงข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric ) และการเรียงข้อมูลที่เป็นตัวอักษร (Alphabetic ) สำหรับการจัดเรียงข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์นั้นถ้าข้อมูลเป็นตัวอักษรจะจัดเรียงตามลำดับ ของรหัสแทนข้อมูล

3) การจัดกลุ่ม (Classifying) หมายถึง การจัดข้อมูลโดยการแยกออกเป็นกลุ่มหรือประเภทต่างๆ เช่น การนำข้อมูลเกี่ยวกับประวัตินักศึกษา มาแยกตามคณะต่างๆ

เช่น แยกเป็นนักศึกษาที่สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ นักศึกษาที่สังกัดคณะครุศาสตร์ เป็นต้น การทำเช่นนี้ทำให้การค้นหาข้อมูลทำได้ง่ายขึ้น และยังสะดวกสำหรับทำรายงานต่างๆ

4) การดึงข้อมูล (Retrieving) หมายถึง การค้นหาและการนำข้อมูลที่ต้องการมาจากแหล่งเก็บเพื่อนำไปใช้งาน เช่น ต้องการทราบค่าคะแนนเฉลี่ยๆสะสมของนักศึกษา ที่มีเลขประจำตัว 33555023 ซึ่งสังกัดคณะวิทยาศาสตร์ ถ้าข้อมูลเรียงโดยแยกตามคณะวิชาและในแต่ละคณะวิชาเรียงตามหมายเลจประจำตัวการดึงข้อมูล จะเริ่มต้นค้นหาแฟ้มของคณะวิชา และค้นหาข้อมูลเริ่มจากกลุ่มแรก โดยดูเลขประจำตัวจนกระทั่งพบหมายเลขประจำตัว 33555023 ก็จะดึงเอาค่าคะแนนเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาผู้นี้นำไปใช้ามที่ต้องการ

5) การรวมข้อมูล (Merging) หมายถึง การนำข้อมูลตั้งแต่สองชุดขึ้นไปมารวมกันให้เป็นชุดเดียวเช่น การนำประวัติส่วนตัวของนักศึกษา และประวัติการศึกษามารวมเป็นชุดเดียวกัน เป็นประวัตินักศึกษาเป็นต้น การรวมข้อมูลจัดได้ว่าเป็นวิธีการที่นิยมใช้กันมากในระบบการจัดการฐานข้อมูลในปัจจุบันนี้

6) การสรุปผล (Summarizing) หมายถึง การสรุปส่วนต่างๆของข้อมูลโดยย่อเอาเฉพาะส่วนที่เป็นใจความสำคัญ เพื่อเน้นจุดสำคัญและแนวโน้ม เช่น การนำข้อฒุลมาแจงนับและทำเป็นตารางการหายอดนักศึกษา ของแต่ละวิชา ข้อมูลเหล่านี้ใช้สำหรับพิมพ์เป็นรายงานสรุป ส้งขึ้นไปให้ผู้บรืหารระดับสูง เพื่อใช้ในการบริหาร

7) การทำรายงาน (Reporting) หมายถึง การนำข้อมูลมาจัดพิมพ์รายงานรูปแบบต่างๆ เช่น รายงานการวิเคราะห์อาชีพของผู้ปกครองของนักศึกษา รายงานการเรียนของนักศึกษา เป็นต้น

8) การบันทึก (Recording) หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลเอาไว้โดยทำการคัดลอกข้อมูลจากต้นฉบับแล้วเก็บเป็นแฟ้ม (Filing) เช่น การบันทึกประวัติส่วนตัวนักศึกษาแต่ละคน เป็นต้น

9) การปรับปรุงรักษาข้อมูล (Updating) หมายถึง การเพิ่ม (Add) หรือการเอาออก (Delete) และการเปลี่ยนค่า (Change) ข้อมูลที่อยู่ในแฟ้มให้ทันสมัยอยู่เสมอ
us.geocities.com




โดย: นางสาววันวิสาข์ ศรีทอง หมู่ 1เรียนจันทร์บ่าย IP: 119.42.110.112 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:17:32:27 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล (File Organization)

ก่อนจะกล่าวถึงการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบต่างๆ จะขอกล่าวถึงวิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
ในการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ควรคำนึงถึงประสิทธิภาพในการดึงข้อมูลเป็นสำคัญ การดึงข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองจะต้องใช้เวลานานกว่ามากเมื่อเทียบกับการดึงข้อมูลปริมาณเท่ากันจากหน่วยความจำหลัก ด้วยเหตุนี้ จึงควรเลือกใช้การจัดโครางสร้างแฟ้มข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับการใช้งานมากที่สุด

ปัจจัยในการเลือกใช้การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลให้เหมาะสมกับความต้องการ ได้แก่ปริมาณข้อมูล ความถี่ในการดึงข้อมูล ความถี่ในการปรับปรุงข้อมูล และจำนวนครั้งที่อ่านข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองต่อการค้นหาหรือดึงข้อมูลระเบียนหนึ่ง
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบต่างๆ มีลักษณะเฉพาะตัวในการเข้าถึงข้อมูล มีดังนี้

- แฟ้มลำดับ (sequential file)
- แฟ้มสุ่ม (direct file หรือ hash file)
- แฟ้มดรรชนี (indexed file)
- แฟ้มลำดับดรรชนี (indexed direct file)
แฟ้มลำดับ เป็นการจัดโครงสร้างแฟ้มที่ง่ายที่สุด คือระเบียนจะถูกเก็บเรียงต่อเนื่องกันไปตามลำดับของเขตข้อมูลคีย์ เช่น แฟ้มข้อมูลลูกค้า ถ้าใช้หมายเลขลูกค้าเป็นเขตข้อมูลคีย์ ระเบียนในแฟ้มก็จะเรียงตามลำดับหมายเลขลูกค้า การจัดโครางสร้างแฟ้มข้อมูลลักษณะนี้เหมาะสำหรับข้อมูลปริมาณมาก เช่น ใบแจ้งหนี้ค่าโทรศัพท์ และโครงสร้างแฟ้มข้อมูลนี้สามารถใช้กับเทปแม่เหล็ก (magnetic tape) หรือจานแม่เหล็ก (magnetic dish) ก็ได้

