เกลียดจริง ๆ คนไม่จริงใจ
 
1. โครงสร้างข้อมูล

โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)
อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์


2. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)
อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล





โครงสร้างข้อมูล.(Data Structure)

ในการนำข้อมูลไปใช้นั้น เรามีระดับโครงสร้างของข้อมูลดังนี้

- บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น

- ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น

- ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น

- เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด

- ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น

- ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น



หน่วยในการวัดขนาดของข้อมูล

8 Bit = 1 Byte
1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต์)
1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต์)
1,024 MB = 1 GB (กิกะไบต์)
1,024 GB = 1TB (เทระไบต์)


แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร


Create Date : 11 มิถุนายน 2552
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 10:12:11 น. 148 comments
Counter : 25608 Pageviews.

 
1.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html


โดย: นศ.ณัฐชนันท์พร ศรีบุญเรือง (หมู่08 เช้า พฤ ) IP: 172.29.85.18, 58.137.131.62 วันที่: 11 มิถุนายน 2552 เวลา:15:25:59 น.  

 
โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)




โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:12:29:54 น.  

 
ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น แต่ ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง


โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:12:41:18 น.  

 
โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)
ที่มา


//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html



โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:13:05:38 น.  

 
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง แต่ ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo342.htm


โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:13:09:23 น.  

 
1.ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
ที่มา
//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html
2.โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสาร้างเชิงการยภายและเชิงตรรกะแตกต่างกันคือ
ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง
ที่มา
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo342.htm


โดย: นางสาวเกศรินทร์ ไชยปัญญา (ม.08 พฤ เช้า) IP: 124.157.220.45 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:17:04:02 น.  

 
โครงสร้างข้อมูล (Data structure)

1. Bit (Binary digit)
ในระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล คือ bit (Bit) ซึ่งย่อมาจากคำว่า Binary digit หรือเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 ใช้แทนข้อมูล เหตุการณ์หรือสถานะ ได้เพียง 2 อย่างเท่านั้น เช่น จริง/เท็จ มี/ไม่มี จ่ายแล้ว/ยังไม่จ่าย เปิด/ปิด เป็นต้น ย่อมไม่เพียงพอต่อการแทนข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ จึงมีการนำเอา bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการแทนข้อมูลอักขระ 1 ตัว
2. อักขระ (Character)
เขตข้อมูลเกิดจากการนำเอาข้อมูล bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน โดยการรวมกันนี้เป็นการรวมกันเพื่อให้ได้จุดมุ่งหมายบางอย่าง (รวมกันแล้วได้อักขระ 1 ตัว) โดยในการนำเอาข้อมูล bit มารวมกันเพื่อให้เกิดอักขระนี้จะอาศัยมาตรฐานของรหัสแทน ข้อมูล ซึ่งรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ รหัส ASCII และ EBCDIC โดยทั้งสองรหัสนี้จะนำเอา bit จำนวน 8 bit มารวมกัน เพื่อสร้างอักขระ 1 ตัว
3. เขตข้อมูล (Field) / Attribute
เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้ที่เล็กที่สุด ซึ่ง Field จะเกิดจากการนำเอาอักขระต่างๆ มารวมกัน แล้วให้ความหมาย หรือบ่งบอกข้อมูลบางสิ่งบางอย่างได้

4. ระเบียนข้อมูล (Record)
ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการรวมกันของเขตข้อมูลต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ (Logical relation) หรือรวมกันอย่างมีจุดประสงค์ เขตข้อมูลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ แม้นำมารวมกันก็ไม่เกิดความหมายหรือไม่เป็นระเบียบ
5. แฟ้มข้อมูล (File) / Entity
แฟ้มข้อมูล จะเป็นส่วนที่รวบรวมเอาระเบียนข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกัน มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา ก็จะรวบรวมเอาระเบียนข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของนักศึกษาแต่ละคนที่มีอยู่ทั้งหมดมารวมเข้าไว้ด้วยกัน
6.ฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูลจะเป็นส่วนที่ใช้รวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยการรวบรวมข้อมูลนี้ จะอยู่ภายใต้หัวเรื่องหรือจุดประสงค์เดียวกัน หรือเป็นข้อมูลที่รวบรวมไว้ใช้ในการตอบคำถามหรือตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน (ภายใต้วัตถุประสงค์ของฐานข้อมูล
ที่มา
://www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html
ความแตกต่างระหว่างโครงสร้างเชิงกายภาพและเชิงตรรกะ
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด
ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร
ที่มา
://sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm




โดย: โดยนางสาวเบญจมาศ ปวงสุข หมู่ 1 เรียนจันทร์บ่าย IP: 114.128.130.15 วันที่: 15 มิถุนายน 2552 เวลา:18:47:25 น.  

 
1.1 โครงสร้างของข้อมูล



ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา : //www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html


1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูล
1.แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

ที่มา : //sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm



โดย: นางสาวอรธิรา บัวลา บช.บ.1/3 หมู่ 29 เรียนวันพุธคาบที่ 2-5 เมล์ manay_manay@hotmail.com IP: 172.29.6.110, 202.29.5.62 วันที่: 17 มิถุนายน 2552 เวลา:9:49:59 น.  

 
ข้อที่ 1

โครงสร้างข้อมูล

โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)


อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์


2. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)

อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล







โครงสร้างข้อมูล.(Data Structure)

ในการนำข้อมูลไปใช้นั้น เรามีระดับโครงสร้างของข้อมูลดังนี้

- บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น

- ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น

- ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น

- เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด

- ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น

- ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น



หน่วยในการวัดขนาดของข้อมูล

8 Bit = 1 Byte
1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต์)
1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต์)
1,024 MB = 1 GB (กิกะไบต์)
1,024 GB = 1TB (เทระไบต์)


แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร



Create Date : 11 มิถุนายน 2552
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 10:12:11 น. 8 comments
Counter : 31 Pageviews.







1.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html




โดย: นศ.ณัฐชนันท์พร ศรีบุญเรือง (หมู่08 เช้า พฤ ) IP: 172.29.85.18, 58.137.131.62 วันที่: 11 มิถุนายน 2552 เวลา:15:25:59 น.







โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)






โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:12:29:54 น.







ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น แต่ ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง



โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:12:41:18 น.







โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)


ที่มา
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html

ข้อที่ 2
โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

โครงสาร้างเชิงการยภายและเชิงตรรกะแตกต่างกันคือ
ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง

ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow





โดย: นางสาววิภาวี พลวี (หมู่ 08 พฤ เช้า ) IP: 125.26.168.206 วันที่: 17 มิถุนายน 2552 เวลา:17:45:35 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน

ที่มา//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)
อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์
2. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)
อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล
ที่มา
//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5



โดย: นางสาวชลดา บุญรุ่ง (หมู่ 08 พฤ เช้า ) IP: 192.168.1.115, 58.147.38.196 วันที่: 18 มิถุนายน 2552 เวลา:14:55:23 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1. Bit (Binary digit)
2. อักขระ (characters)
3. เขตข้อมูล (Fields) / Attribute
4. ระเบียนข้อมูล (Records) / tuple
5. แฟ้มข้อมูล (Files) / Entity
6. ฐานข้อมูล (Database)
1. Bit (Binary digit)
ในระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล คือ bit (Bit) ซึ่งย่อมาจากคำว่า Binary digit หรือเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 ใช้แทนข้อมูล เหตุการณ์หรือสถานะ ได้เพียง 2 อย่างเท่านั้น เช่น จริง/เท็จ มี/ไม่มี จ่ายแล้ว/ยังไม่จ่าย เปิด/ปิด เป็นต้น ย่อมไม่เพียงพอต่อการแทนข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ จึงมีการนำเอา bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการแทนข้อมูลอักขระ 1 ตัว
2. อักขระ (Character)
เขตข้อมูลเกิดจากการนำเอาข้อมูล bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน โดยการรวมกันนี้เป็นการรวมกันเพื่อให้ได้จุดมุ่งหมายบางอย่าง (รวมกันแล้วได้อักขระ 1 ตัว) โดยในการนำเอาข้อมูล bit มารวมกันเพื่อให้เกิดอักขระนี้จะอาศัยมาตรฐานของรหัสแทน ข้อมูล ซึ่งรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ รหัส ASCII และ EBCDIC โดยทั้งสองรหัสนี้จะนำเอา bit จำนวน 8 bit มารวมกัน เพื่อสร้างอักขระ 1 ตัว

รหัสแทนข้อมูล
รหัสแทนข้อมูลจะมี 2 ลักษณะ คือ
1. รหัสภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (External Code) เป็นรหัสที่ใช้อยู่ภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น รหัสที่ใช้ในบัตรเจาะรู
2. รหัสภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ (Internal Code) เป็นรหัสที่ใช้อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีอยู่หลายรหัส

รหัส BCD (Binary Code Decimal)
เป็นรหัสที่ใช้อยู่ ในช่วง ค.ศ. 1959-1965 ใช้การเข้ารหัสตัวอักษร และตัวเลขเป็นแบบ 6 bit เป็น 1 byte หรือเป็น 1 character (หรือ 6 bit bytes) ซึ่งจะทำให้สามารถสร้างรหัสต่างๆ ได้ถึง 64 รหัส (26 = 64) โดยการเข้ารหัส จะแบ่ง bit ทั้ง 6 bit ออกเป็น 2 ส่วน (2 Zone) คือ
• 4 bit แรก (bit ที่ 0 ถึง bit ที่ 3) เรียกว่า Numeric bit โดย 4 bit นี้ จะใส่ค่าลำดับของตัวอักษร ตามค่าในเลขฐานสองคือ 8 4 2 1
• 2 bit ถัดมา (bit ที่ 4 และ 5) เรียกว่า Zone bit โดยเรียก bit ที่ 4 ว่า A และ bit ที่ 5 ว่า B
3. เขตข้อมูล (Field) / Attribute
เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้ที่เล็กที่สุด ซึ่ง Field จะเกิดจากการนำเอาอักขระต่างๆ มารวมกัน แล้วให้ความหมาย หรือบ่งบอกข้อมูลบางสิ่งบางอย่างได้ เช่น

สมชาย = ชื่อ
404280001 = รหัสประจำตัวนักศึกษา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ = ชื่อวิชาเอก
4. ระเบียนข้อมูล (Record)
ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการรวมกันของเขตข้อมูลต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ (Logical relation) หรือรวมกันอย่างมีจุดประสงค์ เขตข้อมูลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ แม้นำมารวมกันก็ไม่เกิดความหมายหรือไม่เป็นระเบียบ (ไม่เกิดเป็นระเบียนข้อมูลด้วย)
ระเบียนข้อมูล 1 ระเบียน ก็หมายถึง ข้อมูล 1 ชุดข้อมูล (เช่น คน 1 คน, สิ่งของ 1 สิ่ง หรือวัตถุ 1 วัตถุ เป็นต้น) ระเบียน 1 ระเบียน จะประกอบไปด้วยเขตข้อมูล จำนวนกี่เขตข้อมูลก็ได้ แล้วแต่ว่าข้อมูลกี่เขตข้อมูลจึงจะสามารถรวมกันเป็นข้อมูล 1 ชุดได้ (ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบว่าจะจัดเก็บข้อมูลอะไรบ้างในระเบียนข้อมูลนั้นๆ)
5. แฟ้มข้อมูล (File) / Entity
แฟ้มข้อมูล จะเป็นส่วนที่รวบรวมเอาระเบียนข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกัน มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา ก็จะรวบรวมเอาระเบียนข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของนักศึกษาแต่ละคนที่มีอยู่ทั้งหมดมารวมเข้าไว้ด้วยกัน
6.ฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูลจะเป็นส่วนที่ใช้รวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยการรวบรวมข้อมูลนี้ จะอยู่ภายใต้หัวเรื่องหรือจุดประสงค์เดียวกัน หรือเป็นข้อมูลที่รวบรวมไว้ใช้ในการตอบคำถามหรือตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน (ภายใต้วัตถุประสงค์ของฐานข้อมูล)

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
เชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ
1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ที่มา //sot.swu.ac.th/cp342/lesson01/ms3t2.htm
//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html



โดย: น.ส.นิตยา กลิ่นเมือง (หมู่ 15 ศ. เช้า) IP: 172.29.168.38, 202.29.5.62 วันที่: 19 มิถุนายน 2552 เวลา:12:10:45 น.  

 
ข้อที่1

โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น
ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น
ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อพนักงาน เป็นต้น
เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด
ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมดเป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น
ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกันเป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น

//www.tro.moph.go.th/data_webpage/story/com.doc

ข้อที่2

โครงสร้างเชิงกายภาพ (physical data structure) อธิบายถึงวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก และดิสก์

แต่ว่า

โครงสร้างเชิงตรรกะ (logical data structure) อธิบายถึงการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล


โดย: นางสาวปวีณา บรรยงค์ เรียนจันทร์-บ่าย หมู่1 รหัส50040302112 IP: 172.29.9.56, 202.29.5.62 วันที่: 22 มิถุนายน 2552 เวลา:14:34:27 น.  

 
//www.nstlearning.com/~km/?p=4252


ข้างบนลืมลิ้งค่ะ


โดย: นางสาวปวีณา บรรยงค์ เรียนจันทร์-บ่าย หมู่1 รหัส50040302112 IP: 172.29.9.56, 202.29.5.62 วันที่: 22 มิถุนายน 2552 เวลา:14:37:42 น.  

 
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

2. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป



ที่มา //www.geocities.com/datatae/architecture.html


โดย: นางสาวลำไพ พูลเกษม ม.15 ศุกร์( เช้า) IP: 172.29.6.28, 202.29.5.62 วันที่: 26 มิถุนายน 2552 เวลา:9:52:22 น.  

 
ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน

ที่มา //www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1


โดย: ลำไพ พูลเกษม ม.15 ศุกร์ (เช้า) IP: 172.29.6.28, 202.29.5.62 วันที่: 26 มิถุนายน 2552 เวลา:9:54:52 น.  

 
โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)




โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 125.26.164.252 วันที่: 28 มิถุนายน 2552 เวลา:19:35:14 น.  

 
โครงสร้างข้อมูล.(Data Structure)

ในการนำข้อมูลไปใช้นั้น เรามีระดับโครงสร้างของข้อมูลดังนี้

- บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น

- ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น

- ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น

- เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด

- ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น

- ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น



หน่วยในการวัดขนาดของข้อมูล

8 Bit = 1 Byte
1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต์)
1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต์)
1,024 MB = 1 GB (กิกะไบต์)
1,024 GB = 1TB (เทระไบต์)



โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 125.26.164.252 วันที่: 28 มิถุนายน 2552 เวลา:19:40:13 น.  

 
ความแตกต่างระหว่างโครงสร้างเชิงกายภาพและเชิงตรรกะ
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด
ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร
ที่มา
://sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm



โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 125.26.164.252 วันที่: 28 มิถุนายน 2552 เวลา:19:43:08 น.  

 

ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง แต่ ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ที่มาhttp


โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 125.26.164.252 วันที่: 28 มิถุนายน 2552 เวลา:19:48:26 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

(6) ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา
//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


โดย: น.ส. วริศรา ทิมแดง (ม.08 พฤ . เช้า ) IP: 172.29.85.71, 202.29.5.62 วันที่: 30 มิถุนายน 2552 เวลา:9:38:51 น.  

 

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

2. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป


ที่มา
//www.geocities.com/datatae/architecture.html


โดย: น.ส. วริศรา ทิมแดง (ม.08 พฤ . เช้า ) IP: 172.29.85.71, 202.29.5.62 วันที่: 30 มิถุนายน 2552 เวลา:9:42:01 น.  

 
โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)
ที่มา


//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html



ความแตกต่างระหว่างโครงสร้างเชิงกายภาพและเชิงตรรกะ
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด
ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร
ที่มา
://sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm


โดย: นายนภศักดิ์ ชาทอง ม.29 พุธเช้า IP: 125.26.162.80 วันที่: 30 มิถุนายน 2552 เวลา:11:56:10 น.  

 
แบบฝึกหัด

1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

ตอบ หน่วยที่เล็กสุดของข้อมูล คือ บิต (Binary digit) ซึ่งเป็นเลขฐานสอง มีการรวมกลุ่มบิตหลาย ๆ บิตแทนอักขระ (character) เรียกว่าไบท์ (1 ไบท์ = 8 บิต ) แต่หน่วยข้อมูลที่เล็กสุดและมีความหมายต่อผู้ใช้คือ เขตข้อมูล (field) ซึ่งประกอบด้วย characters (ตัวเลข ตัวอักษร หรือ เครื่องหมายต่าง ๆ ) ตั้งแต่ 1 ตัว ขึ้นไปที่เกี่ยวข้องกันมารวมกัน จำแนกประเภทเป็น 3 ประเภท

Numeric field คือ field ที่มีค่าเป็นตัวเลขทั้งหมด เช่น รหัสนักศึกษา คะแนนเฉลี่ยสะสม จำนวนชั่วโมงทำงาน field ประเภทนี้มักใช้ในการคำนวณ
Alphaberic field คือ field ที่มีค่าเป็นตัวอักษรทั้งหมดมักใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง หรือดึงมาใช้แสดงผลทางจอภาพหรือพิมพ์ออกทางกระดาษ เช่น ชื่อนักศึกษา ชื่อสินค้า ชื่อรายวิชา รายละเอียดของสินค้า เป็นต้น
Alphanumeric field คือ field ที่มีค่าเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายปนกัน ใช้งานประเภทเดียวกับ Alphaberic field เช่น ที่อยู่นักศึกษา
Record ( ระเบียน) คือการนำ field ตั้งแต่ 1 field ขึ้นไป ที่มีความเกี่ยวข้องกันหรือสัมพันธ์กันรวมกันเป็น record หรือกล่าวได้ว่าเป็น เซทของ fields เช่น รหัสประจำตัว ชื่อ- สกุล ที่อยู่ อายุ เพศ สถานะ เงินเดือน ฯลฯ

File (แฟ้ม) คือการนำข้อมูล record ตั้งแต่ 1 record ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน หรือ file คือเซทของ records เช่น รายละเอียดของพนักงานทุกคน รวมกันเป็นแฟ้มพนักงาน

ที่มา //learners.in.th/blog/jaranai/168446

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

ตอบ ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด
ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร

ที่มา
://sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm


โดย: นางสาวภัทราภรณ์ อุ่นจิต หมู่ 1 พฤ-ค่ำ(พิเศษ) IP: 172.29.6.54, 202.29.5.62 วันที่: 2 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:13:56 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html


1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสาร้างเชิงการยภายและเชิงตรรกะแตกต่างกันคือ
ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง

ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow

นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1


โดย: นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1 IP: 58.147.38.208 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:16:09 น.  

 
1.1

1. Bit (Binary digit)
ในระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล คือ bit (Bit) ซึ่งย่อมาจากคำว่า Binary digit หรือเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 ใช้แทนข้อมูล เหตุการณ์หรือสถานะ ได้เพียง 2 อย่างเท่านั้น เช่น จริง/เท็จ มี/ไม่มี จ่ายแล้ว/ยังไม่จ่าย เปิด/ปิด เป็นต้น ย่อมไม่เพียงพอต่อการแทนข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ จึงมีการนำเอา bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการแทนข้อมูลอักขระ 1 ตัว


2. อักขระ (Character)
เขตข้อมูลเกิดจากการนำเอาข้อมูล bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน โดยการรวมกันนี้เป็นการรวมกันเพื่อให้ได้จุดมุ่งหมายบางอย่าง (รวมกันแล้วได้อักขระ 1 ตัว) โดยในการนำเอาข้อมูล bit มารวมกันเพื่อให้เกิดอักขระนี้จะอาศัยมาตรฐานของรหัสแทน ข้อมูล ซึ่งรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ รหัส ASCII และ EBCDIC โดยทั้งสองรหัสนี้จะนำเอา bit จำนวน 8 bit มารวมกัน เพื่อสร้างอักขระ 1 ตัว

รหัสแทนข้อมูล
รหัสแทนข้อมูลจะมี 2 ลักษณะ คือ
1. รหัสภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (External Code) เป็นรหัสที่ใช้อยู่ภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น รหัสที่ใช้ในบัตรเจาะรู
2. รหัสภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ (Internal Code) เป็นรหัสที่ใช้อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีอยู่หลายรหัส

รหัส BCD (Binary Code Decimal)
เป็นรหัสที่ใช้อยู่ ในช่วง ค.ศ. 1959-1965 ใช้การเข้ารหัสตัวอักษร และตัวเลขเป็นแบบ 6 bit เป็น 1 byte หรือเป็น 1 character (หรือ 6 bit bytes) ซึ่งจะทำให้สามารถสร้างรหัสต่างๆ ได้ถึง 64 รหัส (26 = 64) โดยการเข้ารหัส จะแบ่ง bit ทั้ง 6 bit ออกเป็น 2 ส่วน (2 Zone) คือ

4 bit แรก (bit ที่ 0 ถึง bit ที่ 3) เรียกว่า Numeric bit โดย 4 bit นี้ จะใส่ค่าลำดับของตัวอักษร ตามค่าในเลขฐานสองคือ 8 4 2 1
2 bit ถัดมา (bit ที่ 4 และ 5) เรียกว่า Zone bit โดยเรียก bit ที่ 4 ว่า A และ bit ที่ 5 ว่า B
มาตรฐานของระบบ BCD นี้เรียกว่า " Standard Binary Code Decimal Interchange Code " หรือเรียกย่อๆ ว่า รหัส BCD (Binary Code Decimal)

Zone bit Numeric bit
A B 8 4 2 1


ข้อมูลต่างๆ จะถูกเข้ารหัสเป็น BCD ดังนี้

ข้อมูลตัวเลข

Zone bit Zone A จะเป็น 0 Zone B จะเป็น 0
Numeric bit จะเป็นค่าของตัวเลขนั้น ในระบบเลขฐานสอง

เช่น 3 = 000011
7 = 000111
9 = 001001

ข้อมูลตัวอักษร

Zone bit
ข้อมูล A - I Zone A จะเป็น 1 Zone B จะเป็น 1
ข้อมูล J - R Zone A จะเป็น 1 Zone B จะเป็น 0
ข้อมูล S - Z Zone A จะเป็น 0 Zone B จะเป็น 1

Numeric bit จะเป็นค่าลำดับของตัวอักษรนั้น ในระบบเลขฐานสอง

เช่น B = 110010 (B อยู่ในข้อมูลชุดที่ 1 ลำดับที่ 2)
M = 100100 (M อยู่ในข้อมูลชุดที่ 2 ลำดับที่ 4)
X = 010110 (X อยู่ในข้อมูลชุดที่ 3 ลำดับที่ 6)


ข้อมูลสัญลักษณ์ต่างๆ

ข้อมูลที่เป็นสัญลักษณ์ต่างๆ นี้ ทางบริษัทผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์จะเป็นผู้กำหนดขึ้นมาเอง เช่น
( = 111101 ) = 101101
* = 101100 / = 010001
+ = 011010 - = 100000


รหัส EBCDIC

รหัส EBCDIC หรือ Extended Binary Code Decimal Interchange Code ได้รับการพัฒนาขึ้นมาโดยบริษัท IBM ในช่วงยุคที่ 3 ของคอมพิวเตอร์ (ประมาณปี ค.ศ. 1965) โดยได้ทำการพัฒนาขึ้นมาจากรหัส BCD รหัส EBCDIC มีการเปลี่ยนแปลงจาก รหัส BCD คือมีการเพิ่มการเข้ารหัสตัวอักษรจาก 6 bit เป็น 1 byte มาเป็น 8 bit เป็น 1 byte ซึ่งจะทำให้สามารถสร้างรหัสขึ้นมาได้ถึง 256 รหัส (28 = 256) โดยมีการกำหนด bit ออกเป็น 2 ส่วน คือ

4 bit แรก (bit ที่ 0 ถึง bit ที่ 3) เรียกว่า Numeric bit โดย 4 bit นี้ จะใส่ค่าลำดับของตัวอักษร ตามค่าในเลขฐานสองคือ 8 4 2 1
4 bit ถัดมา(bit ที่ 4 ถึง bit ที่ 7)เรียกว่า Zone bit โดย Zone bit นี้ก็จะมีค่าประจำหลักเป็น 8 4 2 1 เช่นกัน
Zone bit Numeric bit
8 4 2 1 8 4 2 1


อักขระของรหัส EBCDIC นี้จะใช้ตัวเลขฐานสองทั้งหมด 8 ตัว หรือ อีกนัยหนึ่งคือสามารถจะเขียนด้วยเลขฐาน 16 แทนได้ (ใช้ 2 ตัว สำหรับ Zone bit 1 ตัว และ Numeric bit อีก 1 ตัว)

การเข้ารหัสของรหัส EBCDIC จะมีลักษณะดังนี้

ข้อมูลตัวเลข

Zone bit จะเป็น (1111) ฐาน 2
Numeric bit จะเป็นค่าของตัวเลขนั้น ในระบบเลขฐานสอง

เช่น 3 = (11110011) ฐาน 2 หรือ (F3) ฐาน 16
7 = (11110111) ฐาน 2 หรือ (F7) ฐาน 16
9 = (11111001) ฐาน 2 หรือ (F9) ฐาน16

ข้อมูลตัวอักษร

Zone bit
ข้อมูล A - I จะเป็น (1100) ฐาน 2 หรือ (C) ฐาน 16
ข้อมูล J - R จะเป็น (1101) ฐาน 2 หรือ (D) ฐาน 16
ข้อมูล S - Z จะเป็น (1110) ฐาน 2 หรือ (E) ฐาน 16
ข้อมูล a - i จะเป็น (1000) ฐาน 2 หรือ (8) ฐาน 16
ข้อมูล j - r จะเป็น (1001) ฐาน 2 หรือ (9) ฐาน 16
ข้อมูล s - z จะเป็น (1010) ฐาน 2 หรือ (A) ฐาน 16

Numeric bit
จะเป็นค่าลำดับของตัวอักษรนั้น ในระบบเลขฐานสอง

เช่น
B = (1100 0010) ฐาน 2 หรือ (C2) ฐาน 16 (B อยู่ในข้อมูลชุดที่ 1 ลำดับที่ 2)
M = (1101 0100) ฐาน 2 หรือ (D4) ฐาน 16 (M อยู่ในข้อมูลชุดที่ 2 ลำดับที่ 4)
X = (1110 0110) ฐาน 2 หรือ (E6) ฐาน 16 (X อยู่ในข้อมูลชุดที่ 3 ลำดับที่ 6)


--------------------------------------------------------------------------------

รหัส ASCII

ASCII ย่อมาจาก American Standard Code for Information Interchange ถูกสร้างขึ้นเมื่อประมาณ ปี ค.ศ. 1966 โดยสมาคมรักษามาตรฐานแห่งสหรัฐอเมริกา (American Standards Association) ซึ่งปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็น สถาบัน มาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (American Nation Standards Institute : ANSI) โดยรหัสนี้ ได้มาจากรหัสขององค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ (International Standardization Organization : ISO) รหัส ASCII ได้รับความนิยมอย่างสูง และยังใช้เป็นรหัสมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูล (Data communications) รหัส ASCII จะใช้การแทนข้อมูลแบบ 8 bit เป็น 1 byte

3. เขตข้อมูล (Field) / Attribute
เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้ที่เล็กที่สุด ซึ่ง Field จะเกิดจากการนำเอาอักขระต่างๆ มารวมกัน แล้วให้ความหมาย หรือบ่งบอกข้อมูลบางสิ่งบางอย่างได้ เช่น

สมชาย = ชื่อ
404280001 = รหัสประจำตัวนักศึกษา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ = ชื่อวิชาเอก

4. ระเบียนข้อมูล (Record)
ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการรวมกันของเขตข้อมูลต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ (Logical relation) หรือรวมกันอย่างมีจุดประสงค์ เขตข้อมูลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ แม้นำมารวมกันก็ไม่เกิดความหมายหรือไม่เป็นระเบียบ (ไม่เกิดเป็นระเบียนข้อมูลด้วย)
ระเบียนข้อมูล 1 ระเบียน ก็หมายถึง ข้อมูล 1 ชุดข้อมูล (เช่น คน 1 คน, สิ่งของ 1 สิ่ง หรือวัตถุ 1 วัตถุ เป็นต้น) ระเบียน 1 ระเบียน จะประกอบไปด้วยเขตข้อมูล จำนวนกี่เขตข้อมูลก็ได้ แล้วแต่ว่าข้อมูลกี่เขตข้อมูลจึงจะสามารถรวมกันเป็นข้อมูล 1 ชุดได้ (ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบว่าจะจัดเก็บข้อมูลอะไรบ้างในระเบียนข้อมูลนั้นๆ)

5. แฟ้มข้อมูล (File) / Entity
แฟ้มข้อมูล จะเป็นส่วนที่รวบรวมเอาระเบียนข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกัน มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา ก็จะรวบรวมเอาระเบียนข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของนักศึกษาแต่ละคนที่มีอยู่ทั้งหมดมารวมเข้าไว้ด้วยกัน

ประเภทของแฟ้มข้อมูล
แฟ้มข้อมูลที่จะนำมาใช้ในการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ อาจมีเพียงแฟ้มข้อมูลเดียวหรือหลายแฟ้มข้อมูลก็ได้ และแต่ละข้อมูล สามารถนำมาแก้ไขตัดต่อและเรียงลำดับของข้อมูลใหม่ได้ในเวลาต่างกัน ซึ่งประเภทของแฟ้มข้อมูลสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ

1. แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แฟ้มข้อมูลถาวร (Permanent File) แฟ้มข้อมูลประเภทนี้จะถูกเก็บไว้อย่างถาวร เมื่อนำมาประมวลผลแล้วจะเก็บไว้ใช้งานเป็นเวลานาน เพื่อที่จะนำมาใช้อ้างอิงภายหลังได้ และถูกนำมาใช้เสมอๆ ดังนั้น ข้อมูลต้องเป็นข้อมูลที่ทันสมัย (Up-To-Date) และที่สำคัญคือ ต้องตรงกับความเป็นจริง เช่น แฟ้มข้อมูลหลักของสินค้าคงคลัง (Inventory file) ซึ่งจะนำมาใช้ในการประมวลผลตลอดเวลา
2. แฟ้มข้อมูลรายการ (Transaction File) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แฟ้มข้อมูลชั่วคราว (Temporary File) แฟ้มข้อมูลประเภทนี้มีลักษณะตรงกันข้ามกับแฟ้มข้อมูลหลัก เพราะเป็นแฟ้มข้อมูลที่รวบรวมข้อมูลบางส่วนที่มีความสัมพันธ์กับแฟ้มข้อมูลหลัก ซึ่งแฟ้มข้อมูลรายการจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถแก้ไขแฟ้มข้อมูลหลักบางรายการได้ เช่น การเพิ่มข้อมูล, การลบข้อมูลบางระเบียน หรือจะเป็นการแก้ไขข้อมูลในเขตข้อมูลของระเบียนต่างๆ เป็นต้น

แฟ้มข้อมูลประเภทนี้อาจส่งเข้าไปประมวลผลควบคู่กับแฟ้มข้อมูลหลักก็ได้ เมื่อทำการประมวลผลเสร็จเรียบร้อย ผลลัพธ์หรือข้อมูลในแฟ้มรายการจะเก็บไว้หรือไม่ก็ได้ (ขึ้นอยู่กับว่าจะใช้ผลลัพธ์เป็นข้อมูลต่อหรือไม่) เพราะเป็นเพียงแฟ้มข้อมูลที่ใช้ชั่วคราว หรือใช้เฉพาะวันของงานที่ต้องการ โดยส่วนมากแล้วแฟ้มข้อมูลชั่วคราวจะเก็บข้อมูลที่ใช้ในธุรกิจประจำวัน (แต่จะไม่ใช้ในการตัดสินใจ) เช่น งานบัญชี, สินค้าคงคลัง, ใบสั่งซื้อสินค้า และการสำรองเที่ยวบิน เป็นต้น

วิธีการจัดแฟ้มข้อมูล (File Organization Method)
การจัดแฟ้มข้อมูลให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท จึงต้องมีการจัดแฟ้มข้อมูลในแบบต่างๆ กัน สามารถจัดได้เป็นประเภทดังต่อไปนี้
1. การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ (Sequential File Organization)
เป็นแฟ้มที่มีลักษณะการเรียกใช้งานไม่ว่าจะอ่านหรือเขียนลงในแฟ้มนั้น จะเรียงตามลำดับกันไปตั้งแต่ระเบียนแรกไปจนถึงระเบียนสุดท้าย (หรือระเบียนที่ต้องการใช้งาน) ของแฟ้มข้อมูล ซึ่งการเรียงนี้จะเรียงตามเขตข้อมูลใดเขตข้อมูลหนึ่งของระเบียนก็ได้ หรืออาจจะเรียงตามลำดับการเก็บบันทึกระเบียน (ระเบียนไหนมาก่อนก็บันทึกลงไปก่อน) เช่น แฟ้ม ข้อมูลพนักงาน อาจจะเก็บบันทึกเรียงตามเลขประจำตัว หรือเรียงตามอัตราเงินเดือน หรือเขตข้อมูลอื่นใด ในระเบียน ก็ได้
สื่อบันทึกข้อมูลที่ใช้ : จำเป็นต้องใช้สื่อบันทึกข้อมูลที่มีการโอนย้ายข้อมูลแบบเรียงลำดับได้ ตัวกลางที่นิยมใช้มากที่สุดคือ เทปแม่เหล็ก (Magnetic tape) เพราะราคาถูก และสามารถเข้าถึงข้อมูลในแบบลำดับได้เร็วกว่าสื่อบันทึกแบบอื่น ๆ
การใช้งาน : การจัดแฟ้มข้อมูลชนิดนี้เหมาะสมกับงานที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นจำนวนมาก หรืองานที่มีการกำหนดระยะเวลาของการประมวลผลไว้แล้วว่าจะทำการประมวลผลทุกรอบระยะเวลาเท่าใด

ข้อดีของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ ข้อเสียของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ
มีความง่ายในการเรียกใช้งาน ทำให้สะดวก เสียค่าใช้จ่ายน้อย
สามารถใช้กับงานที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมากได้ดี
การทำงานจะช้าหากต้องการเข้าถึงระเบียนแบบเจาะจงระเบียน (แบบตรง)
ข้อมูลที่จะใช้ต้องถูกเรียงลำดับเสียก่อน


2. การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม หรือ ตรง (Random or Direct File Organization)
คุณลักษณะพิเศษของการจัดแฟ้มข้อมูลชนิดนี้คือ สามารถค้นหา หรือเรียกใช้ข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องเรียงลำดับของข้อมูล การทำงานจะสามารถรู้ตำแหน่งของระเบียนได้โดยอาศัยเขตข้อมูลที่ใช้เป็นเขตข้อมูลในการอ้างถึงระเบียน (Primary key) เช่น ถ้าเราต้องการข้อมูลที่ 20 ของแฟ้มข้อมูล ก็สามารถที่จะเรียกใช้ข้อมูลได้เลยโดยไม่ต้องเริ่มต้นจากข้อมูลที่ 1 ก่อน

สื่อบันทึกข้อมูลที่ใช้ : ต้องสื่อบันทึกข้อมูลที่มีการโอนย้ายข้อมูลแบบโดยตรง เช่น จากแม่เหล็ก (Magnetic disk) และดรัมแม่เหล็ก (Magnetic drum) เป็นต้น
การใช้งาน : การจัดแฟ้มข้อมูลชนิดนี้เหมาะสมกับงานที่มีการค้นหาหรือเรียกใช้ข้อมูลแบบระบุระเบียนลงไปเลยว่าต้องการใช้งานข้อมูลระเบียนใด (เข้าถึงข้อมูลที่ต้องการโดยตรง) และจะเหมาะกับงานที่มีการประมวลผลข้อมูลครั้งไม่มาก หรือเหมาะกับงานที่มีกำหนดระยะเวลาของการประมวลผลไม่แน่นอน

ข้อดีของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบตรง ข้อเสียของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบตรง
สามารถทำงานได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องเสียเวลาเรียงข้อมูลก่อน
การทำงานเหมาะกับการประมวลผลแบบ On-line
การเขียนโปรแกรมเรียกใช้สำหรับวิธีการจัดการแฟ้ม ข้อมูลชนิดนี้ ค่อนข้างซับซ้อนมากกว่าการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ



1. การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี (Indexed Sequential File Organization)
การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบนี้มีลักษณะการทำงานผสมผสานกันระหว่างการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ และแบบสุ่มเข้าด้วยกัน การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบนี้จะเป็นแบบเรียงลำดับตามเขตข้อมูลที่ทำหน้าที่เป็นเขตข้อมูลในการอ้างถึงระเบียน (Primary key) เช่นเดียวกันกับการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ แต่จัดเก็บไว้ในสื่อบันทึกที่มีการโอนย้ายข้อมูลแบบที่มีการโอนย้ายข้อมูลได้โดยตรง เพื่อให้การค้นหาหรือเรียกใช้ข้อมูลทำได้รวดเร็วเช่นเดียวกับการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบตรง โดยโปรแกรมควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์จะทำการสร้างตารางดัชนี (Index Table) และเก็บตารางดัชนีไว้ในสื่อบันทึกข้อมูลนั้นด้วย เพื่อใช้สำหรับตอนค้นหาข้อมูลภายหลัง การทำงานของแฟ้มข้อมูลแบบนี้คล้ายกับการเปิดหาชื่อในสมุดโทรศัพท์ จะเรียงตามอักษร และไล่ตามอักษรหาชื่อที่ต้องการ

สื่อบันทึกข้อมูลที่ใช้ : ใช้สื่อบันทึกข้อมูลที่มีการโอนย้ายข้อมูลแบบโดยตรง เช่น จากแม่เหล็ก (Magnetic disk) และดรัมแม่เหล็ก (Magnetic drum) เป็นต้น
การใช้งาน : เหมาะสมกับการใช้แฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ และสามารถใช้ Primary key ได้ตามต้องการ


ข้อดีของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี ข้อเสียของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี
สามารถทำการประมวลผลในลักษณะ Sequential และ Random ได้
การค้นหาข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลหลักทำได้รวดเร็ว
การทำงานเหมาะกับการประมวลผลแบบ On-line
ราคาอุปกรณ์แพง เมื่อเทียบกับเทปแม่เหล็ก
เปลืองเนื้อที่สื่อบันทึกในการเก็บตารางดัชนีต่างๆ


ปัญหาของการจัดการข้อมูลโดยใช้ระบบแฟ้มข้อมูล (File)

ข้อมูลเกิดความซ้ำซ้อน (Data redundancy)
ลำบากต่อการแก้ไข (Updating difficulties)
การผูกติดกับข้อมูล (Data dependence)
การกระจัดกระจายของข้อมูล (Data dispersion)
การไม่สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูล (Underutilization data)

--------------------------------------------------------------------------------

6.ฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูลจะเป็นส่วนที่ใช้รวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยการรวบรวมข้อมูลนี้ จะอยู่ภายใต้หัวเรื่องหรือจุดประสงค์เดียวกัน หรือเป็นข้อมูลที่รวบรวมไว้ใช้ในการตอบคำถามหรือตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน (ภายใต้วัตถุประสงค์ของฐานข้อมูล)

1.2

ความเป็นอิสระของข้อมูล
1.แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

2.การออกแบบฐานข้อมูล
สรุปได้ว่าแฟ้มข้อมูลที่กล่าวถึงนั้นคือสิ่งเดียวกันแต่เมื่อมองจากต่างมุมจะมองเห็นต่างกัน ซึ่งในมุมมองของผู้ใช้นั้นเป็นมุมมองเชิงตรรกะ ขณะที่มุมมองของระบบปฏิบัติการเป็นมุมมองเชิงกายภาพ

การสร้างฐานข้อมูลขึ้นใช้งานในองค์การหรือหน่วยงานต่างๆ ก็จำเป็นจะต้องดำเนินการตามขั้นตอนที่เหมาะสม และต้องมีวิธีจัดการข้อมูล โดยปกติการสร้างฐานข้อมูลจำเป็นจะต้องออกแบบฐานข้อมูลเป็นสองระยะหรือสองขั้นตอนด้วยกัน ขั้นแรกก็คือการออกแบบเชิงแนวคิด (conceptual design) หรือเชิงตรรกะ (logical design) และขั้นที่สองก็คือการออกแบบเชิงกายภาพ (physical design)

2.1 การออกแบบเชิงตรรกะเน้นในด้านการจัดกลุ่มข้อมูลในฐานข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ หรือ เป็นตารางที่เหมาะสม การออกแบบเริ่มต้นด้วยการพิจารณาว่าหน่วยงานจะต้องใช้ข้อมูลอะไรบ้าง ข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไรบ้าง จะจัดกลุ่มข้อมูลอย่างไรจึงจะเหมาะสมและไม่เกิดความซ้ำซ้อน การพิจารณาการจัดกลุ่มนี้จะต้องคำนึงถึงลักษณะของประเภทฐานข้อมูลที่จะจัดทำขึ้นด้วย

2.2 การออกแบบเชิงกายภาพ เน้นในด้านการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการหรือตารางข้อมูลต่างๆ จะจัดเก็บลงในสื่อข้อมูลเช่นจานแม่เหล็กได้อย่างไร มีการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการเป็นข้อมูลประเภทอักขระ จำนวน หรือประเภทอื่นๆ และต้องใช้เนื้อที่ในการเก็บมากน้อยเท่าใด การออกแบบฐานข้อมูลในส่วนนี้จำเป็นจะต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาด้านฐานข้อมูลมาโดยตรง

ฐานข้อมูลเป็นงานประยุกต์คอมพิวเตอร์ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในยุคปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่างานประยุกต์คอมพิวเตอร์ทุกงานล้วนต้องสร้างขึ้นบนฐานข้อมูลแทบทั้งสิ้น ดังนั้นการศึกษาทำความเข้าใจเรื่องของฐานข้อมูลจึงเป็นเรื่องจำเป็น ยิ่งหากได้ศึกษาจนถึงขั้นออกแบบและใช้งานได้จริงแล้วยิ่งจะเป็นประโยชน์มากขึ้นเป็นทวีคูณ

ที่มา
//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html








โดย: นางสาวเจนจิรา จุตตะโน รหัส 52040302126 หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) IP: 1.1.1.236, 58.137.131.62 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:39:14 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ
การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์นั้น เป็นการเก็บข้อมูลไว้ในสื่อบันทึก เช่น เทปแม่เหล็ก แผ่นบันทึก หรือจานแม่เหล็ก โดยที่ข้อมูลนั้นอยู่ในรูปของเลขฐานสองหลายบิตเรียงกัน ดังนั้นในการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการประมวลผลจึงต้องกำหนดรูปแบบหรือโครงสร้างของข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ตรงกัน โดยโครงสร้างของข้อมูลจะประกอบด้วย 5 ลำดับ ดังนี้

(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

ที่มา:
//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ
เชิงกายภาพ คือ การจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลในหน่วย
เชิงตรรกะ คือ การจัเก็บข้อมูลภายนอก

ที่มา:
-


โดย: นางสาวสมฤทัย ราชอินทร์ หมู่01 (พิเศษ) เรียนพฤหัสบดีค่ำ รหัสนักศึกษา 52240501127 IP: 125.26.166.48 วันที่: 4 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:08:40 น.  

 
ข้อ1 โครงสร้างข้อมูล

โครงสร้างข้อมูลมีรูปแบบเป็นลำดับชั้นโดยเริ่มด้วยหน่อยที่เล็กที่สุดคือ บิต (Bit) ไบต์ (Byte) เขตข้อมูล (Field) ระเบียบข้อมูล (Record) และไฟล์ (File) ตามลำดับ

• บิต (Bit) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลที่จัดเก็บในระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยเลขฐานสองซึ่งมีสถานะเป็น 0 กับ 1

• ไบต์ (Byte) ประกอบด้วยบิตหลาย ๆ บิตมาเรียงต่อกัน เช่น นำ 8 บิตมาเรียงต่อกันเป็น 1 ไบต์ ทำให้สามารถสร้างรหัสแทนข้อมูลเพื่อใช้แทนอักขระ ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ได้ทั้งหมด 28 ตัว หรือตัวกับ 256 ตัว

• เขตข้อมูล (Field) เป็นการนำข้อมูลหลายอักขระมารวมกันเป็นคำเพื่อให้เกิดความหมาย เช่น ชื่อพนักงาน และเงินเดือนพนักงาน

• ระเบียบข้อมูล (Record) คือ กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ กัน ถูกนำมาไว้รวมกัน เช่นระเบียนข้อมูลของพนักงาน ประกอบด้วยเขตข้อมูล รหัสพนักงาน ชื่อ-นามสกุล เงินเดือน และแผนก

• ไฟล์ (File) คือ กลุ่มของระเบียนข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันถูกนำมาจัดเก็บไว้ด้วยกัน เช่น ไฟล์ประวัติพนักงาน ประกอบด้วยระเบียนข้อมูลของพนักงานทั้งหมดในองค์การ

ที่มา http:ball0530.exteen.com/20090203/entry

ข้อ 2 โครงสร้างของฐานข้อมูล


โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical data structure)
เป็นโครงสร้างที่กำหนดจากวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่างๆ เช่น เนื้อที่สำหรับจัดเก็บ ตำแหน่งในการจัดเก็บฐานข้อมูล เป็นต้น

โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical data structure)
เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล

โครงสร้างข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical data model)


นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบของโครงสร้างต้นไม้ (tree structure)
มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูก คือ พ่อ (parent) 1 คนมีลูก (child) ได้หลายคน หรือแบบพ่อคนเดียวมีลูก 1 คนแต่ลูกมีพ่อได้คนเดียว
ลักษณะเด่นคือ มีความซับซ้อนน้อย เข้าใจง่าย ค่าใช้จ่ายไม่สูง ป้องกันความลับของข้อมูลได้ดี เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นระดับและเรียงลำดับต่อเนื่อง
ข้อจำกัด คือ ไม่สามารถรองรับความสัมพันธ์ของข้อมูลแบบลูกมีพ่อได้หลายคนได้ มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากและมีความคล่องตัวน้อยกว่าโครงสร้างแบบอื่น เพราะเรียกใช้ข้อมูลต้องผ่านทางต้นกำเนิดเสมอ ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลซึ่งปรากฏในระดับล่าง ๆ แล้วจะต้องค้นหาทั้งแฟ้ม

ที่มา //74.125.153.132/search?q=cache:0UHXauJSOHYJ:course.eau.ac.th/course/Download/0531011/database.ppt+%E


โดย: นางสาว ปาริสา แคนหนอง 52040332140 หมู่ 15 ศุกร์ (เช้า) IP: 125.26.233.224 วันที่: 5 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:04:55 น.  

 
ข้อ 1 1. Bit ประกอบด้วยเลขฐานสอง ใช้แทนค่าหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จะมีอยู่เพียงสองสถานะ คือ 0 หรือ 1

2. Byte ประกอบด้วยจำนวน Bit เช่น 1 ไบต์มี 8 บิต เพื่อสร้างรหัสแทนข้อมูล เช่น ตัวอักษร J คือ 01001010 3. Field คือ การนำตัวอักษรมารวมกันเพื่อให้เกิดความหมาย เช่น STD_NAME เป็นฟิลด์ที่ใช้เก็บชื่อนักศึกษา






4




โครงสร้างแฟ้มข้อมูล 4. Record คือ กลุ่มของ Field ที่สัมพันธ์กัน เช่น record ของนักศึกษา ประกอบด้วย field รหัส นศ., ชื่อ-นามสกุล, วิชาที่ลง,เกรดที่ได้

5. File คือ กลุ่มของ Record ที่สัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มประวัตินักศึกษาประกอบด้วย record ของนักศึกษาทั้งมหาวิทยาลัย 6. Database คือ กลุ่มของ File ที่สัมพันธ์กัน เช่น ใน Student Database ประกอบด้วย Course File,Personal History File และ Financial File

ที่มา //74.125.153.132/search?q=cache:VdNdGrE5lGwJ:www.phokiri.ac.th/ftp/Introduction%2520database%2520system.ppt

ข้อ 2 โครงสร้างฐานข้อมูล (Database Structure)


โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical Structure) แสดงแนวคิดในด้านความสัมพันธ์ของข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล
โครงสร้างเชิงลำดับขั้น (Hierarchical Structure)
โครงสร้างข่ายงาน (Network Structure)
โครงสร้างเชิงสัมพันธ์ (Relational Structure)
โครงสร้างเชิงวัตถุ (Object-Oriented Structure)
โครงสร้างหลายมิติ (Multidimensional Structure)
โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Structure) แสดงแนวคิดในด้านการจัดเก็บข้อมูลทางกายภาพ เช่น การจัดเก็บข้อมูลบนหน่วยจานแม่เหล็ก เป็นต้น
ที่มา//74.125.153.132/search?q=cache:HVfKZGTAVGsJ:www.dpu.ac.th/account/download.php%3Fid%3D387%26filename


โดย: นางสาว อนุสรา แคนหนอง 52040332139 หมู่เรียน 15 ศุกร์ เช้า IP: 125.26.233.224 วันที่: 5 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:21:14 น.  