ที่มา//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

//new.yupparaj.ac.th/






โดย: นางสาวปาริฉัตร สาริมุ้ย หมู่ 1จันทร์บ่าย IP: 119.42.110.112 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:17:52:38 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ การเข้าถึงข้อมูลการเข้าถึงแบบลำดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการเหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล (FILE ORGANIZATION)
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบต่างๆ มีลักษณะเฉพาะตัวในการเข้าถึงข้อมูล มีดังนี้
ประเภท การเข้าถึง
ข้อมูล หน่วยความจำสำรอง ข้อดี ข้อเสีย
แฟ้มลำดับ (sequential) ลำดับ เทปแม่เหล็กจานแม่เหล็ก ประหยัด ใช้ได้ดีกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก หรือทั้งแฟ้ม การจะเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงใช้เวลามาก
แฟ้มสุ่ม(direct หรือ hash) สุ่ม จานแม่เหล็ก การเข้าถึงระเบียนแบบเฉพาะเจาะจงเร็วมาก ไม่เหมาะกับการเข้าถึงข้อมูลปริมาณมาก และไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับได้ สิ้นเปลือง
แฟ้มดรรชนี(indexed) สุ่ม จานแม่เหล็ก ประหยัดกว่าแฟ้มสุ่มแต่สิ้นเปลืองกว่าแฟ้มลำดับ เข้าถึงข้อมูลเฉพาะเจาะจง ได้เร็ว การจัดการดรรชนีอาจเสียเวลามาก
แฟ้มลำดับดรรชนี (indexed sequential) ลำดับ, สุ่ม จานแม่เหล็ก การเข้าถึงข้อมูลได้ดีทั้งข้อมูลปริมาณมาก และแบบเฉพาะเจาะจง ไม่ต้องจัดการดรรชนีมากเท่าแบบแฟ้มดรรชนี ไม่เร็วเท่าแฟ้มสุ่ม ค่าใช้จ่ายสูง

ที่มา //www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/13.html


โดย: นางสาวปัทมาวดี ไชยลา หมู่1 เรียนวันจันทร์บ่าย IP: 119.42.110.3 วันที่: 29 กันยายน 2552 เวลา:14:24:48 น.  

 
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ การประมวลผลข้อมูลแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ คือ
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือ หมายถึงการใช้แรงงานคนเป็นหลักในการประมวลผล โดยมีอุปกรณ์ต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการประมวลผล เช่น ดินสอ ปากกา ไม้บรรทัด กระดาษ ลูกคิด เครื่องคิดเลข วิธีการประมวลผลด้วยมือเหมาะกับงานที่มีปริมาณไม่มากนัก และอยู่ในภาวะที่แรงงานยังมีการจ้างงานที่ไม่สูงนัก
2. การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล(Manual With Machine Assistance Data Processing)
การประมวลผลด้วยมือกับเครื่องจักรกล หรือการประมวลผลด้วยเครื่องจักรกล ซึ่งการประมวลผลแบบนี้จะเหมาะกับงานระดับกลางที่มีปริมาณไม่มากนัก และต้องการความเร็วในการทำงานในระดับพอสมควร การทำงานจะอาศัยแรงงานคน ร่วมกับเครื่องจักรกล เครื่องที่ใช้กันมาก คือ เครื่องทำบัญชี หรือเครื่องประมวลผลกึ่งอิเล็กทรอนิกส์ (Semi-electronic Data Processing)
3. การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing)
การประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ หรือการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เรียกย่อๆ ว่า EDP คือ การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งงานที่เหมาะสมกับการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์คือ งานที่มีลักษณะดังนี้
งานที่มีปริมาณมากๆ
ต้องการความเร็วในการประมวลผล
ต้องการความละเอียดและความถูกต้องของงานสูง
งานที่มีขั้นตอนยุ่งยาก ซับซ้อน หรือมีลักษณะที่ทำงานแบบเดิมซ้ำกันหลายๆ รอบ
มีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อนเช่น ระบบงานทะเบียนและวัดผล, ระบบงานการจองตั๋วเครื่องบิน หรือระบบงานด้านการเงินและการธนาคาร เป็นต้น
ขั้นตอนการประมวลผลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์
การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ
1. การเตรียมข้อมูลเข้า (Input Data)
คือการเก็บรวบรวมข้อมูลให้พร้อมที่จะทำการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผล ซึ่งประกอบไปด้วย
1.1 การลงรหัส (Coding) คือการใช้รหัสแทนข้อมูล ซึ่งทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปที่กระทัดรัดเพื่อสะดวกแก่การประมวลผล รหัสที่ใช้อาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลขก็ได้
1.2 การแก้ไข (Editing) คือการตรวจสอบข้อมูล ให้มีความถูกต้อง และเป็นไปได้ (เช่น ข้อมูลอายุ ควรจะอยู่ระหว่าง 0 - 100 ปี เป็นต้น) ก่อนนำไปใช้งาน โดยมีการปรับปรุงแก้ไขเท่าที่จำเป็น
1.3 การแยกประเภท (Classifying) คือ การจัดประเภทของข้อมูล หรือจำแนกข้อมูลออกเป็นกลุ่มเพื่อสะดวกแก่การนำไปประมวลผล เช่น ร้านค้าย่อย อาจจะจำแนกเป็น ชนิดของสินค้า แผนกที่ขาย ผู้ขาย หรือจำแนกหมวดอื่นๆ ตามที่ผู้จัดร้านเห็นว่ามีประโยชน์ต่อการดำเนินงาน
1.4 การแปรสภาพข้อมูล (Transforming) คือ การเปลี่ยนสื่อ หรือตัวกลางที่ใช้บันทึกข้อมูลเพื่อให้อยู่ในรูปที่สามารถนำไปประมวลผลต่อไปได้ เช่น การเจาะข้อมูลลงบนบัตร เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถรับไปประมวลผลได้