 
1. ตอบ โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) ประกอบด้วย
1.1 บิต (Bit) ประกอบด้วยเลขของเลขฐานสอง (Binary Digit) ถือเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่คอมพิวเตอร์โดยบิตจะมีเพียงหนี่งใน 2 สถานะเท่านั้นคือ 0, 1 เพื่อแทนสัญญาณไฟฟ้า บิตไม่สามารถแทนค่าข้อมูลในปริมาณมาก ๆ ได้
1.2 ไบต์ (Byte) เมื่อบิตไม่สามารถแทนค่าข้อมูลในปริมาณมาก ๆ ได้ เนื่องมาจากมีเพียง 2 สถานะเท่านั้น จึงได้มีการนำจำนวนบิตหลาย ๆ บิตมารวมกันเป็นไบต์ ซึ่งโดยปกติ 1 ไบต์ประกอบด้วย 8 บิต ดังนั้นจึงทำให้หนึ่งไบต์สามารถสร้างรหัสแทนข้อมูลขึ้นมาใช้แทนตัวอักขระให้แตกต่างกันได้ถึง 256 อักขระฟิลด์ (Field) คือ อักขระทีมารวมกันแล้วก่อให้เกิดความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง
1.3 ฟิลด์ (Field) คือ ฟิลด์คือการนำอักขระหรือไบต์ตั้งแต่ 1 ไบต์ขึ้นไปมารวมกันเพื่อก่อให้เกิดความหมายขึ้นมา เช่น ฟิลด์ name ฟิลด์ address ใช้เก็บที่อยู่พนักงาน
1.4 เรคอร์ด (Record) คือ กลุ่มฟิลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน ใน 1 เรคอร์ดจะประกอบไปด้วยฟิลด์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันเป็นชุด ตัวอย่างเช่น เรคอร์ดพนักงาน ประกอบไปด้วยฟิลด์ รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ตำแหน่ง เพศ วันกิด เงินเดือน ดังนั้นภายใน 1 เรคอร์ดจึงจำเป็นต้องมีอย่างน้อย 1 ฟิลด์เพื่อให้สำหรับอ้างอิงข้อมูลในเรคอร์ดนั้น ๆ
1.5 แฟ้มข้อมูล (File) ไฟล์คือกลุ่มของเรคอร์ดที่สัมพันธ์กัน ตัวอย่างเช่น ในแฟ้มพนักงานจะประกอบไปด้วยเรคอร์ดต่าง ๆ ของพนักงานทั้งหมดที่มีอยู่ในบริษัท ดังนั้น จึงจำเป็นที่ต้องมีอย่างน้อย 1 เรคอร์ดเพื่อใช้สำหรับการอ่านข้อมูลขึ้นมาใช้งาน

2.ตอบ โครงสร้างเชิงกายภาพ และโครงสร้างเชิงตรรกะต่างกันคือ
โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical data structure)
เป็นโครงสร้างที่กำหนดจากวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่างๆ เช่น เนื้อที่สำหรับจัดเก็บ ตำแหน่งในการจัดเก็บฐานข้อมูล เป็นต้น
โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical data structure)
เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล

ที่มา : //www.chantra.sru.ac.th/dbchapter1.ppt#260,5,ภาพนิ่ง 5
//course.eau.ac.th/course/Download/0531011/database.ppt#262,7,โครงสร้างของฐานข้อมูล




โดย: 52040281122 ชื่อนางสาวณัฐติยา โกศิลา หมู่08 (วันพฤหัสบดีเช้า) สาขาชีววิทยา (จุลชีววิทยา) IP: 125.26.162.248 วันที่: 8 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:13:15 น.  

 
.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
= เป็นการเก็บข้อมูลไว้ในสื่อบันทึก เช่น เทปแม่เหล็ก แผ่นบันทึก หรือจานแม่เหล็ก โดยที่ข้อมูลนั้นอยู่ในรูปของเลขฐานสองหลายบิตเรียงกัน ดังนั้นในการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการประมวลผลจึงต้องกำหนดรูปแบบหรือโครงสร้างของข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ตรงกัน โดยโครงสร้างของข้อมูลจะประกอบด้วย 5 ลำดับ ดังนี้

(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

ที่มา //www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


โดย: นางสาว อุไรวรรณ หาญศึก หมู1(พิเศษ) IP: 113.53.166.202 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:18:55 น.  

 
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

=
1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

ที่มา
//sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm


โดย: นางสาว อุไรวรรณ หาญศึก หมู1(พิเศษ) IP: 113.53.166.202 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:23:47 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

คำตอบคือ..

1. Bit (Binary digit)
ในระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล คือ bit (Bit) ซึ่งย่อมาจากคำว่า Binary digit หรือเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 ใช้แทนข้อมูล เหตุการณ์หรือสถานะ ได้เพียง 2 อย่างเท่านั้น เช่น จริง/เท็จ มี/ไม่มี จ่ายแล้ว/ยังไม่จ่าย เปิด/ปิด เป็นต้น ย่อมไม่เพียงพอต่อการแทนข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ จึงมีการนำเอา bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการแทนข้อมูลอักขระ 1 ตัว

2. อักขระ (Character)
เขตข้อมูลเกิดจากการนำเอาข้อมูล bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน โดยการรวมกันนี้เป็นการรวมกันเพื่อให้ได้จุดมุ่งหมายบางอย่าง (รวมกันแล้วได้อักขระ 1 ตัว) โดยในการนำเอาข้อมูล bit มารวมกันเพื่อให้เกิดอักขระนี้จะอาศัยมาตรฐานของรหัสแทน ข้อมูล ซึ่งรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ รหัส ASCII และ EBCDIC โดยทั้งสองรหัสนี้จะนำเอา bit จำนวน 8 bit มารวมกัน เพื่อสร้างอักขระ 1 ตัว

3. เขตข้อมูล (Field) / Attribute
เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้ที่เล็กที่สุด ซึ่ง Field จะเกิดจากการนำเอาอักขระต่างๆ มารวมกัน แล้วให้ความหมาย หรือบ่งบอกข้อมูลบางสิ่งบางอย่างได้ เช่น

สมชาย = ชื่อ
404280001 = รหัสประจำตัวนักศึกษา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ = ชื่อวิชาเอก

4. ระเบียนข้อมูล (Record)
ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการรวมกันของเขตข้อมูลต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ (Logical relation) หรือรวมกันอย่างมีจุดประสงค์ เขตข้อมูลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ แม้นำมารวมกันก็ไม่เกิดความหมายหรือไม่เป็นระเบียบ (ไม่เกิดเป็นระเบียนข้อมูลด้วย)
ระเบียนข้อมูล 1 ระเบียน ก็หมายถึง ข้อมูล 1 ชุดข้อมูล (เช่น คน 1 คน, สิ่งของ 1 สิ่ง หรือวัตถุ 1 วัตถุ เป็นต้น) ระเบียน 1 ระเบียน จะประกอบไปด้วยเขตข้อมูล จำนวนกี่เขตข้อมูลก็ได้ แล้วแต่ว่าข้อมูลกี่เขตข้อมูลจึงจะสามารถรวมกันเป็นข้อมูล 1 ชุดได้ (ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบว่าจะจัดเก็บข้อมูลอะไรบ้างในระเบียนข้อมูลนั้นๆ)

5. แฟ้มข้อมูล (File) / Entity
แฟ้มข้อมูล จะเป็นส่วนที่รวบรวมเอาระเบียนข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกัน มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา ก็จะรวบรวมเอาระเบียนข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของนักศึกษาแต่ละคนที่มีอยู่ทั้งหมดมารวมเข้าไว้ด้วยกัน

ที่มา...
//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

คำตอบคือ...

ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงาน
เกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี(indexed)ในระดับภายในหรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว

ที่มา...
//dbcorner.site88.net/page2_2.html






โดย: นางสาวศศิวิมล ภาณุพงศ์ภูสิทธิ์ หมู่ 8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.229, 58.137.131.62 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:48:51 น.  

 
1.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา..//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


โดย: น.ส.วิภาดา นาสิงห์ขันธ์ หมู่8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.141, 202.29.5.62 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:33:49 น.  

 
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

=
1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

ที่มา..//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html


โดย: น.ส.วิภาดา นาสิงห์ขันธ์ หมู่8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.141, 202.29.5.62 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:35:56 น.  

 
โครงสร้างของข้อมูล
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส
2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1
3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์
4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น
5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย
6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง
7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์
8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน
นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ
เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด
แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น
บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น
แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น
แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)
บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html

แนวคิดเชิงกายภาพและตรรก



เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบ
ต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
2.1 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงาน


เกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

2.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บ

รวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี(indexed)ในระดับภายในหรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
//dbcorner.site88.net/page2_2.html







โดย: นางสาวอรนิดา วรินทรา ม. 15 ศ.เช้า IP: 192.168.1.103, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:07:10 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน

ที่มา..//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm




1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

1. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป


2.ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ


//sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm


โดย: นส.บลสิการ ดอนโสภา หมู่15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151217 IP: 192.168.1.115, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:23:42 น.  

 
1.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html
1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูล
1.แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

ที่มา : //sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm


โดย: นางสาววิภายี กลางหล้า ม. 15 ศุกร์เช้า IP: 192.168.1.102, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:02:12 น.  

 
โครงสร้างข้อมูล (Data structure)

1. Bit (Binary digit)
ในระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล คือ bit (Bit) ซึ่งย่อมาจากคำว่า Binary digit หรือเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 ใช้แทนข้อมูล เหตุการณ์หรือสถานะ ได้เพียง 2 อย่างเท่านั้น เช่น จริง/เท็จ มี/ไม่มี จ่ายแล้ว/ยังไม่จ่าย เปิด/ปิด เป็นต้น ย่อมไม่เพียงพอต่อการแทนข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ จึงมีการนำเอา bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการแทนข้อมูลอักขระ 1 ตัว
2. อักขระ (Character)
เขตข้อมูลเกิดจากการนำเอาข้อมูล bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน โดยการรวมกันนี้เป็นการรวมกันเพื่อให้ได้จุดมุ่งหมายบางอย่าง (รวมกันแล้วได้อักขระ 1 ตัว) โดยในการนำเอาข้อมูล bit มารวมกันเพื่อให้เกิดอักขระนี้จะอาศัยมาตรฐานของรหัสแทน ข้อมูล ซึ่งรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ รหัส ASCII และ EBCDIC โดยทั้งสองรหัสนี้จะนำเอา bit จำนวน 8 bit มารวมกัน เพื่อสร้างอักขระ 1 ตัว
3. เขตข้อมูล (Field) / Attribute
เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้ที่เล็กที่สุด ซึ่ง Field จะเกิดจากการนำเอาอักขระต่างๆ มารวมกัน แล้วให้ความหมาย หรือบ่งบอกข้อมูลบางสิ่งบางอย่างได้

4. ระเบียนข้อมูล (Record)
ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการรวมกันของเขตข้อมูลต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ (Logical relation) หรือรวมกันอย่างมีจุดประสงค์ เขตข้อมูลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ แม้นำมารวมกันก็ไม่เกิดความหมายหรือไม่เป็นระเบียบ
5. แฟ้มข้อมูล (File) / Entity
แฟ้มข้อมูล จะเป็นส่วนที่รวบรวมเอาระเบียนข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกัน มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา ก็จะรวบรวมเอาระเบียนข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของนักศึกษาแต่ละคนที่มีอยู่ทั้งหมดมารวมเข้าไว้ด้วยกัน
6.ฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูลจะเป็นส่วนที่ใช้รวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยการรวบรวมข้อมูลนี้ จะอยู่ภายใต้หัวเรื่องหรือจุดประสงค์เดียวกัน หรือเป็นข้อมูลที่รวบรวมไว้ใช้ในการตอบคำถามหรือตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน (ภายใต้วัตถุประสงค์ของฐานข้อมูล
ที่มา
://www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html
ความแตกต่างระหว่างโครงสร้างเชิงกายภาพและเชิงตรรกะ
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด
ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร
ที่มา
://sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm




โดย: นางสาว ธัญธิตา แก้วมีศรี ม. 15 ศุกร์เช้า 52041151239 IP: 192.168.1.104, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:20:28 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบข้อ 1.1
1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน

ที่มา..//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm



โดย: นายบดินทร์ แก้วมีศรี หมู่ 01 (พิเศษ) 52240210214 สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.83.148 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:20:09:13 น.  

 
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

ตอบข้อ1.2

1.แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

ที่มา : //sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm




โดย: นายบดินทร์ แก้วมีศรี หมู่ 01 (พิเศษ) 52240210214 สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.83.148 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:20:14:15 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html


โดย: นางสาว สุทธิดา ยาโย 52240210217 วัน พฤหัสฯค่ำ หมู่ 1 IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:50:17 น.  

 
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

1. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

2. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บ

รวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี(indexed)ในระดับภายในหรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว


//dbcorner.site88.net/page2_2.html


โดย: นางสาว สุทธิดา ยาโย 52240210217 วันพฤหัสฯค่ำ หมู่ 1 IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:55:45 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ 1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
ที่มา

ที่มา //www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html


โดย: โดยน.ส อังคณา สุทธิแพทย์52240210209หมู่01(พิเศษ)พฤ.ค่ำสาขา สาธารณศาสตร์ IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:34:31 น.  

 
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ 1. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป


2.ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ


ที่มา //sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm





โดย: โดยน.ส อังคณา สุทธิแพทย์52240210209หมู่01(พิเศษ)พฤ.ค่ำสาขา สารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:38:36 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
- โครงสร้างแฟ้มข้อมูล ” (data structure) หมายถึง รูปแบบของการจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ (ทักษิณา สวนานนท์, 2544, หน้า 161) ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่ลำดับจากหน่วยที่เล็กที่สุดไปยังหน่วยที่ใหญ่ขึ้นตามลำดับต่อไปนี้

2.1 บิท (Bit : Binary Digit) คือ หน่วยของข้อมูลที่เล็กที่สุดที่เก็บอยู่ในหน่วยความจำภายในคอมพิวเตอร์ ซึ่ง Bit จะแทนด้วยตัวเลขหนึ่งตัว คือ 0 หรือ 1 อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกตัวเลข 0 หรือ 1 ว่าเป็น บิท 1 บิท

2.2 ไบท์ (Byte) คือ หน่วยของข้อมูลที่นำบิทหลายๆบิทมารวมกัน แทนตัวอักษรแต่ละตัว เช่น A, B, …, Z, 0, 1, 2, … ,9 และสัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ เช่น $, &, +, -, *, / ฯลฯ โดยตัวอักษร 1 ตัวจะแทนด้วยบิท 7 บิท หรือ 8 บิท ซึ่งตัวอักษรแต่ละตัวจะเรียกว่า ไบท์ เช่น ตัว A เมื่อเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์จะเก็บเป็น 1000001 ส่วนตัว B จะเก็บเป็น 1000010 เป็นต้น

2.3 เขตข้อมูล (Field) คือ หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำตัวอักขระหลายๆตัวมารวมกัน เป็นคำที่มีความหมาย เช่น รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา นามสกุล ที่อยู่ คณะ และสาขาวิชา เป็นต้น ภาพที่ 1.1)

2.4 ระเบียน (Record) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนำเขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน หรือค่าของข้อมูลในแต่ละเขตข้อมูล เช่น ระเบียนนักศึกษาคนที่ 1 ประกอบด้วยเขตข้อมูล รหัสนักศึกษา 4800111 , ชื่อ : สาธิต, นามสกุล : กิตติพงศ์, โปรแกรมวิชา : บรรณารักษศาสตร์, คณะ : มนุษยศาสตร์ เป็นต้น (ภาพที่ 1.1)

2.5 แฟ้มข้อมูล (File) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนำระเบียนหลายๆ ระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษา (ภาพที่ 1.1) ซึ่งประกอบไปด้วย ระเบียนจำนวน 5 ระเบียน หรือ 5 แถว ซึ่งก็คือ รายละเอียดของนักศึกษาจำนวน 5 คน นั่นเอง

2.6 ฐานข้อมูล (Database) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนำแฟ้มข้อมูลหลายๆ แฟ้มข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน เช่น ฐานข้อมูลในระบบทะเบียนนักศึกษา จะประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลรายวิชา นักศึกษา การลงทะเบียน ผลการเรียน และอาจารย์ผู้สอน เป็นต้น

ที่มา://school.obec.go.th/kubird/NewDBMS/db02.htm


โดย: นางสาวนงลักษณ์ ทุมลา 51040325135 หมู่01 จันทร์บ่าย IP: 114.128.221.34 วันที่: 19 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:42:43 น.  

 
โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
-ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี(indexed)ในระดับภายในหรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว




-ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ


ที่มา://dbcorner.comoj.com/page2_2.html


โดย: นางสาวนงลักษณ์ ทุมลา 51040325135 หมู่ 01 จันทร์บ่าย IP: 114.128.221.34 วันที่: 19 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:51:24 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

โครงสร้างแฟ้มข้อมูล ” (data structure) หมายถึง รูปแบบของการจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ (ทักษิณา สวนานนท์, 2544, หน้า 161) ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่ลำดับจากหน่วยที่เล็กที่สุดไปยังหน่วยที่ใหญ่ขึ้นตามลำดับต่อไปนี้

2.1 บิท (Bit : Binary Digit) คือ หน่วยของข้อมูลที่เล็กที่สุดที่เก็บอยู่ในหน่วยความจำภายในคอมพิวเตอร์ ซึ่ง Bit จะแทนด้วยตัวเลขหนึ่งตัว คือ 0 หรือ 1 อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกตัวเลข 0 หรือ 1 ว่าเป็น บิท 1 บิท

2.2 ไบท์ (Byte) คือ หน่วยของข้อมูลที่นำบิทหลายๆบิทมารวมกัน แทนตัวอักษรแต่ละตัว เช่น A, B, …, Z, 0, 1, 2, … ,9 และสัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ เช่น $, &, +, -, *, / ฯลฯ โดยตัวอักษร 1 ตัวจะแทนด้วยบิท 7 บิท หรือ 8 บิท ซึ่งตัวอักษรแต่ละตัวจะเรียกว่า ไบท์ เช่น ตัว A เมื่อเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์จะเก็บเป็น 1000001 ส่วนตัว B จะเก็บเป็น 1000010 เป็นต้น

2.3 เขตข้อมูล (Field) คือ หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำตัวอักขระหลายๆตัวมารวมกัน เป็นคำที่มีความหมาย เช่น รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา นามสกุล ที่อยู่ คณะ และสาขาวิชา เป็นต้น ภาพที่ 1.1)

2.4 ระเบียน (Record) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนำเขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน หรือค่าของข้อมูลในแต่ละเขตข้อมูล เช่น ระเบียนนักศึกษาคนที่ 1 ประกอบด้วยเขตข้อมูล รหัสนักศึกษา 4800111 , ชื่อ : สาธิต, นามสกุล : กิตติพงศ์, โปรแกรมวิชา : บรรณารักษศาสตร์, คณะ : มนุษยศาสตร์ เป็นต้น (ภาพที่ 1.1)

2.5 แฟ้มข้อมูล (File) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนำระเบียนหลายๆ ระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษา (ภาพที่ 1.1) ซึ่งประกอบไปด้วย ระเบียนจำนวน 5 ระเบียน หรือ 5 แถว ซึ่งก็คือ รายละเอียดของนักศึกษาจำนวน 5 คน นั่นเอง

2.6 ฐานข้อมูล (Database) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนำแฟ้มข้อมูลหลายๆ แฟ้มข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน เช่น ฐานข้อมูลในระบบทะเบียนนักศึกษา จะประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลรายวิชา นักศึกษา การลงทะเบียน ผลการเรียน และอาจารย์ผู้สอน เป็นต้น

ที่มา://school.obec.go.th/kubird/NewDBMS/db02.htm

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

-ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี(indexed)ในระดับภายในหรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว




-ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ


ที่มา://dbcorner.comoj.com/page2_2.html


โดย: นายอดิศักดิ์ รักวิชา ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427132 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:4:19:19 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

โครงสร้างแฟ้มข้อมูล ” (data structure) หมายถึง รูปแบบของการจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ (ทักษิณา สวนานนท์, 2544, หน้า 161) ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่ลำดับจากหน่วยที่เล็กที่สุดไปยังหน่วยที่ใหญ่ขึ้นตามลำดับต่อไปนี้

2.1 บิท (Bit : Binary Digit) คือ หน่วยของข้อมูลที่เล็กที่สุดที่เก็บอยู่ในหน่วยความจำภายในคอมพิวเตอร์ ซึ่ง Bit จะแทนด้วยตัวเลขหนึ่งตัว คือ 0 หรือ 1 อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกตัวเลข 0 หรือ 1 ว่าเป็น บิท 1 บิท

2.2 ไบท์ (Byte) คือ หน่วยของข้อมูลที่นำบิทหลายๆบิทมารวมกัน แทนตัวอักษรแต่ละตัว เช่น A, B, …, Z, 0, 1, 2, … ,9 และสัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ เช่น $, &, +, -, *, / ฯลฯ โดยตัวอักษร 1 ตัวจะแทนด้วยบิท 7 บิท หรือ 8 บิท ซึ่งตัวอักษรแต่ละตัวจะเรียกว่า ไบท์ เช่น ตัว A เมื่อเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์จะเก็บเป็น 1000001 ส่วนตัว B จะเก็บเป็น 1000010 เป็นต้น

2.3 เขตข้อมูล (Field) คือ หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำตัวอักขระหลายๆตัวมารวมกัน เป็นคำที่มีความหมาย เช่น รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา นามสกุล ที่อยู่ คณะ และสาขาวิชา เป็นต้น ภาพที่ 1.1)

2.4 ระเบียน (Record) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนำเขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน หรือค่าของข้อมูลในแต่ละเขตข้อมูล เช่น ระเบียนนักศึกษาคนที่ 1 ประกอบด้วยเขตข้อมูล รหัสนักศึกษา 4800111 , ชื่อ : สาธิต, นามสกุล : กิตติพงศ์, โปรแกรมวิชา : บรรณารักษศาสตร์, คณะ : มนุษยศาสตร์ เป็นต้น (ภาพที่ 1.1)

2.5 แฟ้มข้อมูล (File) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนำระเบียนหลายๆ ระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษา (ภาพที่ 1.1) ซึ่งประกอบไปด้วย ระเบียนจำนวน 5 ระเบียน หรือ 5 แถว ซึ่งก็คือ รายละเอียดของนักศึกษาจำนวน 5 คน นั่นเอง

2.6 ฐานข้อมูล (Database) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนำแฟ้มข้อมูลหลายๆ แฟ้มข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน เช่น ฐานข้อมูลในระบบทะเบียนนักศึกษา จะประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลรายวิชา นักศึกษา การลงทะเบียน ผลการเรียน และอาจารย์ผู้สอน เป็นต้น

ที่มา://school.obec.go.th/kubird/NewDBMS/db02.htm

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

-ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี(indexed)ในระดับภายในหรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว




-ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ


ที่มา://dbcorner.comoj.com/page2_2.html


โดย: นายนิรัช วิจิตรกุล ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427117 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:4:20:29 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ
โครงสร้างข้อมูล.(Data Structure)

ในการนำข้อมูลไปใช้นั้น เรามีระดับโครงสร้างของข้อมูลดังนี้

1. บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น

2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น
3. ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น

4. เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด

5. ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น

ที่มา
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/phayao/patcharee_s/computer_m1/sec02p04.htm


1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

ตอบ
ระเบียนเชิงกายภาพ (Physical Record) คือ ระเบียนในทัศนะของคอมพิวเตอร์ โดยพิจารณาจากการอ่านบันทึกข้อมูลลงสื่อบันทึกแต่ละครั้ง ซึ่งการอ่านหรือบันทึกแต่ละครั้งถือว่าเป็น 1 หน่วยของสื่อบันทึกข้อมูล ในการนำระเบียนข้อมูลเชิงตรระมาจัดเก็บลงสื่อบันทึกข้อมูล ซึ่งระเบียนดังกล่าวจะต้องถูกจัดให้อยู่ในระเบียนเชิงกายภาพ ดังนั้นจะทำให้เกิดระเบียนแบบต่าง คือ ระเบียนแบบ Unblock ระบียนแบบ Block และระบียนแบบ Spanned Record

ระเบียนเชิงตรรกะ (Logical Record) คือ ระเบียนในทัศนะของผู้ใช้ทั่วไป ประกอบด้วยเขตข้อมูลที่สัมพันธ์กันเชิงตรรกะซึ่งกันและกัน โดยไม่คำนึงว่าจะจัดเก็บไว้ที่ใดในอุปกรณ์บันทึกข้อมูล

ที่มา
//www.oknation.net/blog/print.php?id=60856


โดย: น.ส.ชฎาพร โสภาคำ ชีววิทยา(จุลชีววิทยา) ม.08 พฤ (เช้า) 52040281117 IP: 124.157.148.182 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:21:28 น.  

 
ตอบแบบทดสอบ โครงสร้างข้อมูล
ข้อที่ 1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ โครงสร้างของข้อมูล
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส
2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1
3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์
4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น
5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย
6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง
7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์
8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่นแฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน
นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ
เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด
แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น
บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น
แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น
แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)
บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)

ข้อที่ 2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ 1.แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

2.การออกแบบฐานข้อมูล
สรุปได้ว่าแฟ้มข้อมูลที่กล่าวถึงนั้นคือสิ่งเดียวกันแต่เมื่อมองจากต่างมุมจะมองเห็นต่างกัน ซึ่งในมุมมองของผู้ใช้นั้นเป็นมุมมองเชิงตรรกะ ขณะที่มุมมองของระบบปฏิบัติการเป็นมุมมองเชิงกายภาพ

การสร้างฐานข้อมูลขึ้นใช้งานในองค์การหรือหน่วยงานต่างๆ ก็จำเป็นจะต้องดำเนินการตามขั้นตอนที่เหมาะสม และต้องมีวิธีจัดการข้อมูล โดยปกติการสร้างฐานข้อมูลจำเป็นจะต้องออกแบบฐานข้อมูลเป็นสองระยะหรือสองขั้นตอนด้วยกัน ขั้นแรกก็คือการออกแบบเชิงแนวคิด (conceptual design) หรือเชิงตรรกะ (logical design) และขั้นที่สองก็คือการออกแบบเชิงกายภาพ (physical design)

2.1 การออกแบบเชิงตรรกะเน้นในด้านการจัดกลุ่มข้อมูลในฐานข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ หรือ เป็นตารางที่เหมาะสม การออกแบบเริ่มต้นด้วยการพิจารณาว่าหน่วยงานจะต้องใช้ข้อมูลอะไรบ้าง ข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไรบ้าง จะจัดกลุ่มข้อมูลอย่างไรจึงจะเหมาะสมและไม่เกิดความซ้ำซ้อน การพิจารณาการจัดกลุ่มนี้จะต้องคำนึงถึงลักษณะของประเภทฐานข้อมูลที่จะจัดทำขึ้นด้วย

2.2 การออกแบบเชิงกายภาพ เน้นในด้านการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการหรือตารางข้อมูลต่างๆ จะจัดเก็บลงในสื่อข้อมูลเช่นจานแม่เหล็กได้อย่างไร มีการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการเป็นข้อมูลประเภทอักขระ จำนวน หรือประเภทอื่นๆ และต้องใช้เนื้อที่ในการเก็บมากน้อยเท่าใด การออกแบบฐานข้อมูลในส่วนนี้จำเป็นจะต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาด้านฐานข้อมูลมาโดยตรง

ฐานข้อมูลเป็นงานประยุกต์คอมพิวเตอร์ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในยุคปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่างานประยุกต์คอมพิวเตอร์ทุกงานล้วนต้องสร้างขึ้นบนฐานข้อมูลแทบทั้งสิ้น ดังนั้นการศึกษาทำความเข้าใจเรื่องของฐานข้อมูลจึงเป็นเรื่องจำเป็น ยิ่งหากได้ศึกษาจนถึงขั้นออกแบบและใช้งานได้จริงแล้วยิ่งจะเป็นประโยชน์มากขึ้นเป็นทวีคูณ

ที่มา
//sot.swu.ac.th/cp342/lesson01/ms3t2.htm
//pil2ate.site50.net/index.php?option=com_content&task=view&id=17&Itemid=38



โดย: นางสาวจิลวรรณ ปัดถาวะโร รหัส 52040281130 ม. 08 ( พฤ.เช้า ) IP: 124.157.148.182 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:50:32 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไบิต (bit) เลขฐานสองหนึ่งหลักซึ่งมีค่าเป็น 0 หรือ 1

· ตัวอักษร (character) กลุ่มของบิตสามารถแทนค่าตัวอักษรได้ ในชุดอักขระ ASCII 1 ไบต์(8 บิต) แทนตัวอักษร 1 ตัว

· เขตข้อมูล หรือฟิลด์ (field) เขตข้อมูลซึ่งประกอบด้วยกลุ่มตัวอักษรที่แทนข้อเท็จจริง

· ระเบียน (record) ระเบียน คือโครงสร้างข้อมูลที่แทนตัววัตถุชิ้นหนึ่ง

· แฟ้ม (file) ตารางที่เป็นกลุ่มของระเบียนที่มีโครงสร้างเดียวกัน

· ฐานข้อมูล (database) กลุ่มของตาราง (และความสัมพันธ์)

ปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด


โดย: น.ส วนิดา ปัตตานี เช้าวันศุกร์ หมู่15 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 26 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:47:30 น.  

 
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร


ค่าตรรกะ (Boolean values) ซึ่งมีเพียงสองค่าคือ จริง กับ เท็จ
เป็นการจัดระเบียบการทำงาน
เชิงกายภาพ การจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่างเช่นเทปแม่เหล็ก


โดย: น.ส วนิดา ปัตตานี เช้าวันศุกร์ หมู่15 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 26 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:52:58 น.  

 
1.1ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
ที่มา


1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
คำตอบคือ...
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงาน
เกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี(indexed)ในระดับภายในหรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว

ที่มา...
//dbcorner.site88.net




โดย: นางสาวสุพัตรา ธรรมสาร(หมู่15ศ.เช้า) IP: 222.123.62.82 วันที่: 28 กรกฎาคม 2552 เวลา:0:20:02 น.  

 
บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น
ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น
ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น
เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด
ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น
ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท
ที่มา://www.thaigoodview.com


โดย: น.ส.วิไลวรรณ พงค์พันธ์ ม.29 (พุธเช้า) 52040501303 IP: 222.123.231.163 วันที่: 28 กรกฎาคม 2552 เวลา:21:17:29 น.  

 
โครงสร้างของข้อมูล
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส
2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1
3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์
4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น
5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย
6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง
7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์
8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน
นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ
เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด
แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น
บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น
แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น
แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)
บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)


ที่มา://www.thaigoodview.com/library/


โดย: น.ส.วิไลวรรณ พงค์พันธ์ ม.29 (พุธเช้า) 52040501303 IP: 222.123.231.163 วันที่: 28 กรกฎาคม 2552 เวลา:21:26:50 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบาย2.4 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์

ในปัจจุบันสังคมเป็นสังคมสารสนเทศ ข้อมูลถือเป็นทรัพยากรที่มีค่าของทุก ๆ หน่วยงาน ไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่ หน่วยงานที่สามารถจัดการข้อมูลได้ดีกว่าย่อมได้เปรียบกว่าในทุก ๆ ด้าน ดังนั้นจึงได้มีความพยายามนำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูล โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ข้อมูลของหน่วยงานมีความถูกต้อง แม่นยำ ทันสมัย และสะดวกต่อการเรียกใช้งานมากที่สุด หากจะพิจารณาถึงการจัดการข้อมูลย่อมจะหมายถึง การจัดเก็บข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมาใช้งาน ลองพิจารณาถึงคลินิกแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นหน่วยงานเล็ก ๆ ก็ยังต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลคนไข้ที่มารับการรักษา ข้อมูลที่ต้องการเก็บ ได้แก่ ประวัติส่วนตัวของคนไข้ อาการที่มารับการรักษา วิธีการรักษา และผลการรักษา วิธีหนึ่งที่ทำกันก็คือการจดบันทึกข้อมูลทั้งหมดลงบนกระดาษและเก็บกระดาษนั้นไว้ ซึ่งมีหัวข้อที่ซ้ำกัน เช่น ข้อความของหัวข้อ ชื่อคนไข้ และที่อยู่ ฯลฯ หากเจ้าหน้าที่ต้องเขียนทุกใบก็จะเป็นการเสียเวลา ดังนั้นทางคลินิกอาจใช้วิธีจ้างโรงพิมพ์พิมพ์แบบฟอร์มขึ้นมา เพื่อให้การกรอกข้อมูลง่ายขึ้น รูปที่ 2.9 แสดงตัวอย่างของแบบฟอร์มที่คลินิกแห่งหนึ่งใช้



รูปที่ 2.9 ตัวอย่างแบบฟอร์มบัตรคนไข้

เมื่อพิจารณาบัตรคนไข้ จะเห็นว่า ข้อมูลที่อยู่บนบัตรมีความหมายต่าง ๆ กัน การที่ข้อมูลแสดงความหมายได้ จะต้องประกอบด้วยส่วนข้อมูลที่พิมพ์บนบัตรกับส่วนข้อมูลที่กรอกเพิ่มเติม ข้อมูลที่พิมพ์บนบัตรคือส่วนที่อธิบายลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ ทำให้ส่วนข้อมูลที่กรอกเพิ่มเติมชัดเจน การจะใช้งานข้อมูลให้ได้ผลดี จึงต้องมีทั้งตัวข้อมูลและคำอธิบายลักษณะของข้อมูล

ในการจัดเก็บข้อมูลเหล่านี้ ทางคลินิกใช้ตู้เก็บเอกสารขนาดใหญ่สำหรับเก็บแบบฟอร์มและเรียงไว้ในลิ้นชัก เมื่อมีคนไข้ใหม่เพิ่มขึ้นก็เพิ่มแบบฟอร์มแผ่นใหม่เข้าไป และในการเรียกใช้ข้อมูลเมื่อมีคนไข้มาติดต่อ เจ้าหน้าที่ต้องค้นหาข้อมูลเดิมของคนไข้ วิธีหนึ่งที่ทำได้คือตรวจดูข้อมูลบนบัตรคนไข้ทีละใบตั้งแต่ใบแรกจนพบ การค้นหาวิธีนี้อาจเสียเวลามาก แต่ถ้าจัดเก็บข้อมูลโดยเรียงชื่อตามตัวอักษรไว้แล้ว จะทำได้รวดเร็วขึ้น

การจัดการข้อมูลจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานในชีวิตประจำวัน และมีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยประมวลผล เพื่อได้ข้อมูลที่ถูกต้องอย่างรวดเร็ว การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องมีหลักการและวิธีการที่เป็นระบบ และการเก็บข้อมูลควรพยายามลดขนาดของข้อมูลให้เล็กที่สุด แต่ยังคงความหมายในตัวเองมากที่สุด

ดังที่กล่าวมาแล้วว่าการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์นั้น เป็นการเก็บข้อมูลไว้ในสื่อบันทึก เช่น เทปแม่เหล็ก แผ่นบันทึก หรือจานแม่เหล็ก โดยที่ข้อมูลนั้นอยู่ในรูปของเลขฐานสองหลายบิตเรียงกัน ดังนั้นในการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการประมวลผลจึงต้องกำหนดรูปแบบหรือโครงสร้างของข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ตรงกัน โดยโครงสร้างของข้อมูลจะประกอบด้วย 5 ลำดับ ดังนี้

(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป



รูปที่ 2.10 แสดงความสัมพันธ์ของโครงสร้างข้อมูลภายในแฟ้มข้อมูล

พิจารณาการเก็บประวัติของนักเรียนในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ประวัติของนักเรียนคนหนึ่ง ๆ จะบันทึกลงในระเบียนประวัติหนึ่งใบ โดยประกอบด้วยเขตข้อมูลต่าง ๆ เช่น ชื่อ นามสกุล วัน เดือน ปีเกิด ฯลฯ โดยที่ข้อมูลเหล่านี้อาจเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได้ และใบระเบียนประวัติของนักเรียนในโรงเรียนจะได้รับการจัดเก็บไว้ในแฟ้มเดียวกัน ดังรูปที่ 2.11







ระเบียนประวัติของนักเรียนทั้งหมดเรียกว่า “แฟ้มข้อมูล” ประวัตินักเรียนของโรงเรียน

ระเบียนประวัติของนักเรียนแต่ละคนเรียกว่า “ระเบียนข้อมูล” ประวัตินักเรียน

ข้อมูลแต่ละค่าในระเบียนประวัติเรียกว่า “เขตข้อมูล” ประวัตินักเรียน ซึ่งอาจเป็นตัวเลขหรือตัวหนังสือ
สำหรับการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์นั้น จะเหมือนกับการจัดเก็บข้อมูลทั่วไป คือ เป็นแฟ้มข้อมูล ระเบียนข้อมูล และเขตข้อมูล จากรูปการจัดการข้อมูลทั่วไปในรูปที่ 2.11 นั้น สามารถจัดเก็บในคอมพิวเตอร์ได้ดังรูปที่ 2.12 โดยจะเห็นว่าแฟ้มข้อมูลอยู่ในรูปตารางสองมิติ แต่ละแถวจะแสดงระเบียนแต่ละระเบียน และแต่ละสดมภ์จะแสดงเขตข้อมูลต่าง ๆ แต่ละเขตข้อมูลมีชื่อกำกับบอกไว้ จะสังเกตได้ว่าความสัมพันธ์ของข้อมูลจะสัมพันธ์กันในแต่ละระเบียน โดยมีความหมายในตัวเองและไม่เกี่ยวข้องกับลำดับระเบียน

ในการจัดเก็บข้อมูลต้องกำหนดคุณสมบัติของข้อมูลให้ชัดเจน ตลอดจนวิธีการเตรียมข้อมูลเพื่อการประมวลผลดังต่อไปนี้

1) กำหนดชื่อและจำนวนเขตข้อมูลในระเบียนข้อมูล

เช่น ในข้อมูลระเบียนนักเรียนดังรูปที่ 2.12 อาจประกอบด้วยเขตข้อมูลจำนวน 6 เขต คือ

เขตข้อมูลที่ 1 ชื่อเขตข้อมูล ID หมายถึง เลขประจำตัวนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 2 ชื่อเขตข้อมูล NAME หมายถึง ชื่อ - สกุลนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 3 ชื่อเขตข้อมูล GENDER หมายถึง เพศของนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 4 ชื่อเขตข้อมูล BIRTHDAY หมายถึง วัน เดือน ปีเกิดของนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 5 ชื่อเขตข้อมูล FA_NAME หมายถึง ชื่อบิดาของนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 6 ชื่อเขตข้อมูล MO_NAME หมายถึง ชื่อมารดาของนักเรียน

2) กำหนดชนิดและขนาดของเขตข้อมูลแต่ละเขต

เช่น เขตข้อมูล NAME เป็นตัวอักษร ขนาด 30 ตัวอักษร

3) กำหนดวิธีการและสื่อในการจัดเก็บข้อมูล

แฟ้มข้อมูลจะได้รับการนำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ โดยข้อมูลนี้อาจได้รับการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมหรือตัดออกได้มื่อนำเขตข้อมูลทั้งหมดมาวางเรียงกัน จะเกิดรูปแบบที่เรียกว่า “โครงสร้างระเบียน” ซึ่งสามารถใช้เป็นเครื่องบ่งบอกถึงโครงสร้างของแฟ้มนั้นได้ เช่น แฟ้มประวัตินักเรียน มีแต่ละระเบียนอาจเลือกเขตข้อมูลหนึ่ง ซึ่งสามารถบ่งบอกความแตกต่างของข้อมูลให้ทราบได้อย่างมีนัยสำคัญมาเป็นตัวบ่งชี้ความแตกต่างของระเบียนแต่ละระเบียน ซึ่งเรียกว่า “กุญแจ” (Key) เช่น ระเบียนประวัตินักเรียนอาจเลือกเขตข้อมูล ID เป็นกุญแจ เพราะเขตข้อมูลนี้จะบ่งบอกความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ กล่าวคือ จะบอกได้ว่าเป็นนักเรียนคนเดียวกันหรือไม่ ถ้าข้อมูลในเขตข้อมูล ID เหมือนกัน แสดงว่าเป็นคนเดียวกัน แต่ถ้าไม่เหมือนกัน แสดงว่าเป็นคนละคนกัน

//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


โดย: น.ส ผกาพรร หงษ์ทอง หมู่1 จันทร์-บ่าย IP: 124.157.146.74 วันที่: 29 กรกฎาคม 2552 เวลา:19:46:36 น.  

 
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
1.แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป


//sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm




โดย: น.ส ผกาพรรณ หงษ์ทอง หมู่1 จันทร์-บ่าย IP: 124.157.146.74 วันที่: 29 กรกฎาคม 2552 เวลา:19:48:16 น.  

 
แบบฝึกหัด

1.1ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบต
(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึงหน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

ที่มา:
//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


1.2 โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ อย่างกันอย่างไร
ตอบ
โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical data structure)
เป็นโครงสร้างที่กำหนดจากวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่างๆ เช่น เนื้อที่สำหรับจัดเก็บ ตำแหน่งในการจัดเก็บฐานข้อมูล เป็นต้น
โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical data structure)
เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical data model)
นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบของโครงสร้างต้นไม้ (tree structure)
มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูก คือ พ่อ (parent) 1 คนมีลูก (child) ได้หลายคน หรือแบบพ่อคนเดียวมีลูก 1 คนแต่ลูกมีพ่อได้คนเดียว
ลักษณะเด่นคือ มีความซับซ้อนน้อย เข้าใจง่าย ค่าใช้จ่ายไม่สูง ป้องกันความลับของข้อมูลได้ดี เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นระดับและเรียงลำดับต่อเนื่อง
ข้อจำกัด คือ ไม่สามารถรองรับความสัมพันธ์ของข้อมูลแบบลูกมีพ่อได้หลายคนได้ มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากและมีความคล่องตัวน้อยกว่าโครงสร้างแบบอื่น เพราะเรียกใช้ข้อมูลต้องผ่านทางต้นกำเนิดเสมอ ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลซึ่งปรากฏในระดับล่าง ๆ แล้วจะต้องค้นหาทั้งแฟ้ม

ที่มา //74.125.153.132/search?q=cache:0UHXauJSOHYJ:course.eau.ac.th/course/Download/0531011/database.ppt+%E


โดย: นาย สุระทิน ใจใส หมู่ 15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151202 IP: 1.1.1.171, 58.147.7.66 วันที่: 29 กรกฎาคม 2552 เวลา:20:43:48 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

1.1 โครงสร้างข้อมูล (Data structure)


--------------------------------------------------------------------------------

1. Bit (Binary digit)
2. อักขระ (characters)
3. เขตข้อมูล (Fields) / Attribute
4. ระเบียนข้อมูล (Records) / tuple
5. แฟ้มข้อมูล (Files) / Entity
6. ฐานข้อมูล (Database)





1. Bit (Binary digit)
ในระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล คือ bit (Bit) ซึ่งย่อมาจากคำว่า Binary digit หรือเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 ใช้แทนข้อมูล เหตุการณ์หรือสถานะ ได้เพียง 2 อย่างเท่านั้น เช่น จริง/เท็จ มี/ไม่มี จ่ายแล้ว/ยังไม่จ่าย เปิด/ปิด เป็นต้น ย่อมไม่เพียงพอต่อการแทนข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ จึงมีการนำเอา bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการแทนข้อมูลอักขระ 1 ตัว




--------------------------------------------------------------------------------


2. อักขระ (Character)
เขตข้อมูลเกิดจากการนำเอาข้อมูล bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน โดยการรวมกันนี้เป็นการรวมกันเพื่อให้ได้จุดมุ่งหมายบางอย่าง (รวมกันแล้วได้อักขระ 1 ตัว) โดยในการนำเอาข้อมูล bit มารวมกันเพื่อให้เกิดอักขระนี้จะอาศัยมาตรฐานของรหัสแทน ข้อมูล ซึ่งรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ รหัส ASCII และ EBCDIC โดยทั้งสองรหัสนี้จะนำเอา bit จำนวน 8 bit มารวมกัน เพื่อสร้างอักขระ 1 ตัว

รหัสแทนข้อมูล
รหัสแทนข้อมูลจะมี 2 ลักษณะ คือ
1. รหัสภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (External Code) เป็นรหัสที่ใช้อยู่ภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น รหัสที่ใช้ในบัตรเจาะรู
2. รหัสภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ (Internal Code) เป็นรหัสที่ใช้อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีอยู่หลายรหัส

รหัส BCD (Binary Code Decimal)
เป็นรหัสที่ใช้อยู่ ในช่วง ค.ศ. 1959-1965 ใช้การเข้ารหัสตัวอักษร และตัวเลขเป็นแบบ 6 bit เป็น 1 byte หรือเป็น 1 character (หรือ 6 bit bytes) ซึ่งจะทำให้สามารถสร้างรหัสต่างๆ ได้ถึง 64 รหัส (26 = 64) โดยการเข้ารหัส จะแบ่ง bit ทั้ง 6 bit ออกเป็น 2 ส่วน (2 Zone) คือ

4 bit แรก (bit ที่ 0 ถึง bit ที่ 3) เรียกว่า Numeric bit โดย 4 bit นี้ จะใส่ค่าลำดับของตัวอักษร ตามค่าในเลขฐานสองคือ 8 4 2 1
2 bit ถัดมา (bit ที่ 4 และ 5) เรียกว่า Zone bit โดยเรียก bit ที่ 4 ว่า A และ bit ที่ 5 ว่า B
มาตรฐานของระบบ BCD นี้เรียกว่า " Standard Binary Code Decimal Interchange Code " หรือเรียกย่อๆ ว่า รหัส BCD (Binary Code Decimal)

Zone bit Numeric bit
A B 8 4 2 1


ข้อมูลต่างๆ จะถูกเข้ารหัสเป็น BCD ดังนี้

ข้อมูลตัวเลข

Zone bit Zone A จะเป็น 0 Zone B จะเป็น 0
Numeric bit จะเป็นค่าของตัวเลขนั้น ในระบบเลขฐานสอง

เช่น 3 = 000011
7 = 000111
9 = 001001

ข้อมูลตัวอักษร

Zone bit
ข้อมูล A - I Zone A จะเป็น 1 Zone B จะเป็น 1
ข้อมูล J - R Zone A จะเป็น 1 Zone B จะเป็น 0
ข้อมูล S - Z Zone A จะเป็น 0 Zone B จะเป็น 1

Numeric bit จะเป็นค่าลำดับของตัวอักษรนั้น ในระบบเลขฐานสอง

เช่น B = 110010 (B อยู่ในข้อมูลชุดที่ 1 ลำดับที่ 2)
M = 100100 (M อยู่ในข้อมูลชุดที่ 2 ลำดับที่ 4)
X = 010110 (X อยู่ในข้อมูลชุดที่ 3 ลำดับที่ 6)


ข้อมูลสัญลักษณ์ต่างๆ

ข้อมูลที่เป็นสัญลักษณ์ต่างๆ นี้ ทางบริษัทผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์จะเป็นผู้กำหนดขึ้นมาเอง เช่น
( = 111101 ) = 101101
* = 101100 / = 010001
+ = 011010 - = 100000


--------------------------------------------------------------------------------

รหัส EBCDIC

รหัส EBCDIC หรือ Extended Binary Code Decimal Interchange Code ได้รับการพัฒนาขึ้นมาโดยบริษัท IBM ในช่วงยุคที่ 3 ของคอมพิวเตอร์ (ประมาณปี ค.ศ. 1965) โดยได้ทำการพัฒนาขึ้นมาจากรหัส BCD รหัส EBCDIC มีการเปลี่ยนแปลงจาก รหัส BCD คือมีการเพิ่มการเข้ารหัสตัวอักษรจาก 6 bit เป็น 1 byte มาเป็น 8 bit เป็น 1 byte ซึ่งจะทำให้สามารถสร้างรหัสขึ้นมาได้ถึง 256 รหัส (28 = 256) โดยมีการกำหนด bit ออกเป็น 2 ส่วน คือ

4 bit แรก (bit ที่ 0 ถึง bit ที่ 3) เรียกว่า Numeric bit โดย 4 bit นี้ จะใส่ค่าลำดับของตัวอักษร ตามค่าในเลขฐานสองคือ 8 4 2 1
4 bit ถัดมา(bit ที่ 4 ถึง bit ที่ 7)เรียกว่า Zone bit โดย Zone bit นี้ก็จะมีค่าประจำหลักเป็น 8 4 2 1 เช่นกัน
Zone bit Numeric bit
8 4 2 1 8 4 2 1


อักขระของรหัส EBCDIC นี้จะใช้ตัวเลขฐานสองทั้งหมด 8 ตัว หรือ อีกนัยหนึ่งคือสามารถจะเขียนด้วยเลขฐาน 16 แทนได้ (ใช้ 2 ตัว สำหรับ Zone bit 1 ตัว และ Numeric bit อีก 1 ตัว)

การเข้ารหัสของรหัส EBCDIC จะมีลักษณะดังนี้

ข้อมูลตัวเลข

Zone bit จะเป็น (1111) ฐาน 2
Numeric bit จะเป็นค่าของตัวเลขนั้น ในระบบเลขฐานสอง

เช่น 3 = (11110011) ฐาน 2 หรือ (F3) ฐาน 16
7 = (11110111) ฐาน 2 หรือ (F7) ฐาน 16
9 = (11111001) ฐาน 2 หรือ (F9) ฐาน16