ที่มา //www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data3.html



โดย: นางสาวปัทมาวดี ไชยลา หมู่1 เรียนวันจันทร์บ่าย IP: 119.42.110.3 วันที่: 29 กันยายน 2552 เวลา:14:29:09 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ก่อนจะกล่าวถึงการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบต่างๆ จะขอกล่าวถึงวิธีการเข้าถึงข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การเข้าถึงแบบลำดับ (sequential access) และการเข้าถึงแบบสุ่ม (random access)

การเข้าถึงแบบลำดับ
เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ต้องการ เหมาะสำหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลำดับ แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจำ
การเข้าถึงแบบสุ่ม
เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตำแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ ดังจะกล่าวต่อไป การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มเหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลจำนวนไม่มาก และเหมาะสำหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขเป็นประจำ
ที่มา//www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_oi/topic53_m5t1.html


โดย: น.ส.สุกัญญา พรมสวัสดิ์ (หมู่ที่ 15 ศุกร์ เช้า ) IP: 61.19.119.253 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:13:53:50 น.  

 
2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน

//new.yupparaj.ac.th/


โดย: น.ส.สุกัญญา พรมสวัสดิ์ (หมู่ที่ 15 ศุกร์ เช้า ) IP: 61.19.119.253 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:13:55:59 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าในระบบคอมพิวเตอร์มักมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ก็สามารถที่จะทำงานได้แล้วโดยที่หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่ต่างๆ คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม และหน่วยความจำ โดยหน่วยรับข้อมูลจะรับข้อมูล จาก ผู้ ใช้แล้วนำมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำ เพื่อให้หน่วยคำนวนและตรรกะ ทำการประมวลผลข้อมูลนั้นและเมื่อได้ รับผลลัพธ์ก็สงไปแสดงผลที่หน่วยแสดงผล หรือนำไปเก็บที่หน่วยความจำหลัก ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของหน่วยควบคุม แต่เหนื่องจากหน่วยความจำภายในไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ในกรณีที่ข้อมูล ที่ใช้มีจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีการขยายหน่วยความจำ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในระหว่างที่มีการคำนวณอยู่ ซึ่งเรียก ว่าหน่วยความจำหลักทำให้สามารถขยายขอบเขตการทำงานของคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีขั้นตตอน การทำงาน เช่นเดิม แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีหน่วยความจำหลักช่วยในการทำงาน แต่ในบางครั้งงาน ที่ทำอาจ จะ มีขนาดของข้อมูลที่โตกว่าจะเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ทั้งหมด อีกทั้งข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักของ เครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเก็บไว้ได้เป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการทำงานเท่านั้นเมื่อเลิกทำงานข้อมูล ดังกล่าว ก็จะสูญหายไปด้วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ทุกๆครั้งที่ทำงานเกี่ยวกับข้อมูล ดังกล่าวจะต้องมีการใส่ข้อมูลเข้าไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการ เสียเวลาเป็นอย่างมาก หน่วยความจำสำรองจึงเกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่เก็บ ข้อมูลไว้อย่าง ถาวร ตราบเท่า ที่ต้องการ และสามารถที่จะเก็บข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้มาก ซึ่งทำให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้ โดยการนำเอา เฉพาะข้อมูลส่วน ที่ต้องการใช้งานในขณะนั้นเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ส่วนข้อมูลที่ยังไม่ได ้ใช้งาน ในขณะนั้นก็ยังคงเก็บ ไว้ที่หน่วยความจำสำรองเช่นเดิม และหากว่าต้องการ ประมวลผลข้อมูลชุดใหม่ ก็สามารถกระทำ ได้โดยเอาข้อมูงชุดใหม่เข้าไปในหน่วยความจำแทนข้อมูลชุดเดิม ด้วยวิธีการเช่นนี้จะเห็นว่าแม้ว่า ข้อมูลจะมีจำนวน มากเกินกว่าขนาดของหน่วยความจำหลักเท่าใดก็ตาม เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน กับข้อมูลชุดนั้นได ้ เสมอและนอกจากนี้การที่มีการเก็บข้อมูลไว้ใวส่วนหน่วยความจำสำรอง จะทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมมากขึ้น กล่าวคือ นอกจากจะใช้ข้อมูลเพื่อทำงานอย่างหนึ่งได้แล้วเราสามารถใช้ข้อมูลชุดเดียวกันนี้ไปใช้เพื่อทำงานอื่นๆๆได้อีก โดยใช้ร่วมกับอีกโปรแกรมหนึ่งหรือให้โปรแกรมอื่นมาอ่านข้อมูลไปใช้งาน หากข้อมูลชุดนี้มีข้อสนเทศภายใน ที่ต้องการกล่าวโดยสรุปคือ ข้อมูลชุดหนึ่งๆสามารถใช้ได้กับโปรแกรมหลายๆโปรแกรม หากข้อมูลชุดนั้น เป็นที่ต้องการของโปรแกรมนั้น ซึ่งการเก็บข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง นี้จะต้องมีการจัดเก็บในรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้งานข้อมูลนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่จัดเก็บใน หน่วยความจำสำรอง จะเก็บอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังรายละเอียดที่กล่าวมาแล้ว การนำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรอง คือขั้นตอนการอ่านข้อมูล หรือ เขียนข้อมูลเมื่อต้องการบันทึกข้อมูล ดังนั้นวิธีการประมวลผลก็วิธีที่ว่าด้วยการอ่าน/หรือการเขียน ข้อมูลบนหน่วย ความจำสำรอง ดังนั้นจึงสามารถแบ่งวิธีการเข้าถึงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลตามรูปแบบการถึงหน่วยความจำสำรอง คือ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล
//us.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