ข้อมูลตัวอักษร

Zone bit
ข้อมูล A - I จะเป็น (1100) ฐาน 2 หรือ (C) ฐาน 16
ข้อมูล J - R จะเป็น (1101) ฐาน 2 หรือ (D) ฐาน 16
ข้อมูล S - Z จะเป็น (1110) ฐาน 2 หรือ (E) ฐาน 16
ข้อมูล a - i จะเป็น (1000) ฐาน 2 หรือ (8) ฐาน 16
ข้อมูล j - r จะเป็น (1001) ฐาน 2 หรือ (9) ฐาน 16
ข้อมูล s - z จะเป็น (1010) ฐาน 2 หรือ (A) ฐาน 16

Numeric bit
จะเป็นค่าลำดับของตัวอักษรนั้น ในระบบเลขฐานสอง

เช่น
B = (1100 0010) ฐาน 2 หรือ (C2) ฐาน 16 (B อยู่ในข้อมูลชุดที่ 1 ลำดับที่ 2)
M = (1101 0100) ฐาน 2 หรือ (D4) ฐาน 16 (M อยู่ในข้อมูลชุดที่ 2 ลำดับที่ 4)
X = (1110 0110) ฐาน 2 หรือ (E6) ฐาน 16 (X อยู่ในข้อมูลชุดที่ 3 ลำดับที่ 6)


--------------------------------------------------------------------------------

รหัส ASCII

ASCII ย่อมาจาก American Standard Code for Information Interchange ถูกสร้างขึ้นเมื่อประมาณ ปี ค.ศ. 1966 โดยสมาคมรักษามาตรฐานแห่งสหรัฐอเมริกา (American Standards Association) ซึ่งปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็น สถาบัน มาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (American Nation Standards Institute : ANSI) โดยรหัสนี้ ได้มาจากรหัสขององค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ (International Standardization Organization : ISO) รหัส ASCII ได้รับความนิยมอย่างสูง และยังใช้เป็นรหัสมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูล (Data communications) รหัส ASCII จะใช้การแทนข้อมูลแบบ 8 bit เป็น 1 byte เช่น

ข้อมูล ASCII EBCDIC
ฐาน 16 ฐาน 10 ฐาน 2 ฐาน 16 ฐาน 2
A
B
C 41
42
43 65
66
67 01000001
01000010
01000011 C1
C2
C3 11000001
11000010
11000011
0
1
2
9 30
31
32
39 48
49
50
57 00110000
00110001
00110010
00111001 F0
F1
F2
F9 11110000
11110001
11110010
11111001







ตารางรหัส ASCII


--------------------------------------------------------------------------------

3. เขตข้อมูล (Field) / Attribute
เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้ที่เล็กที่สุด ซึ่ง Field จะเกิดจากการนำเอาอักขระต่างๆ มารวมกัน แล้วให้ความหมาย หรือบ่งบอกข้อมูลบางสิ่งบางอย่างได้ เช่น

สมชาย = ชื่อ
404280001 = รหัสประจำตัวนักศึกษา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ = ชื่อวิชาเอก


--------------------------------------------------------------------------------

4. ระเบียนข้อมูล (Record)
ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการรวมกันของเขตข้อมูลต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ (Logical relation) หรือรวมกันอย่างมีจุดประสงค์ เขตข้อมูลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ แม้นำมารวมกันก็ไม่เกิดความหมายหรือไม่เป็นระเบียบ (ไม่เกิดเป็นระเบียนข้อมูลด้วย)
ระเบียนข้อมูล 1 ระเบียน ก็หมายถึง ข้อมูล 1 ชุดข้อมูล (เช่น คน 1 คน, สิ่งของ 1 สิ่ง หรือวัตถุ 1 วัตถุ เป็นต้น) ระเบียน 1 ระเบียน จะประกอบไปด้วยเขตข้อมูล จำนวนกี่เขตข้อมูลก็ได้ แล้วแต่ว่าข้อมูลกี่เขตข้อมูลจึงจะสามารถรวมกันเป็นข้อมูล 1 ชุดได้ (ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบว่าจะจัดเก็บข้อมูลอะไรบ้างในระเบียนข้อมูลนั้นๆ)


--------------------------------------------------------------------------------

5. แฟ้มข้อมูล (File) / Entity
แฟ้มข้อมูล จะเป็นส่วนที่รวบรวมเอาระเบียนข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกัน มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา ก็จะรวบรวมเอาระเบียนข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของนักศึกษาแต่ละคนที่มีอยู่ทั้งหมดมารวมเข้าไว้ด้วยกัน


ประเภทของแฟ้มข้อมูล
แฟ้มข้อมูลที่จะนำมาใช้ในการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ อาจมีเพียงแฟ้มข้อมูลเดียวหรือหลายแฟ้มข้อมูลก็ได้ และแต่ละข้อมูล สามารถนำมาแก้ไขตัดต่อและเรียงลำดับของข้อมูลใหม่ได้ในเวลาต่างกัน ซึ่งประเภทของแฟ้มข้อมูลสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ

1. แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แฟ้มข้อมูลถาวร (Permanent File) แฟ้มข้อมูลประเภทนี้จะถูกเก็บไว้อย่างถาวร เมื่อนำมาประมวลผลแล้วจะเก็บไว้ใช้งานเป็นเวลานาน เพื่อที่จะนำมาใช้อ้างอิงภายหลังได้ และถูกนำมาใช้เสมอๆ ดังนั้น ข้อมูลต้องเป็นข้อมูลที่ทันสมัย (Up-To-Date) และที่สำคัญคือ ต้องตรงกับความเป็นจริง เช่น แฟ้มข้อมูลหลักของสินค้าคงคลัง (Inventory file) ซึ่งจะนำมาใช้ในการประมวลผลตลอดเวลา
2. แฟ้มข้อมูลรายการ (Transaction File) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แฟ้มข้อมูลชั่วคราว (Temporary File) แฟ้มข้อมูลประเภทนี้มีลักษณะตรงกันข้ามกับแฟ้มข้อมูลหลัก เพราะเป็นแฟ้มข้อมูลที่รวบรวมข้อมูลบางส่วนที่มีความสัมพันธ์กับแฟ้มข้อมูลหลัก ซึ่งแฟ้มข้อมูลรายการจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถแก้ไขแฟ้มข้อมูลหลักบางรายการได้ เช่น การเพิ่มข้อมูล, การลบข้อมูลบางระเบียน หรือจะเป็นการแก้ไขข้อมูลในเขตข้อมูลของระเบียนต่างๆ เป็นต้น





แฟ้มข้อมูลประเภทนี้อาจส่งเข้าไปประมวลผลควบคู่กับแฟ้มข้อมูลหลักก็ได้ เมื่อทำการประมวลผลเสร็จเรียบร้อย ผลลัพธ์หรือข้อมูลในแฟ้มรายการจะเก็บไว้หรือไม่ก็ได้ (ขึ้นอยู่กับว่าจะใช้ผลลัพธ์เป็นข้อมูลต่อหรือไม่) เพราะเป็นเพียงแฟ้มข้อมูลที่ใช้ชั่วคราว หรือใช้เฉพาะวันของงานที่ต้องการ โดยส่วนมากแล้วแฟ้มข้อมูลชั่วคราวจะเก็บข้อมูลที่ใช้ในธุรกิจประจำวัน (แต่จะไม่ใช้ในการตัดสินใจ) เช่น งานบัญชี, สินค้าคงคลัง, ใบสั่งซื้อสินค้า และการสำรองเที่ยวบิน เป็นต้น







วิธีการจัดแฟ้มข้อมูล (File Organization Method)
การจัดแฟ้มข้อมูลให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท จึงต้องมีการจัดแฟ้มข้อมูลในแบบต่างๆ กัน สามารถจัดได้เป็นประเภทดังต่อไปนี้
1. การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ (Sequential File Organization)
เป็นแฟ้มที่มีลักษณะการเรียกใช้งานไม่ว่าจะอ่านหรือเขียนลงในแฟ้มนั้น จะเรียงตามลำดับกันไปตั้งแต่ระเบียนแรกไปจนถึงระเบียนสุดท้าย (หรือระเบียนที่ต้องการใช้งาน) ของแฟ้มข้อมูล ซึ่งการเรียงนี้จะเรียงตามเขตข้อมูลใดเขตข้อมูลหนึ่งของระเบียนก็ได้ หรืออาจจะเรียงตามลำดับการเก็บบันทึกระเบียน (ระเบียนไหนมาก่อนก็บันทึกลงไปก่อน) เช่น แฟ้ม ข้อมูลพนักงาน อาจจะเก็บบันทึกเรียงตามเลขประจำตัว หรือเรียงตามอัตราเงินเดือน หรือเขตข้อมูลอื่นใด ในระเบียน ก็ได้
สื่อบันทึกข้อมูลที่ใช้ : จำเป็นต้องใช้สื่อบันทึกข้อมูลที่มีการโอนย้ายข้อมูลแบบเรียงลำดับได้ ตัวกลางที่นิยมใช้มากที่สุดคือ เทปแม่เหล็ก (Magnetic tape) เพราะราคาถูก และสามารถเข้าถึงข้อมูลในแบบลำดับได้เร็วกว่าสื่อบันทึกแบบอื่น ๆ
การใช้งาน : การจัดแฟ้มข้อมูลชนิดนี้เหมาะสมกับงานที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นจำนวนมาก หรืองานที่มีการกำหนดระยะเวลาของการประมวลผลไว้แล้วว่าจะทำการประมวลผลทุกรอบระยะเวลาเท่าใด


ข้อดีของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ ข้อเสียของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ
มีความง่ายในการเรียกใช้งาน ทำให้สะดวก เสียค่าใช้จ่ายน้อย
สามารถใช้กับงานที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจำนวนมากได้ดี
การทำงานจะช้าหากต้องการเข้าถึงระเบียนแบบเจาะจงระเบียน (แบบตรง)
ข้อมูลที่จะใช้ต้องถูกเรียงลำดับเสียก่อน


2. การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม หรือ ตรง (Random or Direct File Organization)
คุณลักษณะพิเศษของการจัดแฟ้มข้อมูลชนิดนี้คือ สามารถค้นหา หรือเรียกใช้ข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องเรียงลำดับของข้อมูล การทำงานจะสามารถรู้ตำแหน่งของระเบียนได้โดยอาศัยเขตข้อมูลที่ใช้เป็นเขตข้อมูลในการอ้างถึงระเบียน (Primary key) เช่น ถ้าเราต้องการข้อมูลที่ 20 ของแฟ้มข้อมูล ก็สามารถที่จะเรียกใช้ข้อมูลได้เลยโดยไม่ต้องเริ่มต้นจากข้อมูลที่ 1 ก่อน

สื่อบันทึกข้อมูลที่ใช้ : ต้องสื่อบันทึกข้อมูลที่มีการโอนย้ายข้อมูลแบบโดยตรง เช่น จากแม่เหล็ก (Magnetic disk) และดรัมแม่เหล็ก (Magnetic drum) เป็นต้น
การใช้งาน : การจัดแฟ้มข้อมูลชนิดนี้เหมาะสมกับงานที่มีการค้นหาหรือเรียกใช้ข้อมูลแบบระบุระเบียนลงไปเลยว่าต้องการใช้งานข้อมูลระเบียนใด (เข้าถึงข้อมูลที่ต้องการโดยตรง) และจะเหมาะกับงานที่มีการประมวลผลข้อมูลครั้งไม่มาก หรือเหมาะกับงานที่มีกำหนดระยะเวลาของการประมวลผลไม่แน่นอน

ข้อดีของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบตรง ข้อเสียของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบตรง
สามารถทำงานได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องเสียเวลาเรียงข้อมูลก่อน
การทำงานเหมาะกับการประมวลผลแบบ On-line
การเขียนโปรแกรมเรียกใช้สำหรับวิธีการจัดการแฟ้ม ข้อมูลชนิดนี้ ค่อนข้างซับซ้อนมากกว่าการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ



1. การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี (Indexed Sequential File Organization)
การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบนี้มีลักษณะการทำงานผสมผสานกันระหว่างการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ และแบบสุ่มเข้าด้วยกัน การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบนี้จะเป็นแบบเรียงลำดับตามเขตข้อมูลที่ทำหน้าที่เป็นเขตข้อมูลในการอ้างถึงระเบียน (Primary key) เช่นเดียวกันกับการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ แต่จัดเก็บไว้ในสื่อบันทึกที่มีการโอนย้ายข้อมูลแบบที่มีการโอนย้ายข้อมูลได้โดยตรง เพื่อให้การค้นหาหรือเรียกใช้ข้อมูลทำได้รวดเร็วเช่นเดียวกับการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบตรง โดยโปรแกรมควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์จะทำการสร้างตารางดัชนี (Index Table) และเก็บตารางดัชนีไว้ในสื่อบันทึกข้อมูลนั้นด้วย เพื่อใช้สำหรับตอนค้นหาข้อมูลภายหลัง การทำงานของแฟ้มข้อมูลแบบนี้คล้ายกับการเปิดหาชื่อในสมุดโทรศัพท์ จะเรียงตามอักษร และไล่ตามอักษรหาชื่อที่ต้องการ

สื่อบันทึกข้อมูลที่ใช้ : ใช้สื่อบันทึกข้อมูลที่มีการโอนย้ายข้อมูลแบบโดยตรง เช่น จากแม่เหล็ก (Magnetic disk) และดรัมแม่เหล็ก (Magnetic drum) เป็นต้น
การใช้งาน : เหมาะสมกับการใช้แฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ และสามารถใช้ Primary key ได้ตามต้องการ


ข้อดีของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี ข้อเสียของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี
สามารถทำการประมวลผลในลักษณะ Sequential และ Random ได้
การค้นหาข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลหลักทำได้รวดเร็ว
การทำงานเหมาะกับการประมวลผลแบบ On-line
ราคาอุปกรณ์แพง เมื่อเทียบกับเทปแม่เหล็ก
เปลืองเนื้อที่สื่อบันทึกในการเก็บตารางดัชนีต่างๆ


ปัญหาของการจัดการข้อมูลโดยใช้ระบบแฟ้มข้อมูล (File)

ข้อมูลเกิดความซ้ำซ้อน (Data redundancy)
ลำบากต่อการแก้ไข (Updating difficulties)
การผูกติดกับข้อมูล (Data dependence)
การกระจัดกระจายของข้อมูล (Data dispersion)
การไม่สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูล (Underutilization data)

--------------------------------------------------------------------------------

6.ฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูลจะเป็นส่วนที่ใช้รวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยการรวบรวมข้อมูลนี้ จะอยู่ภายใต้หัวเรื่องหรือจุดประสงค์เดียวกัน หรือเป็นข้อมูลที่รวบรวมไว้ใช้ในการตอบคำถามหรือตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน (ภายใต้วัตถุประสงค์ของฐานข้อมูล)








ภาพตัวอย่างฐานข้อมูล

ตัวอย่าง ของ Entity กับ Attribute



ตัวอย่าง ของ Record กับ Attribute

//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html

1.2 ประเภทการจัดระเบียนของแฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ
การจัดระบบแฟ้มข้อมูลคือ เทคนิคทีใช้แทนและจัดเก็บระเบียนในแฟ้มข้อมูล จุดประสงค์หลักของการจัดระบบแฟ้มข้อมูลคือการตระเตรียมเส้นทางการเข้าถึง (access path) ระบียนระหว่างปฏิบ้ติการเรียกใช้และปรับปรุงข้อมูล ระบบแฟ้มข้อมูลต่างชนิดจะให้เส้นทางเข้าถึงข้อมูลที่แตกต่างกัน ในระบบฐานข้อมูล เมื่อผู้ใช้ส่งการสอบถามข้อมูล (query)ไปยังระบบฐานข้อมูลเพื่อที่จะต้องการข้อมูลที่ต้องการ ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทำการนำระเบียนข้อมูลเชิงตรรกไปทาบตรงกับระเบียนข้อมูลเชิงกายภาพ และดึงข้อมูลเชิงกายภาพนั้นไปเก็บไว้ในบัฟเฟอร์ของระบบการจัดการฐานข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ

ระเบียนเชิงกายภาพ (physical record) คือระเบียนที่ถูกพิจารณาถึงลักษณะการเก็บในสื่อบันทึกข้อมูล เช่นพิจารณาจากการอ่าน-บันทึกข้อมูลแต่ละครั้ง ซึ่งเท่ากับ 1 หน่วยของสื่อบันทึกข้อมูล ดังนั้นระเบียนเชิงกายภาพคือ 1 หน่วยของสื่อบันทึกข้อมูลโดยมีขนาดเท่ากับสื่อชนิดนั้นๆ เช่น 128 ตัวอักษรสำหรับข้อมูลบนจานแม่เหล็ก 1 เซกเตอร์ ระเบียนเชิงกายภาพ 1 หน่วยอาจประกอบด้วยระเบียนเชิงตรรก 1 หรือหลายๆระเบียน ในทางตรงกันข้ามระเบียนเชิงตรรก 1 ระเบียนอาจมีขนาดใหญ่และต้องเก็บในหลายๆหน่วยของระเบียนเชิงกายภาพ ระเบียนเชิงกายภาพที่ประกอบด้วยหลายๆระเบียนเรียกว่า บล็อก (block) และเรียกระเบียนเชิงตรรกที่กระจายอยู่หลายๆหน่วยเก็บข้อมูลว่า spanned record ระเบียนชนิดนี้ต้องทำ I/O operation มากกว่า 1 ครั้ง

//sot.swu.ac.th/cp342/lesson09/ms2t2.htm
. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)

อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล


https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=numpuang&date=11-06-2009&group=8&gblog=9



โดย: สุจิตรา มหาฤทธิ์ 51040305111 สาขาภาษาอังกฤษธุรกิจ หมู่ 01 จันทร์บ่าย IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 30 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:13:47 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ - บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น

- ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น

- ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น

- เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด

- ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น

- ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น


1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ 1. โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)
อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์

2. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)
อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล



โดย: นายนิติธรรม พฤหัส เช้า หมู่ 08 IP: 1.1.1.4, 202.29.5.62 วันที่: 30 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:08:01 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด


บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

แฟ้มข้อมูล(file)
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


ฐานข้อมูล(database)
คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูล






ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html



โดย: นางสาวอังสุมารินทร์ ลุนนิมิตร (ม.15 ศ. เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:18:59 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ โครงสร้างของข้อมูล
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส
2. บิท (Bit : Binary Digit)คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1
3. ไบต์ (Byte) คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์
4. อักขระ (Character) คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น
5. คำ (Word) คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย
6. เขตข้อมูล (Field)คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง
7. ระเบียน (Record)คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์
8. แฟ้มข้อมูลคือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกันและสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่นแฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน
นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ
เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด
แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น
บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้นแอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)
บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)

ที่มา:
www.thaigoodview.com/library/.../lopburi/.../sec01p01.html

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)
อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์
โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)
อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล

ที่มา: //www..stkc.go.th/stportal.php?app=stportalContent.php


โดย: นางสาวสุภาพร รัตนา 50240210102 วท.บ.สาธารณสุขศาสตร์ IP: 114.128.129.204 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:11:31:03 น.  

 
1.1ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบต
(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึงหน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

ที่มา:
//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


1.2 โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ อย่างกันอย่างไร
ตอบ
โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical data structure)
เป็นโครงสร้างที่กำหนดจากวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่างๆ เช่น เนื้อที่สำหรับจัดเก็บ ตำแหน่งในการจัดเก็บฐานข้อมูล เป็นต้น
โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical data structure)
เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical data model)
นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบของโครงสร้างต้นไม้ (tree structure)
มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูก คือ พ่อ (parent) 1 คนมีลูก (child) ได้หลายคน หรือแบบพ่อคนเดียวมีลูก 1 คนแต่ลูกมีพ่อได้คนเดียว
ลักษณะเด่นคือ มีความซับซ้อนน้อย เข้าใจง่าย ค่าใช้จ่ายไม่สูง ป้องกันความลับของข้อมูลได้ดี เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นระดับและเรียงลำดับต่อเนื่อง
ข้อจำกัด คือ ไม่สามารถรองรับความสัมพันธ์ของข้อมูลแบบลูกมีพ่อได้หลายคนได้ มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากและมีความคล่องตัวน้อยกว่าโครงสร้างแบบอื่น เพราะเรียกใช้ข้อมูลต้องผ่านทางต้นกำเนิดเสมอ ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลซึ่งปรากฏในระดับล่าง ๆ แล้วจะต้องค้นหาทั้งแฟ้ม
ที่มา:
//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


โดย: นายอรรคพล วิทิยา เทคโนผลิตพืชอังคารเช้าหมู่22 IP: 125.26.167.27 วันที่: 1 สิงหาคม 2552 เวลา:19:15:57 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ 1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึงหน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

ที่มา:
//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical data structure)
เป็นโครงสร้างที่กำหนดจากวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่างๆ เช่น เนื้อที่สำหรับจัดเก็บ ตำแหน่งในการจัดเก็บฐานข้อมูล เป็นต้น
โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical data structure)
เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical data model)
นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบของโครงสร้างต้นไม้ (tree structure)
มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูก คือ พ่อ (parent) 1 คนมีลูก (child) ได้หลายคน หรือแบบพ่อคนเดียวมีลูก 1 คนแต่ลูกมีพ่อได้คนเดียว
ลักษณะเด่นคือ มีความซับซ้อนน้อย เข้าใจง่าย ค่าใช้จ่ายไม่สูง ป้องกันความลับของข้อมูลได้ดี เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นระดับและเรียงลำดับต่อเนื่อง
ข้อจำกัด คือ ไม่สามารถรองรับความสัมพันธ์ของข้อมูลแบบลูกมีพ่อได้หลายคนได้ มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากและมีความคล่องตัวน้อยกว่าโครงสร้างแบบอื่น เพราะเรียกใช้ข้อมูลต้องผ่านทางต้นกำเนิดเสมอ ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลซึ่งปรากฏในระดับล่าง ๆ แล้วจะต้องค้นหาทั้งแฟ้ม
ที่มา:
//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm






โดย: นางสาวดวงเนตร เรืองเดช 50240210101 วท.บ.สาธารณสุขศาสตร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (4000104) หมู่ 01 (นักศึกษารูปแบบพิเศษ วันพฤหัสบดี 17.00 - 21.00 น. IP: 118.174.116.229 วันที่: 4 สิงหาคม 2552 เวลา:9:47:30 น.  