การประมวลผลข้อมูล คือ
การนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อแปรสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการ ที่เรียกว่า “สารสนเทศ “
วิธีการประมวลผล จำแนกได้ 3 วิธี
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing) เช่น ใช้ลูกคิด , เครื่องคิดเลข การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กที่มีปริมาณข้อมูลไม่มากนัก และการคำนวณไม่ยุ่งยากซับซ้อน
2. การประมวลผลด้วยเครื่องจักร (Mechanical Data Processing) เช่น เครื่องทำบัญชีด้วยบัตรเจาะรู การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง ที่มีข้อมูปริมาณปานกลาง และต้องการความเร็วในการทำงานปานกลาง
3. การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing) ซึ่งหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง ลักษณะงานที่เหมาะสมต่อการประมวลผลด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ คือ งานที่มีปริมาณมากๆ ต้องการความถูกต้องรวดเร็ว มีขั้นตอนในการทำงานซ้ำๆ กัน และมีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน

ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขั้นตอนให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นเตรียมข้อมูล (Input) : การลงรหัส , การตรวจสอบแก้ไขข้อมูล , การแยกประเภทข้อมูล , การบันทึกข้อมูลลงสื่อ
2. ขั้นการประมวลผล (Processing) : การคำนวณ , การเรียงลำดับข้อมูล , การดึงข้อมูลมาใช้ , การรวมข้อมูล
3. ขั้นการแสดงผลลัพธ์ (Output) : ผลสรุปรายงาน

//www.pkc.ac.th/kanchit/%E0%B8%8731101%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%9E%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%201/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%203%20%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%20%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8.doc



โดย: น.ส.จิราภรณ์ ศุกรักษ์(หมู่15 ศุกร์ เช้า) IP: 222.123.58.158 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:14:01:41 น.  

 
1. ตอบ การเข้าถึงแบบสุ่ม (Direct/Random File Structure)
-โครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่เข้าถึงได้โดยตรง
-สามารถเลือกหรืออ่านค่าได้โดยไม่จำเป็นต้องผ่านเรคอร์ดแรกๆ
-การเข้าถึงข้อมูลทำได้เร็ว
-จัดเก็บในสื่อที่มีการเข้าถึงได้โดยตรงประเภทจานแม่เหล็ก เช่น ดิสเก็ตต์, ฮาร์ดดิสก์หรือ CD-ROM
อาจแบ่งตามลักษณะการทำงานออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
1.1 แบบแฮชไฟล์ (Hash File)
1.2 แบบดัชนี (Indexed File)

แบบแฮชไฟล์ (Hash File) อาศัยอัลกอริทึม ที่เรียกว่า แฮชชิ่ง (hashing) ในการคำนวณ หาค่าคีย์ฟีลด์
ถ้าข้อมูลมาก การแปลงค่าตำแหน่งอาจเกิดการชนกัน (collision) ได้

แบบเรียงลำดับ (Sequential File Structure)

โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดพื้นฐานที่สามารถใช้งานได้ง่ายที่สุด
จัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลำดับเรคอร์ดต่อเนื่องกันไป
การอ่านหรือค้นคืนข้อมูลจะข้ามลำดับไปอ่านโดยตรงไม่ได้
เหมาะสมกับงานที่มีการอ่านข้อมูลต่อเนื่องกันไปตามลำดับและในปริมาณมาก
จัดเก็บอยู่ในอุปกรณ์ประเภทเทปแม่เหล็ก (magnetic tape


2.ตอบ วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(2.1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2.2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบไว้ก่อน

ที่มา : //new.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm
//www.ict.su.ac.th/th/ict-elearning/800110/week3/Week-03_Database_23-06-52.ppt#286,28,2. แบบสุ่ม (Direct/Random File Structure)