 
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)

//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html

สมาชิกในกลุ่มนาย ฤทธิเนตร ปิงวัง รหัส 5062170014

น.ส.ณัฏฐภรณ์ สัดด์ศิริ รหัส 5062110047

น.ส.ศรีประไพ โคธิเสน รหัส 5062110001
สมัคสมาชิกUsername

Password

Remember me

Lost Password?
No account yet? Register
สมาชิก Onlineค้นหาข้อมูลในเว็ปไซต์ แบบจำลองข้อมูลเชิงตรรกะ
การแบ่งชนิดของ(Logical Structure) มีทั้งหมด 4 ชนิดดังต่อไปนี้

1. โครงสร้างแบบลำดับ (List Structure) เป็นฐานข้อมูลที่เรคอร์ดในแฟ้มข้อมูลหนึ่งเชื่อมโยงกันหรือ เชื่อมกับแฟ้มข้อมูลอื่นๆ โดยอาศัยตัวชี้ (Pointer) เขื่อมโยง

2. โครงสร้างแบบลำดับขั้น (Hierarchical Data Structure) เป็นฐานข้อมูลที่ฟิลด์ต่างๆแบ่งเป็นลำดับขั้น (Level) เหมือนกับต้นไม้ในการค้นหา ข้อมูลจะเริ่มจากฟิลด์ชั้นบนสุด โดยอาศัยตัวชี้ (Pointer) หรือรหัสที่เครื่องหรือระบบสามารถโยงไปหาฟิลด์ชั้นอื่นๆได้

3. โครงสร้างแบบเครือข่าย (Network Structure) เป็นฐานข้อมูลที่ให้ฟิลด์ในลำดับขั้นต่างๆ เชื่อมโยงกันหมด ทำให้การสืบค้นข้อมูลรวดเร็วมาก แต่ต้องการหน่วยความจำภายในเครื่องคอมพิวเตอร์มีการประมวลผลได้เร็ว

4. โครงสร้างแบบสัมพันธ์ (Relational Structure) เป็นชนิดของฐานข้อมูลที่ฐานข้อมูลส่วนใหญ่นิยมใช้ โดยข้อมูลจะถูกเก็บในลักษณะแบบตาราง 2 มิติ ซึ่งมีความสัมพันธ์ในเชิงแถว (Row) และ คอลัมน์ (Column) แต่ละแถวคือแต่ละเรคอร์ด (Record) แต่ละคอลัมน์ (Column) จะเป็น ฟิลด์ (Field) ที่มีชื่อกำกับบอก เป็นฐานข้อมูลที่นิยมสร้างมาก

ในหนังสือเล่มนี้จะเน้นการสร้างฐานข้อมูลแบบโครงสร้างแบบสัมพันธ์เท่านั้น ดังนั้นต่อไปเมื่ออ้างถึงฐานข้อมูลจะหมายถึง ฐานข้อมูลแบบโครงสร้างแบบสัมพันธ์

คุณสมบัติของฐานข้อมูล

คุณสมบัติที่ฐานข้อมูลควรมี มีอยู่ 3 ประการ คือ

1. Data definition เป็นการนิยามโครงสร้างของฐานข้อมูล ว่ามีข้อมูลใดเก็บในรูปแบบไหน เช่น เป็นข้อมูลแบบตัวเลข เป็นข้อมูลแบบตัวหนังสือ หรือเป็นข้อมูลแบบวันที่

2. เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล ไม่ให้เก็บข้อมูลที่เหมือนกันไว้ในหลายๆที่

3. Data Control การควบคุมการใช้งานฐานข้อมูล เช่น มีมาตราการรักษาความปลอดภัย เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่มีสิทธิ์ใช้งานเข้ามาใช้งาน

ข้อดีของการใช้ฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลได้รับความนิยมในการใช้งานมาก เนื่องจากมีข้อดีดังต่อไปนี้
1. เพื่อให้การค้นหาข้อมูลที่มีจำนวนมาก และมีความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ซับซ้อน ได้ รวดเร็วขึ้น
2. เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล ไม่ให้เก็บข้อมูลที่เหมือนกันไว้ในหลายๆที่
3. ป้องกันการเก็บข้อมูลที่ขัดแย้งกัน สืบเนื่องมาจากข้อ 2. ถ้าเก็บข้อมูลที่เหมือนกันไว้หลายๆแห่งเมื่อมีการแก้ไขข้อมูลนั้นๆ ถ้าเก็บข้อมูลนั้นจนครบทุกแห่งอาจมีปัญหาว่าข้อมูลบางแห่งไม่ได้แก้ทำให้ข้อมูลขัดแย้งกับข้อมูลที่ได้แก้ไขไปแล้ว
4.เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล จะมีการตรวจการเข้าใช้งานว่าเป็นบุคคลที่มีสิทธิ์เข้าใช้ฐานข้อมูลหรือไม่

รูป ตัวอย่างของส่วนย่อยของข้อมูลเชิงตรรกะในระบบสารสนเทศ หมายเหตุ ตัวอย่างของความเกี่ยวพันระหว่างเขตข้อมูล ระเบียน ข้อมูล แฟ้ม และฐานข้อมูล



รูป การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจัดการฐานข้อมูล 4 ประเภทหลัก คือ การพัฒนาฐานข้อมูล การสืบค้นฐานข้อมูล การบำรุงรักษาฐานข้อมูล และการพัฒนาระบบงาน

ฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์ (Analytical Database) เก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้ อาจเรียกว่า ฐานข้อมูลเชิงจัดการ (Management Database) ฐานข้อมูลสารสนเทศ (Information Database) หรือฐานข้อมูลหลายมิติ (Multidimensional Database) ซึ่งเป็นฐานข้อมูลที่เข้าถึงโดยระบบประมวลผลเชิงวิเคราะห์แบบต่อตรง (Online Analytical Processing : OLAP)



รูป ตัวอย่างประเภทหลักๆ ของฐานข้อมูลที่ใช้โดยองค์กรและผู้ใช้ โดยใช้ฐานข้อมูลแบบกระจายบนอินทราเน็ต ผ่านเครือข่ายเพื่อเข้าถึงฐานข้อมูลผู้ใช้ คลังข้อมูล ฐานข้อมูลภายนอกบนอินทราเน็ตและบริการต่อตรงหรือออนไลน์ ฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการขององค์กร และฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์ของข้อมูลองค์กรที่วิกฤต



รูป คลังข้อมูลและเซตย่อยของตลาดข้อมูล (Data Mart Subset) ที่เก็บข้อมูลที่ถอดมาจากฐานข้อปฏิบัติการต่างๆ เพื่อการวิเคราะห์ทางธุรกิจ การวิจัยตลาด การสนับสนุนการตัดสินใจ และโปรแกรมประยุกต์เหมืองข้อมูล (Data Mining) ข้อมูลจากโปรแกรมประยุกต์ ได้แก่ การควบคุมการผลิต การวางแผนความต้องการวัตถุดิบ (MRP ) การควบคุมสินค้าคงคลัง การจัดการเรื่องอะไหล่ การกระจายสินค้า การส่งสินค้า วัตถุดิบ การควบคุมคำสั่งซื้อ และการสั่งซื้อสินค้า ข้อมูลด้านตลาดข้อมูล ได้แก่ การเงิน การตลาด การขาย บัญชี การจัดทำรายงาน วิศวกรรม ประกันภัย และทรัพยากรมนุษย์



รูป ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเชิงเว็บ รวมโปรแกรมค้นดูเว็บ เครื่องแม่ข่าย และฐานข้อมูลสื่อหลายมิติ

โครงสร้างเชิงหลายมิติ (Multidimensional Structure) มีความแตกต่างจากแบบจำลองเชิงสัมพันธ์คือใช้โครงสร้างเชิงหลายมิติเพื่อจัดระเบียบข้อมูลและแสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ลองนึกถึงโครงสร้างเชิงหลายมิติเป็นสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ภายในสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ของข้อมูล แต่ละด้านของลูกบาศก์ถูกพิจารณาเป็นหนึ่งมิติของข้อมูล รูป ตัวอย่างที่แสดงแต่ละมิติที่สามารถแสดงกลุ่มที่แตกต่างกัน เช่น ประเภทผลิตภัณฑ์ เขตการขาย ช่องทางการจำหน่าย และเวลา

การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ (Logic programming) เป็นแนวทางการเขียนโปรแกรม (programming paradigm) แบบหนึ่ง โดยกำหนดเซตคุณลักษณะ (attribute) ของคำตอบ แทนที่จะกำหนดขั้นตอนที่ทำให้ได้คำตอบ ภาษาโปรแกรมสำหรับการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะที่ใช้อย่างกว้างขวาง คือ ภาษาโปรล็อก (Prolog) อีกภาษาหนึ่งที่ใช้ในเชิงการค้า คือ ภาษาเมอร์คิวรี (Mercury) การเขียนโปรแกรมแบบนี้มีหลักการคือ ความจริง + กฎ = ผลลัพธ์ หลักการอื่นที่แตกต่างให้ดู การเขียนโปรแกรมตรรกะเชิงอุปนัย (Inductive logic programming)

จุดประสงค์ของการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ คือ การนำตรรกศาสตร์รูปนัย (formal logic) มาใช้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ นักคณิตศาสตร์และนักปรัชญาพบว่าตรรกะเป็นเครื่องมือที่ดีในการขยายความเนื้อหาของทฤษฎี ปัญหาหลายๆ ปัญหาสามารถแสดงเป็นทฤษฎีได้อย่างเป็นธรรมชาติ การกล่าวว่าปัญหาต้องการวิธีการแก้ไขก็เหมือนกับการถามว่าสมมติฐานใหม่สอดคล้องกับทฤษฎีที่มีอยู่แล้วหรือไม่ ตรรกศาสตร์กำหนดหนทางเพื่อพิสูจน์ว่าคำถามนั้นจริงหรือเท็จ และกระบวนการสร้างการพิสูจน์เป็นสิ่งที่รู้กันอย่างดีแล้ว ดังนั้นตรรกศาสตร์จึงเป็นทางที่เชื่อถือได้ในการหาคำตอบ และระบบการโปรแกรมเชิงตรรกะทำให้กระบวนการเหล่านี้เป็นไปอย่างอัตโนมัติ การพัฒนาการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะนั้นได้รับอิทธิพลอย่างสำคัญจากปัญญาประดิษฐ์

//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B0




โดย: นายนารายณ์ แก้วภักดี ม.15 ศ. เช้า IP: 124.157.129.16 วันที่: 10 สิงหาคม 2552 เวลา:17:11:12 น.  

 
ตรวจแล้ว (ครั้งที่ 1)


โดย: อ.น้ำผึ้ง (neaup ) วันที่: 11 สิงหาคม 2552 เวลา:10:38:31 น.  

 

1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ - บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น

- ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น

- ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น

- เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด

- ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น

- ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น


1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ 1. โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)
อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์

2. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)
อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล

ที่มา:www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html


โดย: 52040263105 ชื่อ.น.ส.อรวรรณ ไชยยงค์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หมู่22 (อังคารเช้า) IP: 124.157.149.216 วันที่: 12 สิงหาคม 2552 เวลา:13:14:52 น.  

 
1.1(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm
1.2โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical Structure) แสดงแนวคิดในด้านความสัมพันธ์ของข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล
โครงสร้างเชิงลำดับขั้น (Hierarchical Structure)
โครงสร้างข่ายงาน (Network Structure)
โครงสร้างเชิงสัมพันธ์ (Relational Structure)
โครงสร้างเชิงวัตถุ (Object-Oriented Structure)
โครงสร้างหลายมิติ (Multidimensional Structure)
โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Structure) แสดงแนวคิดในด้านการจัดเก็บข้อมูลทางกายภาพ เช่น การจัดเก็บข้อมูลบนหน่วยจานแม่เหล็ก เป็นต้น
//www.google.co.th/search?hl=th&q=%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E+&meta=
โดยน.สอภิญญา อุ้ยปะโค 52041278104 ม.15 ศ.เช้า


โดย: น.สอภิญญา อุ้ยปะโค IP: 117.47.128.146 วันที่: 15 สิงหาคม 2552 เวลา:14:57:07 น.  

 
โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่
ค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)
ที่มา
//sot.swu.ac.th/cp342/lesson01/ms3t2.htm
//pil2ate.site50.net/index.php?option=com_content&task=view&id=17&Itemid=38



โดย: นางสาวคนึงนิจ ผิวบาง หมู่ที่22 IP: 124.157.148.178 วันที่: 17 สิงหาคม 2552 เวลา:19:25:15 น.  

 

1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน

ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
1. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

2. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บ

รวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี(indexed)ในระดับภายในหรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว


//dbcorner.site88.net/page2_2.html




โดย: นางสาว นงนุช นาเจริญ 52040258129 หมู่22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.182, 58.147.7.66 วันที่: 20 สิงหาคม 2552 เวลา:19:20:17 น.  

 

1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน

ที่มา//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)
อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์
2. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)
อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล
ที่มา
//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5




โดย: นางสาว นฤมล หมู่หาญ 52040263122 หมู่22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.182, 58.147.7.66 วันที่: 20 สิงหาคม 2552 เวลา:19:32:53 น.  

 
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)

//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html

สมาชิกในกลุ่มนาย ฤทธิเนตร ปิงวัง รหัส 5062170014

น.ส.ณัฏฐภรณ์ สัดด์ศิริ รหัส 5062110047

น.ส.ศรีประไพ โคธิเสน รหัส 5062110001
สมัคสมาชิกUsername

Password

Remember me

Lost Password?
No account yet? Register
สมาชิก Onlineค้นหาข้อมูลในเว็ปไซต์ แบบจำลองข้อมูลเชิงตรรกะ
การแบ่งชนิดของ(Logical Structure) มีทั้งหมด 4 ชนิดดังต่อไปนี้

1. โครงสร้างแบบลำดับ (List Structure) เป็นฐานข้อมูลที่เรคอร์ดในแฟ้มข้อมูลหนึ่งเชื่อมโยงกันหรือ เชื่อมกับแฟ้มข้อมูลอื่นๆ โดยอาศัยตัวชี้ (Pointer) เขื่อมโยง

2. โครงสร้างแบบลำดับขั้น (Hierarchical Data Structure) เป็นฐานข้อมูลที่ฟิลด์ต่างๆแบ่งเป็นลำดับขั้น (Level) เหมือนกับต้นไม้ในการค้นหา ข้อมูลจะเริ่มจากฟิลด์ชั้นบนสุด โดยอาศัยตัวชี้ (Pointer) หรือรหัสที่เครื่องหรือระบบสามารถโยงไปหาฟิลด์ชั้นอื่นๆได้

3. โครงสร้างแบบเครือข่าย (Network Structure) เป็นฐานข้อมูลที่ให้ฟิลด์ในลำดับขั้นต่างๆ เชื่อมโยงกันหมด ทำให้การสืบค้นข้อมูลรวดเร็วมาก แต่ต้องการหน่วยความจำภายในเครื่องคอมพิวเตอร์มีการประมวลผลได้เร็ว

4. โครงสร้างแบบสัมพันธ์ (Relational Structure) เป็นชนิดของฐานข้อมูลที่ฐานข้อมูลส่วนใหญ่นิยมใช้ โดยข้อมูลจะถูกเก็บในลักษณะแบบตาราง 2 มิติ ซึ่งมีความสัมพันธ์ในเชิงแถว (Row) และ คอลัมน์ (Column) แต่ละแถวคือแต่ละเรคอร์ด (Record) แต่ละคอลัมน์ (Column) จะเป็น ฟิลด์ (Field) ที่มีชื่อกำกับบอก เป็นฐานข้อมูลที่นิยมสร้างมาก

ในหนังสือเล่มนี้จะเน้นการสร้างฐานข้อมูลแบบโครงสร้างแบบสัมพันธ์เท่านั้น ดังนั้นต่อไปเมื่ออ้างถึงฐานข้อมูลจะหมายถึง ฐานข้อมูลแบบโครงสร้างแบบสัมพันธ์

คุณสมบัติของฐานข้อมูล

คุณสมบัติที่ฐานข้อมูลควรมี มีอยู่ 3 ประการ คือ

1. Data definition เป็นการนิยามโครงสร้างของฐานข้อมูล ว่ามีข้อมูลใดเก็บในรูปแบบไหน เช่น เป็นข้อมูลแบบตัวเลข เป็นข้อมูลแบบตัวหนังสือ หรือเป็นข้อมูลแบบวันที่

2. เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล ไม่ให้เก็บข้อมูลที่เหมือนกันไว้ในหลายๆที่

3. Data Control การควบคุมการใช้งานฐานข้อมูล เช่น มีมาตราการรักษาความปลอดภัย เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่มีสิทธิ์ใช้งานเข้ามาใช้งาน

ข้อดีของการใช้ฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลได้รับความนิยมในการใช้งานมาก เนื่องจากมีข้อดีดังต่อไปนี้
1. เพื่อให้การค้นหาข้อมูลที่มีจำนวนมาก และมีความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ซับซ้อน ได้ รวดเร็วขึ้น
2. เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล ไม่ให้เก็บข้อมูลที่เหมือนกันไว้ในหลายๆที่
3. ป้องกันการเก็บข้อมูลที่ขัดแย้งกัน สืบเนื่องมาจากข้อ 2. ถ้าเก็บข้อมูลที่เหมือนกันไว้หลายๆแห่งเมื่อมีการแก้ไขข้อมูลนั้นๆ ถ้าเก็บข้อมูลนั้นจนครบทุกแห่งอาจมีปัญหาว่าข้อมูลบางแห่งไม่ได้แก้ทำให้ข้อมูลขัดแย้งกับข้อมูลที่ได้แก้ไขไปแล้ว
4.เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล จะมีการตรวจการเข้าใช้งานว่าเป็นบุคคลที่มีสิทธิ์เข้าใช้ฐานข้อมูลหรือไม่

รูป ตัวอย่างของส่วนย่อยของข้อมูลเชิงตรรกะในระบบสารสนเทศ หมายเหตุ ตัวอย่างของความเกี่ยวพันระหว่างเขตข้อมูล ระเบียน ข้อมูล แฟ้ม และฐานข้อมูล



รูป การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจัดการฐานข้อมูล 4 ประเภทหลัก คือ การพัฒนาฐานข้อมูล การสืบค้นฐานข้อมูล การบำรุงรักษาฐานข้อมูล และการพัฒนาระบบงาน

ฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์ (Analytical Database) เก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้ อาจเรียกว่า ฐานข้อมูลเชิงจัดการ (Management Database) ฐานข้อมูลสารสนเทศ (Information Database) หรือฐานข้อมูลหลายมิติ (Multidimensional Database) ซึ่งเป็นฐานข้อมูลที่เข้าถึงโดยระบบประมวลผลเชิงวิเคราะห์แบบต่อตรง (Online Analytical Processing : OLAP)



รูป ตัวอย่างประเภทหลักๆ ของฐานข้อมูลที่ใช้โดยองค์กรและผู้ใช้ โดยใช้ฐานข้อมูลแบบกระจายบนอินทราเน็ต ผ่านเครือข่ายเพื่อเข้าถึงฐานข้อมูลผู้ใช้ คลังข้อมูล ฐานข้อมูลภายนอกบนอินทราเน็ตและบริการต่อตรงหรือออนไลน์ ฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการขององค์กร และฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์ของข้อมูลองค์กรที่วิกฤต



รูป คลังข้อมูลและเซตย่อยของตลาดข้อมูล (Data Mart Subset) ที่เก็บข้อมูลที่ถอดมาจากฐานข้อปฏิบัติการต่างๆ เพื่อการวิเคราะห์ทางธุรกิจ การวิจัยตลาด การสนับสนุนการตัดสินใจ และโปรแกรมประยุกต์เหมืองข้อมูล (Data Mining) ข้อมูลจากโปรแกรมประยุกต์ ได้แก่ การควบคุมการผลิต การวางแผนความต้องการวัตถุดิบ (MRP ) การควบคุมสินค้าคงคลัง การจัดการเรื่องอะไหล่ การกระจายสินค้า การส่งสินค้า วัตถุดิบ การควบคุมคำสั่งซื้อ และการสั่งซื้อสินค้า ข้อมูลด้านตลาดข้อมูล ได้แก่ การเงิน การตลาด การขาย บัญชี การจัดทำรายงาน วิศวกรรม ประกันภัย และทรัพยากรมนุษย์



รูป ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเชิงเว็บ รวมโปรแกรมค้นดูเว็บ เครื่องแม่ข่าย และฐานข้อมูลสื่อหลายมิติ

โครงสร้างเชิงหลายมิติ (Multidimensional Structure) มีความแตกต่างจากแบบจำลองเชิงสัมพันธ์คือใช้โครงสร้างเชิงหลายมิติเพื่อจัดระเบียบข้อมูลและแสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ลองนึกถึงโครงสร้างเชิงหลายมิติเป็นสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ภายในสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ของข้อมูล แต่ละด้านของลูกบาศก์ถูกพิจารณาเป็นหนึ่งมิติของข้อมูล รูป ตัวอย่างที่แสดงแต่ละมิติที่สามารถแสดงกลุ่มที่แตกต่างกัน เช่น ประเภทผลิตภัณฑ์ เขตการขาย ช่องทางการจำหน่าย และเวลา

การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ (Logic programming) เป็นแนวทางการเขียนโปรแกรม (programming paradigm) แบบหนึ่ง โดยกำหนดเซตคุณลักษณะ (attribute) ของคำตอบ แทนที่จะกำหนดขั้นตอนที่ทำให้ได้คำตอบ ภาษาโปรแกรมสำหรับการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะที่ใช้อย่างกว้างขวาง คือ ภาษาโปรล็อก (Prolog) อีกภาษาหนึ่งที่ใช้ในเชิงการค้า คือ ภาษาเมอร์คิวรี (Mercury) การเขียนโปรแกรมแบบนี้มีหลักการคือ ความจริง + กฎ = ผลลัพธ์ หลักการอื่นที่แตกต่างให้ดู การเขียนโปรแกรมตรรกะเชิงอุปนัย (Inductive logic programming)

จุดประสงค์ของการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ คือ การนำตรรกศาสตร์รูปนัย (formal logic) มาใช้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ นักคณิตศาสตร์และนักปรัชญาพบว่าตรรกะเป็นเครื่องมือที่ดีในการขยายความเนื้อหาของทฤษฎี ปัญหาหลายๆ ปัญหาสามารถแสดงเป็นทฤษฎีได้อย่างเป็นธรรมชาติ การกล่าวว่าปัญหาต้องการวิธีการแก้ไขก็เหมือนกับการถามว่าสมมติฐานใหม่สอดคล้องกับทฤษฎีที่มีอยู่แล้วหรือไม่ ตรรกศาสตร์กำหนดหนทางเพื่อพิสูจน์ว่าคำถามนั้นจริงหรือเท็จ และกระบวนการสร้างการพิสูจน์เป็นสิ่งที่รู้กันอย่างดีแล้ว ดังนั้นตรรกศาสตร์จึงเป็นทางที่เชื่อถือได้ในการหาคำตอบ และระบบการโปรแกรมเชิงตรรกะทำให้กระบวนการเหล่านี้เป็นไปอย่างอัตโนมัติ การพัฒนาการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะนั้นได้รับอิทธิพลอย่างสำคัญจากปัญญาประดิษฐ์

//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%81%


โดย: นางสาวสุจิตรา อินทสร้อย 52040258139 หมู่22 อังคารเช้า IP: 124.157.144.104 วันที่: 22 สิงหาคม 2552 เวลา:14:36:42 น.  