โดย: นาย ณัฐพงศ์ มันทะลา IP: 124.157.129.36 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:18:44:02 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าในระบบคอมพิวเตอร์มักมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ก็สามารถที่จะทำงานได้แล้วโดยที่หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่ต่างๆ คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม และหน่วยความจำ โดยหน่วยรับข้อมูลจะรับข้อมูล จาก ผู้ ใช้แล้วนำมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำ เพื่อให้หน่วยคำนวนและตรรกะ ทำการประมวลผลข้อมูลนั้นและเมื่อได้ รับผลลัพธ์ก็สงไปแสดงผลที่หน่วยแสดงผล หรือนำไปเก็บที่หน่วยความจำหลัก ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของหน่วยควบคุม แต่เหนื่องจากหน่วยความจำภายในไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ในกรณีที่ข้อมูล ที่ใช้มีจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีการขยายหน่วยความจำ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในระหว่างที่มีการคำนวณอยู่ ซึ่งเรียก ว่าหน่วยความจำหลักทำให้สามารถขยายขอบเขตการทำงานของคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีขั้นตตอน การทำงาน เช่นเดิม แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีหน่วยความจำหลักช่วยในการทำงาน แต่ในบางครั้งงาน ที่ทำอาจ จะ มีขนาดของข้อมูลที่โตกว่าจะเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ทั้งหมด อีกทั้งข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักของ เครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเก็บไว้ได้เป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการทำงานเท่านั้นเมื่อเลิกทำงานข้อมูล ดังกล่าว ก็จะสูญหายไปด้วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ทุกๆครั้งที่ทำงานเกี่ยวกับข้อมูล ดังกล่าวจะต้องมีการใส่ข้อมูลเข้าไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการ เสียเวลาเป็นอย่างมาก หน่วยความจำสำรองจึงเกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่เก็บ ข้อมูลไว้อย่าง ถาวร ตราบเท่า ที่ต้องการ และสามารถที่จะเก็บข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้มาก ซึ่งทำให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้ โดยการนำเอา เฉพาะข้อมูลส่วน ที่ต้องการใช้งานในขณะนั้นเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ส่วนข้อมูลที่ยังไม่ได ้ใช้งาน ในขณะนั้นก็ยังคงเก็บ ไว้ที่หน่วยความจำสำรองเช่นเดิม และหากว่าต้องการ ประมวลผลข้อมูลชุดใหม่ ก็สามารถกระทำ ได้โดยเอาข้อมูงชุดใหม่เข้าไปในหน่วยความจำแทนข้อมูลชุดเดิม ด้วยวิธีการเช่นนี้จะเห็นว่าแม้ว่า ข้อมูลจะมีจำนวน มากเกินกว่าขนาดของหน่วยความจำหลักเท่าใดก็ตาม เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน กับข้อมูลชุดนั้นได ้ เสมอและนอกจากนี้การที่มีการเก็บข้อมูลไว้ใวส่วนหน่วยความจำสำรอง จะทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมมากขึ้น กล่าวคือ นอกจากจะใช้ข้อมูลเพื่อทำงานอย่างหนึ่งได้แล้วเราสามารถใช้ข้อมูลชุดเดียวกันนี้ไปใช้เพื่อทำงานอื่นๆๆได้อีก โดยใช้ร่วมกับอีกโปรแกรมหนึ่งหรือให้โปรแกรมอื่นมาอ่านข้อมูลไปใช้งาน หากข้อมูลชุดนี้มีข้อสนเทศภายใน ที่ต้องการกล่าวโดยสรุปคือ ข้อมูลชุดหนึ่งๆสามารถใช้ได้กับโปรแกรมหลายๆโปรแกรม หากข้อมูลชุดนั้น เป็นที่ต้องการของโปรแกรมนั้น ซึ่งการเก็บข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง นี้จะต้องมีการจัดเก็บในรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้งานข้อมูลนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่จัดเก็บใน หน่วยความจำสำรอง จะเก็บอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังรายละเอียดที่กล่าวมาแล้ว การนำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรอง คือขั้นตอนการอ่านข้อมูล หรือ เขียนข้อมูลเมื่อต้องการบันทึกข้อมูล ดังนั้นวิธีการประมวลผลก็วิธีที่ว่าด้วยการอ่าน/หรือการเขียน ข้อมูลบนหน่วย ความจำสำรอง ดังนั้นจึงสามารถแบ่งวิธีการเข้าถึงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลตามรูปแบบการถึงหน่วยความจำสำรอง คือ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล
//us.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm

2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

การประมวลผลข้อมูล คือ
การนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อแปรสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการ ที่เรียกว่า “สารสนเทศ “
วิธีการประมวลผล จำแนกได้ 3 วิธี
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing) เช่น ใช้ลูกคิด , เครื่องคิดเลข การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กที่มีปริมาณข้อมูลไม่มากนัก และการคำนวณไม่ยุ่งยากซับซ้อน
2. การประมวลผลด้วยเครื่องจักร (Mechanical Data Processing) เช่น เครื่องทำบัญชีด้วยบัตรเจาะรู การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง ที่มีข้อมูปริมาณปานกลาง และต้องการความเร็วในการทำงานปานกลาง
3. การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing) ซึ่งหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง ลักษณะงานที่เหมาะสมต่อการประมวลผลด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ คือ งานที่มีปริมาณมากๆ ต้องการความถูกต้องรวดเร็ว มีขั้นตอนในการทำงานซ้ำๆ กัน และมีการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน

ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขั้นตอนให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นเตรียมข้อมูล (Input) : การลงรหัส , การตรวจสอบแก้ไขข้อมูล , การแยกประเภทข้อมูล , การบันทึกข้อมูลลงสื่อ
2. ขั้นการประมวลผล (Processing) : การคำนวณ , การเรียงลำดับข้อมูล , การดึงข้อมูลมาใช้ , การรวมข้อมูล
3. ขั้นการแสดงผลลัพธ์ (Output) : ผลสรุปรายงาน
ที่มา //www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data3.html


โดย: นางสาวกฤตยา อินทร์กอ หมู่ 22 IP: 118.174.22.110 วันที่: 4 ตุลาคม 2552 เวลา:1:08:41 น.  

 
2.1.) อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล
ที่มา://us.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm

2.2.)การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
ที่มา:
//www.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm
โดยนางสาว สุดารัตน์ นรินทร์ เรียนพฤหัสเช้า หมู่08 เวลา 08.00-12.00น.



โดย: นางสาว สุดารัตน์ นรินทร์ IP: 125.26.164.252 วันที่: 5 ตุลาคม 2552 เวลา:9:34:01 น.  

 
นส.เพ็ญนภา เจริญทรง
49240428132 ม.05
ส.13.00-16.00 น.