 
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)

//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html

สมาชิกในกลุ่มนาย ฤทธิเนตร ปิงวัง รหัส 5062170014

น.ส.ณัฏฐภรณ์ สัดด์ศิริ รหัส 5062110047

น.ส.ศรีประไพ โคธิเสน รหัส 5062110001
สมัคสมาชิกUsername

Password

Remember me

Lost Password?
No account yet? Register
สมาชิก Onlineค้นหาข้อมูลในเว็ปไซต์ แบบจำลองข้อมูลเชิงตรรกะ
การแบ่งชนิดของ(Logical Structure) มีทั้งหมด 4 ชนิดดังต่อไปนี้

1. โครงสร้างแบบลำดับ (List Structure) เป็นฐานข้อมูลที่เรคอร์ดในแฟ้มข้อมูลหนึ่งเชื่อมโยงกันหรือ เชื่อมกับแฟ้มข้อมูลอื่นๆ โดยอาศัยตัวชี้ (Pointer) เขื่อมโยง

2. โครงสร้างแบบลำดับขั้น (Hierarchical Data Structure) เป็นฐานข้อมูลที่ฟิลด์ต่างๆแบ่งเป็นลำดับขั้น (Level) เหมือนกับต้นไม้ในการค้นหา ข้อมูลจะเริ่มจากฟิลด์ชั้นบนสุด โดยอาศัยตัวชี้ (Pointer) หรือรหัสที่เครื่องหรือระบบสามารถโยงไปหาฟิลด์ชั้นอื่นๆได้

3. โครงสร้างแบบเครือข่าย (Network Structure) เป็นฐานข้อมูลที่ให้ฟิลด์ในลำดับขั้นต่างๆ เชื่อมโยงกันหมด ทำให้การสืบค้นข้อมูลรวดเร็วมาก แต่ต้องการหน่วยความจำภายในเครื่องคอมพิวเตอร์มีการประมวลผลได้เร็ว

4. โครงสร้างแบบสัมพันธ์ (Relational Structure) เป็นชนิดของฐานข้อมูลที่ฐานข้อมูลส่วนใหญ่นิยมใช้ โดยข้อมูลจะถูกเก็บในลักษณะแบบตาราง 2 มิติ ซึ่งมีความสัมพันธ์ในเชิงแถว (Row) และ คอลัมน์ (Column) แต่ละแถวคือแต่ละเรคอร์ด (Record) แต่ละคอลัมน์ (Column) จะเป็น ฟิลด์ (Field) ที่มีชื่อกำกับบอก เป็นฐานข้อมูลที่นิยมสร้างมาก

ในหนังสือเล่มนี้จะเน้นการสร้างฐานข้อมูลแบบโครงสร้างแบบสัมพันธ์เท่านั้น ดังนั้นต่อไปเมื่ออ้างถึงฐานข้อมูลจะหมายถึง ฐานข้อมูลแบบโครงสร้างแบบสัมพันธ์

คุณสมบัติของฐานข้อมูล

คุณสมบัติที่ฐานข้อมูลควรมี มีอยู่ 3 ประการ คือ

1. Data definition เป็นการนิยามโครงสร้างของฐานข้อมูล ว่ามีข้อมูลใดเก็บในรูปแบบไหน เช่น เป็นข้อมูลแบบตัวเลข เป็นข้อมูลแบบตัวหนังสือ หรือเป็นข้อมูลแบบวันที่

2. เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล ไม่ให้เก็บข้อมูลที่เหมือนกันไว้ในหลายๆที่

3. Data Control การควบคุมการใช้งานฐานข้อมูล เช่น มีมาตราการรักษาความปลอดภัย เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่มีสิทธิ์ใช้งานเข้ามาใช้งาน

ข้อดีของการใช้ฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลได้รับความนิยมในการใช้งานมาก เนื่องจากมีข้อดีดังต่อไปนี้
1. เพื่อให้การค้นหาข้อมูลที่มีจำนวนมาก และมีความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ซับซ้อน ได้ รวดเร็วขึ้น
2. เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล ไม่ให้เก็บข้อมูลที่เหมือนกันไว้ในหลายๆที่
3. ป้องกันการเก็บข้อมูลที่ขัดแย้งกัน สืบเนื่องมาจากข้อ 2. ถ้าเก็บข้อมูลที่เหมือนกันไว้หลายๆแห่งเมื่อมีการแก้ไขข้อมูลนั้นๆ ถ้าเก็บข้อมูลนั้นจนครบทุกแห่งอาจมีปัญหาว่าข้อมูลบางแห่งไม่ได้แก้ทำให้ข้อมูลขัดแย้งกับข้อมูลที่ได้แก้ไขไปแล้ว
4.เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล จะมีการตรวจการเข้าใช้งานว่าเป็นบุคคลที่มีสิทธิ์เข้าใช้ฐานข้อมูลหรือไม่

รูป ตัวอย่างของส่วนย่อยของข้อมูลเชิงตรรกะในระบบสารสนเทศ หมายเหตุ ตัวอย่างของความเกี่ยวพันระหว่างเขตข้อมูล ระเบียน ข้อมูล แฟ้ม และฐานข้อมูล



รูป การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจัดการฐานข้อมูล 4 ประเภทหลัก คือ การพัฒนาฐานข้อมูล การสืบค้นฐานข้อมูล การบำรุงรักษาฐานข้อมูล และการพัฒนาระบบงาน

ฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์ (Analytical Database) เก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้ อาจเรียกว่า ฐานข้อมูลเชิงจัดการ (Management Database) ฐานข้อมูลสารสนเทศ (Information Database) หรือฐานข้อมูลหลายมิติ (Multidimensional Database) ซึ่งเป็นฐานข้อมูลที่เข้าถึงโดยระบบประมวลผลเชิงวิเคราะห์แบบต่อตรง (Online Analytical Processing : OLAP)



รูป ตัวอย่างประเภทหลักๆ ของฐานข้อมูลที่ใช้โดยองค์กรและผู้ใช้ โดยใช้ฐานข้อมูลแบบกระจายบนอินทราเน็ต ผ่านเครือข่ายเพื่อเข้าถึงฐานข้อมูลผู้ใช้ คลังข้อมูล ฐานข้อมูลภายนอกบนอินทราเน็ตและบริการต่อตรงหรือออนไลน์ ฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการขององค์กร และฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์ของข้อมูลองค์กรที่วิกฤต



รูป คลังข้อมูลและเซตย่อยของตลาดข้อมูล (Data Mart Subset) ที่เก็บข้อมูลที่ถอดมาจากฐานข้อปฏิบัติการต่างๆ เพื่อการวิเคราะห์ทางธุรกิจ การวิจัยตลาด การสนับสนุนการตัดสินใจ และโปรแกรมประยุกต์เหมืองข้อมูล (Data Mining) ข้อมูลจากโปรแกรมประยุกต์ ได้แก่ การควบคุมการผลิต การวางแผนความต้องการวัตถุดิบ (MRP ) การควบคุมสินค้าคงคลัง การจัดการเรื่องอะไหล่ การกระจายสินค้า การส่งสินค้า วัตถุดิบ การควบคุมคำสั่งซื้อ และการสั่งซื้อสินค้า ข้อมูลด้านตลาดข้อมูล ได้แก่ การเงิน การตลาด การขาย บัญชี การจัดทำรายงาน วิศวกรรม ประกันภัย และทรัพยากรมนุษย์



รูป ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเชิงเว็บ รวมโปรแกรมค้นดูเว็บ เครื่องแม่ข่าย และฐานข้อมูลสื่อหลายมิติ

โครงสร้างเชิงหลายมิติ (Multidimensional Structure) มีความแตกต่างจากแบบจำลองเชิงสัมพันธ์คือใช้โครงสร้างเชิงหลายมิติเพื่อจัดระเบียบข้อมูลและแสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ลองนึกถึงโครงสร้างเชิงหลายมิติเป็นสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ภายในสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ของข้อมูล แต่ละด้านของลูกบาศก์ถูกพิจารณาเป็นหนึ่งมิติของข้อมูล รูป ตัวอย่างที่แสดงแต่ละมิติที่สามารถแสดงกลุ่มที่แตกต่างกัน เช่น ประเภทผลิตภัณฑ์ เขตการขาย ช่องทางการจำหน่าย และเวลา

การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ (Logic programming) เป็นแนวทางการเขียนโปรแกรม (programming paradigm) แบบหนึ่ง โดยกำหนดเซตคุณลักษณะ (attribute) ของคำตอบ แทนที่จะกำหนดขั้นตอนที่ทำให้ได้คำตอบ ภาษาโปรแกรมสำหรับการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะที่ใช้อย่างกว้างขวาง คือ ภาษาโปรล็อก (Prolog) อีกภาษาหนึ่งที่ใช้ในเชิงการค้า คือ ภาษาเมอร์คิวรี (Mercury) การเขียนโปรแกรมแบบนี้มีหลักการคือ ความจริง + กฎ = ผลลัพธ์ หลักการอื่นที่แตกต่างให้ดู การเขียนโปรแกรมตรรกะเชิงอุปนัย (Inductive logic programming)

จุดประสงค์ของการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ คือ การนำตรรกศาสตร์รูปนัย (formal logic) มาใช้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ นักคณิตศาสตร์และนักปรัชญาพบว่าตรรกะเป็นเครื่องมือที่ดีในการขยายความเนื้อหาของทฤษฎี ปัญหาหลายๆ ปัญหาสามารถแสดงเป็นทฤษฎีได้อย่างเป็นธรรมชาติ การกล่าวว่าปัญหาต้องการวิธีการแก้ไขก็เหมือนกับการถามว่าสมมติฐานใหม่สอดคล้องกับทฤษฎีที่มีอยู่แล้วหรือไม่ ตรรกศาสตร์กำหนดหนทางเพื่อพิสูจน์ว่าคำถามนั้นจริงหรือเท็จ และกระบวนการสร้างการพิสูจน์เป็นสิ่งที่รู้กันอย่างดีแล้ว ดังนั้นตรรกศาสตร์จึงเป็นทางที่เชื่อถือได้ในการหาคำตอบ และระบบการโปรแกรมเชิงตรรกะทำให้กระบวนการเหล่านี้เป็นไปอย่างอัตโนมัติ การพัฒนาการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะนั้นได้รับอิทธิพลอย่างสำคัญจากปัญญาประดิษฐ์

//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%81%


โดย: นางสาวสุจิตรา อินทสร้อย 52040258139 หมู่22 อังคารเช้า IP: 124.157.144.104 วันที่: 22 สิงหาคม 2552 เวลา:14:37:12 น.  

 
1.โครงสร้างข้อมูล.(Data Structure)

ในการนำข้อมูลไปใช้นั้น เรามีระดับโครงสร้างของข้อมูลดังนี้

- บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น

- ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น

- ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น

- เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด

- ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น

- ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น

2.
การออกแบบเชิงตรรกะเน้นในด้านการจัดกลุ่มข้อมูลในฐานข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ หรือ เป็นตารางที่เหมาะสม การออกแบบเริ่มต้นด้วยการพิจารณาว่าหน่วยงานจะต้องใช้ข้อมูลอะไรบ้าง ข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไรบ้าง จะจัดกลุ่มข้อมูลอย่างไรจึงจะเหมาะสมและไม่เกิดความซ้ำซ้อน การพิจารณาการจัดกลุ่มนี้จะต้องคำนึงถึงลักษณะของประเภทฐานข้อมูลที่จะจัดทำขึ้นด้วย

2.2 การออกแบบเชิงกายภาพ เน้นในด้านการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการหรือตารางข้อมูลต่างๆ จะจัดเก็บลงในสื่อข้อมูลเช่นจานแม่เหล็กได้อย่างไร มีการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการเป็นข้อมูลประเภทอักขระ จำนวน หรือประเภทอื่นๆ และต้องใช้เนื้อที่ในการเก็บมากน้อยเท่าใด การออกแบบฐานข้อมูลในส่วนนี้จำเป็นจะต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาด้านฐานข้อมูลมาโดยตรง




โดย: นายวรวัฒน์ ศรีใจ 52040332110 พฤหัส เช้า หมู่ 08 IP: 202.29.5.62 วันที่: 27 สิงหาคม 2552 เวลา:17:58:59 น.  

 
โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)
ที่มา


//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon


โดย: นางสาววินภา พินิจมนตรี รหัส 51241151116 รูปแบบพิเศษหมู่ 5 วันเสาร์บ่ายโมง IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:03:51 น.  

 
1.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html


โดย: นายอัศวิน บัวน้ำอ้อม 51241151118 รูปแบบพิเศษหมู่ 5 วันเสาร์บ่ายโมง IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:04:35 น.  

 
ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)
ที่มา


//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html

โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

โครงสร้างเชิงกายภาพ (physical data structure) อธิบายถึงวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก และดิสก์

แต่ว่า

โครงสร้างเชิงตรรกะ (logical data structure) อธิบายถึงการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล





//www.nstlearning.com/~km/?p=4252





โดย: ส.ต.ต.หญิงพิพิทย์ชยานันต์ สีลาเวช 51241151133 รูปแบบพิเศษเสาร์บ่าย IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:34:01 น.  

 
1. โครงสร้างข้อมูล

โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)


อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์


2. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)

อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล







โครงสร้างข้อมูล.(Data Structure)

ในการนำข้อมูลไปใช้นั้น เรามีระดับโครงสร้างของข้อมูลดังนี้

- บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น

- ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น

- ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น

- เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด

- ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น

- ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น



หน่วยในการวัดขนาดของข้อมูล

8 Bit = 1 Byte
1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต์)
1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต์)
1,024 MB = 1 GB (กิกะไบต์)
1,024 GB = 1TB (เทระไบต์)


แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร



Create Date : 11 มิถุนายน 2552
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 10:12:11 น. 77 comments
Counter : 407 Pageviews.







1.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html




โดย: นศ.ณัฐชนันท์พร ศรีบุญเรือง (หมู่08 เช้า พฤ ) IP: 172.29.85.18, 58.137.131.62 วันที่: 11 มิถุนายน 2552 เวลา:15:25:59 น.







โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)






โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:12:29:54 น.







ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น แต่ ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง



โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:12:41:18 น.







โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)
ที่มา


//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html





โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:13:05:38 น.







ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง แต่ ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo342.htm



โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:13:09:23 น.







1.ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
ที่มา
//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html
2.โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสาร้างเชิงการยภายและเชิงตรรกะแตกต่างกันคือ
ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง
ที่มา
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo342.htm




โดย: นางสาวเกศรินทร์ ไชยปัญญา (ม.08 พฤ เช้า) IP: 124.157.220.45 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:17:04:02 น.







โครงสร้างข้อมูล (Data structure)

1. Bit (Binary digit)
ในระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล คือ bit (Bit) ซึ่งย่อมาจากคำว่า Binary digit หรือเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 ใช้แทนข้อมูล เหตุการณ์หรือสถานะ ได้เพียง 2 อย่างเท่านั้น เช่น จริง/เท็จ มี/ไม่มี จ่ายแล้ว/ยังไม่จ่าย เปิด/ปิด เป็นต้น ย่อมไม่เพียงพอต่อการแทนข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ จึงมีการนำเอา bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการแทนข้อมูลอักขระ 1 ตัว
2. อักขระ (Character)
เขตข้อมูลเกิดจากการนำเอาข้อมูล bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน โดยการรวมกันนี้เป็นการรวมกันเพื่อให้ได้จุดมุ่งหมายบางอย่าง (รวมกันแล้วได้อักขระ 1 ตัว) โดยในการนำเอาข้อมูล bit มารวมกันเพื่อให้เกิดอักขระนี้จะอาศัยมาตรฐานของรหัสแทน ข้อมูล ซึ่งรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ รหัส ASCII และ EBCDIC โดยทั้งสองรหัสนี้จะนำเอา bit จำนวน 8 bit มารวมกัน เพื่อสร้างอักขระ 1 ตัว
3. เขตข้อมูล (Field) / Attribute
เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้ที่เล็กที่สุด ซึ่ง Field จะเกิดจากการนำเอาอักขระต่างๆ มารวมกัน แล้วให้ความหมาย หรือบ่งบอกข้อมูลบางสิ่งบางอย่างได้

4. ระเบียนข้อมูล (Record)
ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการรวมกันของเขตข้อมูลต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ (Logical relation) หรือรวมกันอย่างมีจุดประสงค์ เขตข้อมูลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ แม้นำมารวมกันก็ไม่เกิดความหมายหรือไม่เป็นระเบียบ
5. แฟ้มข้อมูล (File) / Entity
แฟ้มข้อมูล จะเป็นส่วนที่รวบรวมเอาระเบียนข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกัน มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา ก็จะรวบรวมเอาระเบียนข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของนักศึกษาแต่ละคนที่มีอยู่ทั้งหมดมารวมเข้าไว้ด้วยกัน
6.ฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูลจะเป็นส่วนที่ใช้รวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยการรวบรวมข้อมูลนี้ จะอยู่ภายใต้หัวเรื่องหรือจุดประสงค์เดียวกัน หรือเป็นข้อมูลที่รวบรวมไว้ใช้ในการตอบคำถามหรือตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน (ภายใต้วัตถุประสงค์ของฐานข้อมูล
ที่มา
://www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html
ความแตกต่างระหว่างโครงสร้างเชิงกายภาพและเชิงตรรกะ
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด
ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร
ที่มา
://sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm








โดย: นาย ปิยะ ศรีกุลวงศ์ เสาร์บ่าย 51241151204 IP: 222.123.59.23 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:13:22:17 น.  

 
1.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html






โดย: นางาสาว สมร นาแพงหมื่น เสาร์บ่าย 51241151220 IP: 222.123.59.23 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:13:48:41 น.  

 
1. - บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น

2. -ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น

3. -ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น

4.-เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด

5. -ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น

6. -ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น


1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป



โดย: นางสาว จุรีพร โคตรชมภู รหัส 52040332125 พฤหัส (เช้า) หมู่ 08 IP: 60.38.228.119 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:21:12:22 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ 8 Bit = 1 Byte
1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต์)
1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต์)
1,024 MB = 1 GB (กิกะไบต์)
1,024 GB = 1TB (เทระไบต์)
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure) มีหน้าที่อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์
โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure) มีหน้าที่อธิบาย การจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูล โดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล



โดย: นางฉวีวรรณ แสงเลิศ 51241151132 รูปแบบพิเศษ รปศ. เรียนเวลา บ่ายโมงวันเสาร์ IP: 117.47.14.74 วันที่: 1 กันยายน 2552 เวลา:19:29:34 น.  

 
1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป


//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


โดย: นางสาวสุกัญญา แก้วคูณเมือง รหัส 51241151122 (เรียนวันเสาร์บ่ายโมง) IP: 10.0.100.48, 125.26.246.123 วันที่: 2 กันยายน 2552 เวลา:21:10:54 น.  

 
2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ


1 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงาน


เกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

2.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บ

รวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี(indexed)ในระดับภายในหรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอก


//dbcorner.comoj.com/page2_2.html



โดย: นางสาวสุกัญญา แก้วคูณเมือง รหัส 51241151122 (เรียนวันเสาร์บ่ายโมง) IP: 10.0.100.48, 125.26.246.123 วันที่: 2 กันยายน 2552 เวลา:21:35:55 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ -บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น
-ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น
-ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น
-เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด
-ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น
-ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท

ที่มา : //www.thaigoodview.com/library/teachershow/phayao/patcharee_s/computer_m1/sec02p04.htm

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ 1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

ที่มา : //dbcorner.comoj.com/page2_2.html


โดย: นางสาวกฤติยา เหล่าผักสาร รหัสนักศึกษา 52040263134 คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร IP: 125.26.170.66 วันที่: 5 กันยายน 2552 เวลา:14:51:54 น.  

 
1.ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
ที่มา
//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html
2.โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสาร้างเชิงการยภายและเชิงตรรกะแตกต่างกันคือ
ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง
ที่มา
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo342.htm



โดย: นางสาวเกษร อัครฮาด รหัสนักศึกษา 52040003135 หมู่ 29 เรียนพุธเช้า IP: 110.49.98.71 วันที่: 7 กันยายน 2552 เวลา:18:15:31 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ -บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น
-ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น
-ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น
-เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด
-ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น
-ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท

ที่มา : //www.thaigoodview.com/library/teachershow/phayao/patcharee_s/computer_m1/sec02p04.htm

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ 1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

ที่มา : //dbcorner.comoj.com/page2_2.html


โดย: นางสาวกฤติยา เหล่าผักสาร รหัสนักศึกษา 52040263134 หมู่ 22 อังคารเช้า คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 8 กันยายน 2552 เวลา:9:23:37 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ 1.1 โครงสร้างของข้อมูล
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดใน
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ 1.2
1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html




โดย: ชื่อ นายวัชระพงศ์ โคตรชมภู รหัสนักศึกษา 51040901205 หมู่ที่1จันทร์(บ่าย)สาขาวิชานิติศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 11 กันยายน 2552 เวลา:12:35:11 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ -บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น
-ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น
-ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น
-เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด
-ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น
-ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท

ที่มา : //www.thaigoodview.com/library/teachershow/phayao/patcharee_s/computer_m1/sec02p04.htm


1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ โครงสาร้างเชิงการยภายและเชิงตรรกะแตกต่างกันคือ
ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง
ที่มา
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon


โดย: นางสาว ศิริพร คมกล้า 51040901250 สาขา นิติศาสตร์ หมู่01 (จันทร์ - บ่าย) IP: 202.29.5.62 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:14:48:00 น.  

 
.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html



โดย: นายสันทัด คูหานา 51241151128 หมู่ 05 รูปแบบพิเศษวันเสาร์ IP: 125.26.176.50 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:15:32:20 น.  

 
โครงสร้างข้อมูล (Data structure)

1. Bit (Binary digit)
ในระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล คือ bit (Bit) ซึ่งย่อมาจากคำว่า Binary digit หรือเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 ใช้แทนข้อมูล เหตุการณ์หรือสถานะ ได้เพียง 2 อย่างเท่านั้น เช่น จริง/เท็จ มี/ไม่มี จ่ายแล้ว/ยังไม่จ่าย เปิด/ปิด เป็นต้น ย่อมไม่เพียงพอต่อการแทนข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ จึงมีการนำเอา bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการแทนข้อมูลอักขระ 1 ตัว
2. อักขระ (Character)
เขตข้อมูลเกิดจากการนำเอาข้อมูล bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน โดยการรวมกันนี้เป็นการรวมกันเพื่อให้ได้จุดมุ่งหมายบางอย่าง (รวมกันแล้วได้อักขระ 1 ตัว) โดยในการนำเอาข้อมูล bit มารวมกันเพื่อให้เกิดอักขระนี้จะอาศัยมาตรฐานของรหัสแทน ข้อมูล ซึ่งรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ รหัส ASCII และ EBCDIC โดยทั้งสองรหัสนี้จะนำเอา bit จำนวน 8 bit มารวมกัน เพื่อสร้างอักขระ 1 ตัว
3. เขตข้อมูล (Field) / Attribute
เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้ที่เล็กที่สุด ซึ่ง Field จะเกิดจากการนำเอาอักขระต่างๆ มารวมกัน แล้วให้ความหมาย หรือบ่งบอกข้อมูลบางสิ่งบางอย่างได้

4. ระเบียนข้อมูล (Record)
ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการรวมกันของเขตข้อมูลต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ (Logical relation) หรือรวมกันอย่างมีจุดประสงค์ เขตข้อมูลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ แม้นำมารวมกันก็ไม่เกิดความหมายหรือไม่เป็นระเบียบ
5. แฟ้มข้อมูล (File) / Entity
แฟ้มข้อมูล จะเป็นส่วนที่รวบรวมเอาระเบียนข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกัน มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา ก็จะรวบรวมเอาระเบียนข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของนักศึกษาแต่ละคนที่มีอยู่ทั้งหมดมารวมเข้าไว้ด้วยกัน
6.ฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูลจะเป็นส่วนที่ใช้รวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยการรวบรวมข้อมูลนี้ จะอยู่ภายใต้หัวเรื่องหรือจุดประสงค์เดียวกัน หรือเป็นข้อมูลที่รวบรวมไว้ใช้ในการตอบคำถามหรือตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน (ภายใต้วัตถุประสงค์ของฐานข้อมูล
ที่มา
://www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html
ความแตกต่างระหว่างโครงสร้างเชิงกายภาพและเชิงตรรกะ
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด
ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร
ที่มา
://sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm



โดย: นางสาวพิพิทย์ชยานันต์ สีลาเวช 51241151133หมู่ 05 รูปแบบพิเศษวันเสาร์ IP: 125.26.176.50 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:15:33:35 น.  

 
.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน

ที่มา//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)
อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์
2. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)
อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล
ที่มา
//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5


โดย: พ.อ.อ.ปิยะ หอมชื่น 51241151144 หมู่ 05 IP: 125.26.176.50 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:15:35:22 น.  

 
โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)




โดย: นายสุรพล อินทร์ราช หมู่ 05 IP: 125.26.176.50 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:15:36:04 น.  

 
1.ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
2.โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสาร้างเชิงการยภายและเชิงตรรกะแตกต่างกันคือ
ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง


โดย: นายจักรกริช โพธิวงษ์ หมู่ 15 ศุกรเช้า IP: 192.168.1.103, 125.26.174.249 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:20:02:19 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด


โครงสร้างของข้อมูลจะประกอบด้วย 5 ลำดับ ดังนี้

(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป


ที่มา : //www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


โดย: น.ส. นาริณี อินทร์ดี IP: 125.26.160.68 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:23:53:46 น.  

 
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร


เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้าง ข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่ มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำ งานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป


ที่มา : //sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm


โดย: น.ส. นาริณี อินทร์ดี IP: 125.26.160.68 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:0:01:06 น.  

 
1.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน




2.โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสาร้างเชิงการยภายและเชิงตรรกะแตกต่างกันคือ
ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง





โดย: น.ส.สุวรรณี ระวะใจ หมู่เรียนที่ 22 อังคารเช้า IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:10:08:36 น.  

 
โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)


ที่มา
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html

ข้อที่ 2
โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

โครงสาร้างเชิงการยภายและเชิงตรรกะแตกต่างกันคือ
ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง


โดย: น.สชไมพร ตะโคตร ม.29 พุธ(ช้า) 520404103 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:11:17:21 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป
ที่มา
//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ1.ข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงาน
2.ข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บ
ที่มา//dbcorner.comoj.com/page2_2.html








โดย: นางสาวกิตติยาพร คนดี(51040901202)สาขานิติศาสตร์ จันทร์บ่าย หมู่1 IP: 124.157.149.128 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:19:33:55 น.  

 

1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไบิต (bit) เลขฐานสองหนึ่งหลักซึ่งมีค่าเป็น 0 หรือ 1

· ตัวอักษร (character) กลุ่มของบิตสามารถแทนค่าตัวอักษรได้ ในชุดอักขระ ASCII 1 ไบต์(8 บิต) แทนตัวอักษร 1 ตัว

· เขตข้อมูล หรือฟิลด์ (field) เขตข้อมูลซึ่งประกอบด้วยกลุ่มตัวอักษรที่แทนข้อเท็จจริง

· ระเบียน (record) ระเบียน คือโครงสร้างข้อมูลที่แทนตัววัตถุชิ้นหนึ่ง

· แฟ้ม (file) ตารางที่เป็นกลุ่มของระเบียนที่มีโครงสร้างเดียวกัน

· ฐานข้อมูล (database) กลุ่มของตาราง (และความสัมพันธ์)

ปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด


โดย: นาวสาวกาญจนา อุปวันดี (หมู่01 วันจันทร์บ่าย) IP: 113.53.164.173 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:21:51:04 น.  