ข้อที่ 1

วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าในระบบคอมพิวเตอร์มักมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ก็สามารถที่จะทำงานได้แล้วโดยที่หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่ต่างๆ คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม และหน่วยความจำ โดยหน่วยรับข้อมูลจะรับข้อมูล จาก ผู้ ใช้แล้วนำมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำ เพื่อให้หน่วยคำนวนและตรรกะ ทำการประมวลผลข้อมูลนั้นและเมื่อได้ รับผลลัพธ์ก็สงไปแสดงผลที่หน่วยแสดงผล หรือนำไปเก็บที่หน่วยความจำหลัก ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของหน่วยควบคุม แต่เหนื่องจากหน่วยความจำภายในไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ในกรณีที่ข้อมูล ที่ใช้มีจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีการขยายหน่วยความจำ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในระหว่างที่มีการคำนวณอยู่ ซึ่งเรียก ว่าหน่วยความจำหลักทำให้สามารถขยายขอบเขตการทำงานของคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีขั้นตตอน การทำงาน เช่นเดิม แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีหน่วยความจำหลักช่วยในการทำงาน แต่ในบางครั้งงาน ที่ทำอาจ จะ มีขนาดของข้อมูลที่โตกว่าจะเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ทั้งหมด อีกทั้งข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักของ เครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเก็บไว้ได้เป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการทำงานเท่านั้นเมื่อเลิกทำงานข้อมูล ดังกล่าว ก็จะสูญหายไปด้วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ทุกๆครั้งที่ทำงานเกี่ยวกับข้อมูล ดังกล่าวจะต้องมีการใส่ข้อมูลเข้าไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการ เสียเวลาเป็นอย่างมาก หน่วยความจำสำรองจึงเกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่เก็บ ข้อมูลไว้อย่าง ถาวร ตราบเท่า ที่ต้องการ และสามารถที่จะเก็บข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้มาก ซึ่งทำให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้ โดยการนำเอา เฉพาะข้อมูลส่วน ที่ต้องการใช้งานในขณะนั้นเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ส่วนข้อมูลที่ยังไม่ได ้ใช้งาน ในขณะนั้นก็ยังคงเก็บ ไว้ที่หน่วยความจำสำรองเช่นเดิม และหากว่าต้องการ ประมวลผลข้อมูลชุดใหม่ ก็สามารถกระทำ ได้โดยเอาข้อมูงชุดใหม่เข้าไปในหน่วยความจำแทนข้อมูลชุดเดิม ด้วยวิธีการเช่นนี้จะเห็นว่าแม้ว่า ข้อมูลจะมีจำนวน มากเกินกว่าขนาดของหน่วยความจำหลักเท่าใดก็ตาม เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน กับข้อมูลชุดนั้นได ้ เสมอและนอกจากนี้การที่มีการเก็บข้อมูลไว้ใวส่วนหน่วยความจำสำรอง จะทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมมากขึ้น กล่าวคือ นอกจากจะใช้ข้อมูลเพื่อทำงานอย่างหนึ่งได้แล้วเราสามารถใช้ข้อมูลชุดเดียวกันนี้ไปใช้เพื่อทำงานอื่นๆๆได้อีก โดยใช้ร่วมกับอีกโปรแกรมหนึ่งหรือให้โปรแกรมอื่นมาอ่านข้อมูลไปใช้งาน หากข้อมูลชุดนี้มีข้อสนเทศภายใน ที่ต้องการกล่าวโดยสรุปคือ ข้อมูลชุดหนึ่งๆสามารถใช้ได้กับโปรแกรมหลายๆโปรแกรม หากข้อมูลชุดนั้น เป็นที่ต้องการของโปรแกรมนั้น ซึ่งการเก็บข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง นี้จะต้องมีการจัดเก็บในรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้งานข้อมูลนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่จัดเก็บใน หน่วยความจำสำรอง จะเก็บอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังรายละเอียดที่กล่าวมาแล้ว การนำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรอง คือขั้นตอนการอ่านข้อมูล หรือ เขียนข้อมูลเมื่อต้องการบันทึกข้อมูล ดังนั้นวิธีการประมวลผลก็วิธีที่ว่าด้วยการอ่าน/หรือการเขียน ข้อมูลบนหน่วย ความจำสำรอง ดังนั้นจึงสามารถแบ่งวิธีการเข้าถึงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลตามรูปแบบการถึงหน่วยความจำสำรอง คือ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล


ที่มา //www.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm

ข้อที่ 2

การอธิบายการประมวลผล (Process Description)


การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้โดยการใช้แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) โดยการเขียนสัญลักษณ์การประมวลผลนั้นจะเขียนเพียงหัวข้อในการประมวลผลเท่านั้น ยังไม่มีการเขียนคำอธิบายโดยละเอียด ซึ่งเราสามารถเขียนอธิบายโดยละเอียดได้ด้วยการเขียนคำอธิบายการประมวลผล (Process Description) หรือ Process Specification

จุดประสงค์ของการเขียน Process Specification เพื่อใช้เป็นสื่อระหว่างผู้ใช้ระบบโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ระบบ ได้เข้าใจตรงกันในการประมวลผลนั้น โดยโปรแกรมเมอร์จะเข้าใจการประมวลผลนั้นเพื่อใช้ในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะในกรณีของการมีโปรแกรมเมอร์หลายคนในการเขียนโปรแกรมในการสื่อให้เข้าใจตรงกัน ส่วนผู้ใช้ระบบจะได้เห็นถึงผลการวิเคราะห์ของนักวิเคราะห์ระบบว่าเข้าใจถูกต้องหรือไม่

จุดมุ่งหมายในการใช้การอธิบายการประมวลผลนั้นสรุปได้ 3 ข้อคือ

1. เพื่อให้การประมวลผลนั้นชัดเจน เข้าใจง่าย

การใช้วิธีนี้จะทำให้ผู้วิเคราะห์ได้เรียนรู้รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนในการประมวลผลการทำงานในส่วนที่ไม่ชัดเจนต่างๆ จะถูกบันทึก และเขียนออกมาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจะรวมมาจากการสืบค้นข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลวิธีต่างๆ

2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถูกต้องในการอธิบายในรูปแบบเฉพาะของการประมวลผลนั้นระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

ในการสื่อถึงกันให้เข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์และโปรแกรมเมอร์นั้น ถ้าไม่สื่อกันให้ชัดเจนจะมีผลตามมาอย่างมากเมื่อลงรหัสโปรแกรม เนื่องจากจะต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย และอาจทำให้การบริหารโครงการไม่เป็นไปตามกำหนดเวลาอีกด้วย ดังนั้นในการอธิบายการประมวลผลจึงมีส่วนช่วยอย่างมากในการสื่อการประมวลผลให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

3. เพื่อตรวจสอบการออกแบบระบบ

โดยการประมวลผลนั้นจะถูกต้องหรือไม่ในด้านข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่อง การออกรายงานทั้งหน้าจอ และการพิมพ์รายงานนั้นจะเป็นไปตามการวิเคราะห์ตามแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) หรือไม่ จะสามารถตรวจสอบได้จากการอธิบายการประมวลผลนี้

การเขียนคำอธิบายการประมวลผลนี้จะมีเฉพาะโพรเซสในระดับล่างสุดเท่านั้น ระดับแม่เราจะไม่เขียนคำอธิบายเนื่องจากเราเขียน DFD ระดับแม่เพื่อใช้เป็นเครื่องมือเขียน DFD ระดับลูกเพื่อให้เกิดการแตกโครงสร้างแบบบน-ลง-ล่าง (Top - Down) และเมื่ออธิบายโพรเซสระดับลูกแล้วก็หมายความรวมถึงการทำงานระดับแม่โดยปริยาย


วิธีการที่ใช้อธิบายการประมวลผลที่จะกล่าวในที่นี้มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธีคือ

1. ประโยคโครงสร้าง (Structure Sentences)

2. การตัดสินใจแบบตาราง (Description Tables)


เราจะเลือกใช้วิธีการอันใดอันหนึ่งหรือใช้ปนกันก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม แต่ไม่ว่าจะเขียนด้วยวิธีใดๆ เมื่อเขียนแล้วควรจะมีคุณสมบัติ ดังนี้

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นสามารถนำมาตรวจสอบความถูกต้องกับผู้ใช้ได้ง่ายการเขียนเป็นประโยคโครงสร้างอาจจะไม่เหมาะสมถ้าต้องนำมาตรวจสอบกับผู้ใช้เพราะว่าคำอธิบายนั้นจะยาวและคำอธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไข หรือการทำงานซ้ำก็เขียนไม่สะดวก ตัวอย่างเช่น เงื่อนไขที่มี AND,OR หรือ NOT เป็นต้น

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นควรจะใช้สื่อสารกับผู้อื่นที่เกี่ยวข้องในระบบได้ง่ายผู้อื่นที่เกี่ยวข้องอาจจะเป็นผู้ใช้ ผู้จัดการ ผู้ตรวจสอบ เป็นต้น การเขียนคำอธิบายเป็นประโยคโครงสร้าง หรือเขียนเป็นการตัดสินใจแบบตารางจะเหมาะสมกับบุคคลเหล่านั้นเพราะว่าทั้ง 2 วิธีนั้นง่ายต่อการทำความเข้าใจถึงแม้ว่าอาจจะยาวไปหน่อยก็ตาม

โดยทั่วไปแล้ววิธีการเขียนแบบประโยคโครงสร้างเป็นที่นิยมใช้กันมากที่สุด และในโครงการเดียวกันควรจะเลือกใช้วิธีเดียวกันเพื่อให้ง่ายต่อการสื่อสาร การจะเลือกใช้วิธีการมากกว่าหนึ่งวิธีก็อาจจะเป็นไปได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ

1. ความชอบของผู้ใช้

2. ความชอบของผู้เขียน (นักวิเคราะห์ระบบ)

3. ลักษณะการทำงานของโพรเซส


ที่มา //www.geocities.com/S_Analysis/FlowChart2_new.html


โดย: นส.เพ็ญนภา เจริญทรง IP: 192.168.0.109, 180.183.67.230 วันที่: 6 ธันวาคม 2552 เวลา:14:23:34 น.  

 
แบบฝึกหัด
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
ตอบ
การเข้าถึงข้อมูล


การเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลทีละเรคคอร์ดเรียงไปตามลำดับของการจัดเก็บ ถ้าจะดึงข้อมูลเรคคอร์ดที่ 10 มาใช้จะต้องอ่านข้อมูลผ่านเรคคอร์ดที่ 1 ถึง 9 ก่อนเสมอ เมื่อถึงเรคคอร์ดที่ 10 จึงจะสามารถดึงข้อมูลออกมาใช้ได้ สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้มักเป็น เทป (Tape)


การเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่ต้องผ่านเรคคอร์ดที่อยู่ก่อน การเข้าถึงเรคคอร์ดแบบสุ่มจะเร็วกว่าแบบโดยลำดับมาก เหมาะสมกับงานที่ต้องการความเร็วในการดึงข้อมูลมาก ๆ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมักเป็นดิสก์ หรือจานแม่เหล็ก


2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ
การประมวลผลข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 3 วิธีใหญ่ ๆ ดังนี้
1. ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) คือ การประมวลผลโดยผู้ใช้จะทำการรวบรวมเอกสารที่ต้องการประมวลผลไว้เป็นชุด ๆ ซึ่งเอกสารแต่ละชุดต้องให้มีขนาดเท่ากัน


2. ระบบประมวลผลแบบโต้ตอบ (Transaction Processing) หมายถึงการทำงานในลักษณะที่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถที่จะตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลา


3. ระบบประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) คือ การประมวลผลร่วมกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ต่อพ่วงกับระบบสื่อสาร (Communication) โดยอาศัยอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น โมเด็ม (Modem) ซึ่งลักษณะการทำงานอาจจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อพ่วงกันในระบบเครือข่าย (Network)





โดย: นายธีรยุทธ วันทอง คบ.ภาษาอังกฤษ รหัส 52100102145 หมู่ 08 พฤหัสเช้า IP: 202.29.5.241 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:16:52:50 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ
การเข้าถึงโดยสุ่ม
(Random Access) ความสามารถในการใช้ข้อมูลจากสื่อที่ใช้เก็บ เช่น ดิสก์ หรือ แรม แนวคิดตรงนี้คือ random access ให้ใช้ข้อมูลเก่าโดยไม่ต้องอ่านทุกสิ่งทุกอย่างที่มาก่อนหน้านั้น สิ่งที่ตรงกันข้ามกับ random access คือ sequential access ซึ่งทำงานแบบวิดีโอเทป
การเข้าถึงโดยลำดับ
(Sequential Access) การเข้าถึงตามลำดับ การกวาดหาข้อมูลจากจุดเริ่มต้นทุกครั้ง เช่น เทปเก็บข้อมูลหรือเทปคาสเซตในเครื่องเล่นสเตอริโอของคุณ วิธีการเช่นนี้ต่างจากการเข้าถึงแบบสุ่มที่กวาดหาข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลตามลำดับมักจะทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม



2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

ตอบ
การประมวลผลข้อมูล
ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน การประมวลผลข้อมูล เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายอย่าง ประกอบกันคือ

การรวบรวมข้อมูล
การแยกแยะ
การตรวจสอบความถูกต้อง
การคำนวณ
การจัดลำดับหรือการเรียงลำดับ
การรายงานผล
การสื่อสารข้อมูลหรือการแจกจ่ายข้อมูลนั้น
การประมวลผลข้อมูล จึงเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญ เพราะข้อมูลที่มีอยู่ รอบๆ ตัวเรามีเป็นจำนวนมากในการใช้งานจึงต้องมีการประมวลผล เพื่อให้เกิดประโยชน์ กิจกรรมหลักของการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จึงประกอบด้วยกิจกรรมการ เก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งต้องมีการตรวจสอบ ความถูกต้องด้วย กิจกรรมการประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งแยกข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ และกิจกรรมการเก็บรักษาข้อมูลซึ่งอาจต้อง มีการทำสำเนา ทำรายงาน เพื่อแจกจ่าย

[แก้ไข] วิธีการประมวลผล
มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing) หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน




โดย: **** นายสุรศักดิ์ พฤคณา 52100102101 คบ.ภาษาอังกฤษ หมู่ 8 พฤหัสบดี เช้า IP: 172.29.5.133, 202.29.5.241 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:17:08:05 น.  

 
2.1. อธิบายวิธีการเข้าถึงแบบสุ่ม และแบบลำดับ

ตอบ

การเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลทีละเรคคอร์ดเรียงไปตามลำดับของการจัดเก็บ ถ้าจะดึงข้อมูลเรคคอร์ดที่ 10 มาใช้จะต้องอ่านข้อมูลผ่านเรคคอร์ดที่ 1 ถึง 9 ก่อนเสมอ เมื่อถึงเรคคอร์ดที่ 10 จึงจะสามารถดึงข้อมูลออกมาใช้ได้ สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบนี้มักเป็น เทป (Tape)


การเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access)

เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่ต้องผ่านเรคคอร์ดที่อยู่ก่อน การเข้าถึงเรคคอร์ดแบบสุ่มจะเร็วกว่าแบบโดยลำดับมาก เหมาะสมกับงานที่ต้องการความเร็วในการดึงข้อมูลมาก ๆ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมักเป็นดิสก์ หรือจานแม่เหล็ก


2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
ตอบ
การประมวลผลข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 3 วิธีใหญ่ ๆ ดังนี้
1. ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) คือ การประมวลผลโดยผู้ใช้จะทำการรวบรวมเอกสารที่ต้องการประมวลผลไว้เป็นชุด ๆ ซึ่งเอกสารแต่ละชุดต้องให้มีขนาดเท่ากัน


2. ระบบประมวลผลแบบโต้ตอบ (Transaction Processing) หมายถึงการทำงานในลักษณะที่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถที่จะตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลา


3. ระบบประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) คือ การประมวลผลร่วมกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ต่อพ่วงกับระบบสื่อสาร (Communication) โดยอาศัยอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น โมเด็ม (Modem) ซึ่งลักษณะการทำงานอาจจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อพ่วงกันในระบบเครือข่าย (Network)


2.2. การประมวลผลมีกี่วิธีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป

ตอบ

การประมวลผลข้อมูล
ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน การประมวลผลข้อมูล เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายอย่าง ประกอบกันคือ

การรวบรวมข้อมูล
การแยกแยะ
การตรวจสอบความถูกต้อง
การคำนวณ
การจัดลำดับหรือการเรียงลำดับ
การรายงานผล
การสื่อสารข้อมูลหรือการแจกจ่ายข้อมูลนั้น
การประมวลผลข้อมูล จึงเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญ เพราะข้อมูลที่มีอยู่ รอบๆ ตัวเรามีเป็นจำนวนมากในการใช้งานจึงต้องมีการประมวลผล เพื่อให้เกิดประโยชน์ กิจกรรมหลักของการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จึงประกอบด้วยกิจกรรมการ เก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งต้องมีการตรวจสอบ ความถูกต้องด้วย กิจกรรมการประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งแยกข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ และกิจกรรมการเก็บรักษาข้อมูลซึ่งอาจต้อง มีการทำสำเนา ทำรายงาน เพื่อแจกจ่าย

[แก้ไข] วิธีการประมวลผล
มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing) หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน





โดย: นาย นุกูลกิจ ลีทุม 52100102146 คบ.อังกฤษ หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) IP: 202.29.5.244 วันที่: 19 มกราคม 2553 เวลา:14:00:58 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 
 
 

neaup
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 35 คน [?]




มาเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้กันนะคะ
[Add neaup's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com
pantip.com pantipmarket.com pantown.com