 
1.1ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบต
(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึงหน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

ที่มา:
//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


1.2 โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ อย่างกันอย่างไร
ตอบ
โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical data structure)
เป็นโครงสร้างที่กำหนดจากวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่างๆ เช่น เนื้อที่สำหรับจัดเก็บ ตำแหน่งในการจัดเก็บฐานข้อมูล เป็นต้น
โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical data structure)
เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical data model)
นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบของโครงสร้างต้นไม้ (tree structure)
มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูก คือ พ่อ (parent) 1 คนมีลูก (child) ได้หลายคน หรือแบบพ่อคนเดียวมีลูก 1 คนแต่ลูกมีพ่อได้คนเดียว
ลักษณะเด่นคือ มีความซับซ้อนน้อย เข้าใจง่าย ค่าใช้จ่ายไม่สูง ป้องกันความลับของข้อมูลได้ดี เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นระดับและเรียงลำดับต่อเนื่อง
ข้อจำกัด คือ ไม่สามารถรองรับความสัมพันธ์ของข้อมูลแบบลูกมีพ่อได้หลายคนได้ มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากและมีความคล่องตัวน้อยกว่าโครงสร้างแบบอื่น เพราะเรียกใช้ข้อมูลต้องผ่านทางต้นกำเนิดเสมอ ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลซึ่งปรากฏในระดับล่าง ๆ แล้วจะต้องค้นหาทั้งแฟ้ม

ที่มา //74.125.153.132/search?q=cache:0UHXauJSOHYJ:course.eau.ac.th/course/Download/0531011/database.ppt+%E


โดย: นางสาวประสิทธิ์พร เพ็งสอน(หมู่01 วันจันทร์บ่าย) IP: 113.53.164.173 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:21:53:29 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน

ที่มา..//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm




โดย: นางสาวปิยนุช แสงจันทร์(หมู่01 วันจันทร์บ่าย) IP: 113.53.164.173 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:21:55:15 น.  

 
1.ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
ที่มา
//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html

2.โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสาร้างเชิงการยภายและเชิงตรรกะแตกต่างกันคือ
ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง

ที่มา //www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo342.htm


โดย: นายวิทวัฒน์ พากุล รหัสนักศึกษา 52042055102 หมู่ 29 ( พุธ เช้า ) IP: 192.168.1.103, 119.42.82.83 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:19:33:11 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป
ที่มา
//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ1.ข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงาน
2.ข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บ
ที่มา//dbcorner.comoj.com/page2_2.html


โดย: จ.ส.อ.อาสา โสมประยูร 51241151211 เสาร์บ่าย หมู่05 IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:13:56:36 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน

ที่มา//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)
อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์
2. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)
อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล
ที่มา
//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5



โดย: จ.ส.ต.หญิง พรรณสุภา ชิตเกษร 51241151125 เสาร์บ่าย หมู่05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:14:00:15 น.  

 
โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)
ที่มา


//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html



โดย: จ.ส.ต. เสกสิท วงศรีรักษา 51241151128 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:14:06:10 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

1.1โครงสร้างแฟ้มข้อมูล ” (data structure) หมายถึง รูปแบบของการจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ (ทักษิณา สวนานนท์, 2544, หน้า 161) ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่ลำดับจากหน่วยที่เล็กที่สุดไปยังหน่วยที่ใหญ่ขึ้นตามลำดับต่อไปนี้

2.1 บิท (Bit : Binary Digit) คือ หน่วยของข้อมูลที่เล็กที่สุดที่เก็บอยู่ในหน่วยความจำภายในคอมพิวเตอร์ ซึ่ง Bit จะแทนด้วยตัวเลขหนึ่งตัว คือ 0 หรือ 1 อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกตัวเลข 0 หรือ 1 ว่าเป็น บิท 1 บิท

2.2 ไบท์ (Byte) คือ หน่วยของข้อมูลที่นำบิทหลายๆบิทมารวมกัน แทนตัวอักษรแต่ละตัว เช่น A, B, …, Z, 0, 1, 2, … ,9 และสัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ เช่น $, &, +, -, *, / ฯลฯ โดยตัวอักษร 1 ตัวจะแทนด้วยบิท 7 บิท หรือ 8 บิท ซึ่งตัวอักษรแต่ละตัวจะเรียกว่า ไบท์ เช่น ตัว A เมื่อเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์จะเก็บเป็น 1000001 ส่วนตัว B จะเก็บเป็น 1000010 เป็นต้น

2.3 เขตข้อมูล (Field) คือ หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำตัวอักขระหลายๆตัวมารวมกัน เป็นคำที่มีความหมาย เช่น รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา นามสกุล ที่อยู่ คณะ และสาขาวิชา เป็นต้น ภาพที่ 1.1)

2.4 ระเบียน (Record) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนำเขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน หรือค่าของข้อมูลในแต่ละเขตข้อมูล เช่น ระเบียนนักศึกษาคนที่ 1 ประกอบด้วยเขตข้อมูล รหัสนักศึกษา 4800111 , ชื่อ : สาธิต, นามสกุล : กิตติพงศ์, โปรแกรมวิชา : บรรณารักษศาสตร์, คณะ : มนุษยศาสตร์ เป็นต้น (ภาพที่ 1.1)

2.5 แฟ้มข้อมูล (File) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนำระเบียนหลายๆ ระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษา (ภาพที่ 1.1) ซึ่งประกอบไปด้วย ระเบียนจำนวน 5 ระเบียน หรือ 5 แถว ซึ่งก็คือ รายละเอียดของนักศึกษาจำนวน 5 คน นั่นเอง

2.6 ฐานข้อมูล (Database) คือ หน่วยของข้อมูลที่มีการนำแฟ้มข้อมูลหลายๆ แฟ้มข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน เช่น ฐานข้อมูลในระบบทะเบียนนักศึกษา จะประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลรายวิชา นักศึกษา การลงทะเบียน ผลการเรียน และอาจารย์ผู้สอน เป็นต้น

ที่มา://school.obec.go.th/kubird/NewDBMS/db02.htm

2.1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ที่มา //sot.swu.ac.th/cp342/lesson01/ms3t2.htm
//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html



โดย: น.ส.จิตราภรณ์ ภุเกตุ หมู่ 8 พฤหัสเช้า IP: 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:16:38:38 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

คำตอบ
(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึงหน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

ที่มา:
//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


1.2 โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ อย่างกันอย่างไร
คำตอบ
โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical data structure)
เป็นโครงสร้างที่กำหนดจากวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่างๆ เช่น เนื้อที่สำหรับจัดเก็บ ตำแหน่งในการจัดเก็บฐานข้อมูล เป็นต้น
โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical data structure)
เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical data model)
นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบของโครงสร้างต้นไม้ (tree structure)
มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูก คือ พ่อ (parent) 1 คนมีลูก (child) ได้หลายคน หรือแบบพ่อคนเดียวมีลูก 1 คนแต่ลูกมีพ่อได้คนเดียว
ลักษณะเด่นคือ มีความซับซ้อนน้อย เข้าใจง่าย ค่าใช้จ่ายไม่สูง ป้องกันความลับของข้อมูลได้ดี เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นระดับและเรียงลำดับต่อเนื่อง
ข้อจำกัด คือ ไม่สามารถรองรับความสัมพันธ์ของข้อมูลแบบลูกมีพ่อได้หลายคนได้ มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากและมีความคล่องตัวน้อยกว่าโครงสร้างแบบอื่น เพราะเรียกใช้ข้อมูลต้องผ่านทางต้นกำเนิดเสมอ ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลซึ่งปรากฏในระดับล่าง ๆ แล้วจะต้องค้นหาทั้งแฟ้ม

ที่มา //74.125.153.132/search?q=cache:0UHXauJSOHYJ:course.eau.ac.th/course/Download/0531011/database.ppt+%E


โดย: นางสาวจุรีพร โดคตชมภุ รหัส 52040332125 พฤหัส (เช้า) หมู่ 8 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:10:48 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบาย2.4 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์

ในปัจจุบันสังคมเป็นสังคมสารสนเทศ ข้อมูลถือเป็นทรัพยากรที่มีค่าของทุก ๆ หน่วยงาน ไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่ หน่วยงานที่สามารถจัดการข้อมูลได้ดีกว่าย่อมได้เปรียบกว่าในทุก ๆ ด้าน ดังนั้นจึงได้มีความพยายามนำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูล โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ข้อมูลของหน่วยงานมีความถูกต้อง แม่นยำ ทันสมัย และสะดวกต่อการเรียกใช้งานมากที่สุด หากจะพิจารณาถึงการจัดการข้อมูลย่อมจะหมายถึง การจัดเก็บข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมาใช้งาน ลองพิจารณาถึงคลินิกแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นหน่วยงานเล็ก ๆ ก็ยังต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลคนไข้ที่มารับการรักษา ข้อมูลที่ต้องการเก็บ ได้แก่ ประวัติส่วนตัวของคนไข้ อาการที่มารับการรักษา วิธีการรักษา และผลการรักษา วิธีหนึ่งที่ทำกันก็คือการจดบันทึกข้อมูลทั้งหมดลงบนกระดาษและเก็บกระดาษนั้นไว้ ซึ่งมีหัวข้อที่ซ้ำกัน เช่น ข้อความของหัวข้อ ชื่อคนไข้ และที่อยู่ ฯลฯ หากเจ้าหน้าที่ต้องเขียนทุกใบก็จะเป็นการเสียเวลา ดังนั้นทางคลินิกอาจใช้วิธีจ้างโรงพิมพ์พิมพ์แบบฟอร์มขึ้นมา เพื่อให้การกรอกข้อมูลง่ายขึ้น รูปที่ 2.9 แสดงตัวอย่างของแบบฟอร์มที่คลินิกแห่งหนึ่งใช้



รูปที่ 2.9 ตัวอย่างแบบฟอร์มบัตรคนไข้

เมื่อพิจารณาบัตรคนไข้ จะเห็นว่า ข้อมูลที่อยู่บนบัตรมีความหมายต่าง ๆ กัน การที่ข้อมูลแสดงความหมายได้ จะต้องประกอบด้วยส่วนข้อมูลที่พิมพ์บนบัตรกับส่วนข้อมูลที่กรอกเพิ่มเติม ข้อมูลที่พิมพ์บนบัตรคือส่วนที่อธิบายลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ ทำให้ส่วนข้อมูลที่กรอกเพิ่มเติมชัดเจน การจะใช้งานข้อมูลให้ได้ผลดี จึงต้องมีทั้งตัวข้อมูลและคำอธิบายลักษณะของข้อมูล

ในการจัดเก็บข้อมูลเหล่านี้ ทางคลินิกใช้ตู้เก็บเอกสารขนาดใหญ่สำหรับเก็บแบบฟอร์มและเรียงไว้ในลิ้นชัก เมื่อมีคนไข้ใหม่เพิ่มขึ้นก็เพิ่มแบบฟอร์มแผ่นใหม่เข้าไป และในการเรียกใช้ข้อมูลเมื่อมีคนไข้มาติดต่อ เจ้าหน้าที่ต้องค้นหาข้อมูลเดิมของคนไข้ วิธีหนึ่งที่ทำได้คือตรวจดูข้อมูลบนบัตรคนไข้ทีละใบตั้งแต่ใบแรกจนพบ การค้นหาวิธีนี้อาจเสียเวลามาก แต่ถ้าจัดเก็บข้อมูลโดยเรียงชื่อตามตัวอักษรไว้แล้ว จะทำได้รวดเร็วขึ้น

การจัดการข้อมูลจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานในชีวิตประจำวัน และมีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยประมวลผล เพื่อได้ข้อมูลที่ถูกต้องอย่างรวดเร็ว การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องมีหลักการและวิธีการที่เป็นระบบ และการเก็บข้อมูลควรพยายามลดขนาดของข้อมูลให้เล็กที่สุด แต่ยังคงความหมายในตัวเองมากที่สุด

ดังที่กล่าวมาแล้วว่าการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์นั้น เป็นการเก็บข้อมูลไว้ในสื่อบันทึก เช่น เทปแม่เหล็ก แผ่นบันทึก หรือจานแม่เหล็ก โดยที่ข้อมูลนั้นอยู่ในรูปของเลขฐานสองหลายบิตเรียงกัน ดังนั้นในการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการประมวลผลจึงต้องกำหนดรูปแบบหรือโครงสร้างของข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ตรงกัน โดยโครงสร้างของข้อมูลจะประกอบด้วย 5 ลำดับ ดังนี้

(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป



รูปที่ 2.10 แสดงความสัมพันธ์ของโครงสร้างข้อมูลภายในแฟ้มข้อมูล

พิจารณาการเก็บประวัติของนักเรียนในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ประวัติของนักเรียนคนหนึ่ง ๆ จะบันทึกลงในระเบียนประวัติหนึ่งใบ โดยประกอบด้วยเขตข้อมูลต่าง ๆ เช่น ชื่อ นามสกุล วัน เดือน ปีเกิด ฯลฯ โดยที่ข้อมูลเหล่านี้อาจเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได้ และใบระเบียนประวัติของนักเรียนในโรงเรียนจะได้รับการจัดเก็บไว้ในแฟ้มเดียวกัน ดังรูปที่ 2.11







ระเบียนประวัติของนักเรียนทั้งหมดเรียกว่า “แฟ้มข้อมูล” ประวัตินักเรียนของโรงเรียน

ระเบียนประวัติของนักเรียนแต่ละคนเรียกว่า “ระเบียนข้อมูล” ประวัตินักเรียน

ข้อมูลแต่ละค่าในระเบียนประวัติเรียกว่า “เขตข้อมูล” ประวัตินักเรียน ซึ่งอาจเป็นตัวเลขหรือตัวหนังสือ
สำหรับการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์นั้น จะเหมือนกับการจัดเก็บข้อมูลทั่วไป คือ เป็นแฟ้มข้อมูล ระเบียนข้อมูล และเขตข้อมูล จากรูปการจัดการข้อมูลทั่วไปในรูปที่ 2.11 นั้น สามารถจัดเก็บในคอมพิวเตอร์ได้ดังรูปที่ 2.12 โดยจะเห็นว่าแฟ้มข้อมูลอยู่ในรูปตารางสองมิติ แต่ละแถวจะแสดงระเบียนแต่ละระเบียน และแต่ละสดมภ์จะแสดงเขตข้อมูลต่าง ๆ แต่ละเขตข้อมูลมีชื่อกำกับบอกไว้ จะสังเกตได้ว่าความสัมพันธ์ของข้อมูลจะสัมพันธ์กันในแต่ละระเบียน โดยมีความหมายในตัวเองและไม่เกี่ยวข้องกับลำดับระเบียน

ในการจัดเก็บข้อมูลต้องกำหนดคุณสมบัติของข้อมูลให้ชัดเจน ตลอดจนวิธีการเตรียมข้อมูลเพื่อการประมวลผลดังต่อไปนี้

1) กำหนดชื่อและจำนวนเขตข้อมูลในระเบียนข้อมูล

เช่น ในข้อมูลระเบียนนักเรียนดังรูปที่ 2.12 อาจประกอบด้วยเขตข้อมูลจำนวน 6 เขต คือ

เขตข้อมูลที่ 1 ชื่อเขตข้อมูล ID หมายถึง เลขประจำตัวนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 2 ชื่อเขตข้อมูล NAME หมายถึง ชื่อ - สกุลนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 3 ชื่อเขตข้อมูล GENDER หมายถึง เพศของนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 4 ชื่อเขตข้อมูล BIRTHDAY หมายถึง วัน เดือน ปีเกิดของนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 5 ชื่อเขตข้อมูล FA_NAME หมายถึง ชื่อบิดาของนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 6 ชื่อเขตข้อมูล MO_NAME หมายถึง ชื่อมารดาของนักเรียน

2) กำหนดชนิดและขนาดของเขตข้อมูลแต่ละเขต

เช่น เขตข้อมูล NAME เป็นตัวอักษร ขนาด 30 ตัวอักษร

3) กำหนดวิธีการและสื่อในการจัดเก็บข้อมูล

แฟ้มข้อมูลจะได้รับการนำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ โดยข้อมูลนี้อาจได้รับการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมหรือตัดออกได้มื่อนำเขตข้อมูลทั้งหมดมาวางเรียงกัน จะเกิดรูปแบบที่เรียกว่า “โครงสร้างระเบียน” ซึ่งสามารถใช้เป็นเครื่องบ่งบอกถึงโครงสร้างของแฟ้มนั้นได้ เช่น แฟ้มประวัตินักเรียน มีแต่ละระเบียนอาจเลือกเขตข้อมูลหนึ่ง ซึ่งสามารถบ่งบอกความแตกต่างของข้อมูลให้ทราบได้อย่างมีนัยสำคัญมาเป็นตัวบ่งชี้ความแตกต่างของระเบียนแต่ละระเบียน ซึ่งเรียกว่า “กุญแจ” (Key) เช่น ระเบียนประวัตินักเรียนอาจเลือกเขตข้อมูล ID เป็นกุญแจ เพราะเขตข้อมูลนี้จะบ่งบอกความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ กล่าวคือ จะบอกได้ว่าเป็นนักเรียนคนเดียวกันหรือไม่ ถ้าข้อมูลในเขตข้อมูล ID เหมือนกัน แสดงว่าเป็นคนเดียวกัน แต่ถ้าไม่เหมือนกัน แสดงว่าเป็นคนละคนกัน

//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


โดย: นายอภิเชษฐ์ หาคำ ม.8 พฤหัส (เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:20:20 น.  

 
.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ
1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ที่มา//sot.swu.ac.th/CP342/Lesson01/cs3t2.htm


โดย: นายสุพจน์ ยางขัน หมู่ 8 พฤหัสเช้า IP: 58.137.131.62 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:14:20:14 น.  

 
1.แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด


โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

แนวคิดเชิงกายภาพและตรรก



เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบ
ต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
2.1 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงาน


เกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

2.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บ

รวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี(indexed)ในระดับภายในหรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว








โดย: นางสาวนฤมล ภูหนองโอง รหัสนักศึกษา 52040264108 หมู่ 29 (พุธ-เช้า) IP: 125.26.177.195 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:14:45:38 น.  

 
1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ 1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
ที่มา

ที่มา //www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)
อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์
2. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)
อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล
ที่มา
//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3

นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115




โดย: นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115 IP: 192.168.1.124, 124.157.149.201 วันที่: 20 กันยายน 2552 เวลา:11:52:52 น.  

 
โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) ประกอบด้วย
1.1 บิต (Bit) ประกอบด้วยเลขของเลขฐานสอง (Binary Digit) ถือเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่คอมพิวเตอร์โดยบิตจะมีเพียงหนี่งใน 2 สถานะเท่านั้นคือ 0, 1 เพื่อแทนสัญญาณไฟฟ้า บิตไม่สามารถแทนค่าข้อมูลในปริมาณมาก ๆ ได้
1.2 ไบต์ (Byte) เมื่อบิตไม่สามารถแทนค่าข้อมูลในปริมาณมาก ๆ ได้ เนื่องมาจากมีเพียง 2 สถานะเท่านั้น จึงได้มีการนำจำนวนบิตหลาย ๆ บิตมารวมกันเป็นไบต์ ซึ่งโดยปกติ 1 ไบต์ประกอบด้วย 8 บิต ดังนั้นจึงทำให้หนึ่งไบต์สามารถสร้างรหัสแทนข้อมูลขึ้นมาใช้แทนตัวอักขระให้แตกต่างกันได้ถึง 256 อักขระฟิลด์ (Field) คือ อักขระทีมารวมกันแล้วก่อให้เกิดความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง
1.3 ฟิลด์ (Field) คือ ฟิลด์คือการนำอักขระหรือไบต์ตั้งแต่ 1 ไบต์ขึ้นไปมารวมกันเพื่อก่อให้เกิดความหมายขึ้นมา เช่น ฟิลด์ name ฟิลด์ address ใช้เก็บที่อยู่พนักงาน
1.4 เรคอร์ด (Record) คือ กลุ่มฟิลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน ใน 1 เรคอร์ดจะประกอบไปด้วยฟิลด์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันเป็นชุด ตัวอย่างเช่น เรคอร์ดพนักงาน ประกอบไปด้วยฟิลด์ รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ตำแหน่ง เพศ วันกิด เงินเดือน ดังนั้นภายใน 1 เรคอร์ดจึงจำเป็นต้องมีอย่างน้อย 1 ฟิลด์เพื่อให้สำหรับอ้างอิงข้อมูลในเรคอร์ดนั้น ๆ
1.5 แฟ้มข้อมูล (File) ไฟล์คือกลุ่มของเรคอร์ดที่สัมพันธ์กัน ตัวอย่างเช่น ในแฟ้มพนักงานจะประกอบไปด้วยเรคอร์ดต่าง ๆ ของพนักงานทั้งหมดที่มีอยู่ในบริษัท ดังนั้น จึงจำเป็นที่ต้องมีอย่างน้อย 1 เรคอร์ดเพื่อใช้สำหรับการอ่านข้อมูลขึ้นมาใช้งาน

โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical data structure)
เป็นโครงสร้างที่กำหนดจากวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่างๆ เช่น เนื้อที่สำหรับจัดเก็บ ตำแหน่งในการจัดเก็บฐานข้อมูล เป็นต้น
โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical data structure)
เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical data model)
นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบของโครงสร้างต้นไม้ (tree structure)
มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูก คือ พ่อ (parent) 1 คนมีลูก (child) ได้หลายคน หรือแบบพ่อคนเดียวมีลูก 1 คนแต่ลูกมีพ่อได้คนเดียว
ลักษณะเด่นคือ มีความซับซ้อนน้อย เข้าใจง่าย ค่าใช้จ่ายไม่สูง ป้องกันความลับของข้อมูลได้ดี เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นระดับและเรียงลำดับต่อเนื่อง
ข้อจำกัด คือ ไม่สามารถรองรับความสัมพันธ์ของข้อมูลแบบลูกมีพ่อได้หลายคนได้ มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากและมีความคล่องตัวน้อยกว่าโครงสร้างแบบอื่น เพราะเรียกใช้ข้อมูลต้องผ่านทางต้นกำเนิดเสมอ ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลซึ่งปรากฏในระดับล่าง ๆ แล้วจะต้องค้นหาทั้งแฟ้ม


โดย: นางสาวสุขชฎา อินทปัญญา หมู่ 22 รหัส 52040427216 IP: 192.168.1.112, 124.157.129.6 วันที่: 23 กันยายน 2552 เวลา:18:09:06 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ 1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
ที่มา
//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ ระเบียนเชิงกายภาพ (Physical Record) คือ ระเบียนในทัศนะของคอมพิวเตอร์ โดยพิจารณาจากการอ่านบันทึกข้อมูลลงสื่อบันทึกแต่ละครั้ง ซึ่งการอ่านหรือบันทึกแต่ละครั้งถือว่าเป็น 1 หน่วยของสื่อบันทึกข้อมูล ในการนำระเบียนข้อมูลเชิงตรระมาจัดเก็บลงสื่อบันทึกข้อมูล ซึ่งระเบียนดังกล่าวจะต้องถูกจัดให้อยู่ในระเบียนเชิงกายภาพ ดังนั้นจะทำให้เกิดระเบียนแบบต่าง คือ ระเบียนแบบ Unblock ระบียนแบบ Block และระบียนแบบ Spanned Record

ระเบียนเชิงตรรกะ (Logical Record) คือ ระเบียนในทัศนะของผู้ใช้ทั่วไป ประกอบด้วยเขตข้อมูลที่สัมพันธ์กันเชิงตรรกะซึ่งกันและกัน โดยไม่คำนึงว่าจะจัดเก็บไว้ที่ใดในอุปกรณ์บันทึกข้อมูล

ที่มา
//www.oknation.net/blog/print.php?id=60856





โดย: นางสาวหนึ่งฤทัย มังคละแสน คณะมนุษศษสตร์และสังคมศาสตร์ สาขานิติศาสตร์หมู่01 จ.บ่าย IP: 124.157.147.100 วันที่: 23 กันยายน 2552 เวลา:19:26:47 น.  

 
1.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html



โดย: ส.อ.ชาคร ทานินนท์ หมู่ 05 5124151208 IP: 125.26.164.16 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:11:22:26 น.  

 
ข้อ 1 ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html

ข้อ 2 โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร


เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้าง ข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่ มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำ งานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป


ที่มา : //sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm


นาย ตง ประดิชญากาญจน์ หมู่ 22 อังคาร เช้า


โดย: นาย ตง ประดิชญากาญจน์ IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:13:25:07 น.  

 
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน

//www.thaigoodview.com


โดย: นายชัยวัฒน์ ศรีอุต หมู่ 22 อังคาร (เช้า) IP: 192.168.1.108, 124.157.139.216 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:15:14:27 น.  

 
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

//sot.swu.ac.th



โดย: นายชัยวัฒน์ ศรีอุต หมู่ 22 อังคาร (เช้า) IP: 192.168.1.108, 124.157.139.216 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:15:16:20 น.  

 
ข้อที่ 1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ โครงสร้างของข้อมูล
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส
2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1
3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์
4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น
5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย
6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง
7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์
8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่นแฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน
นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ
เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด
แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น
บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น
แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น
แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)
บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)

ข้อที่ 2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ 1.แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

2.การออกแบบฐานข้อมูล
สรุปได้ว่าแฟ้มข้อมูลที่กล่าวถึงนั้นคือสิ่งเดียวกันแต่เมื่อมองจากต่างมุมจะมองเห็นต่างกัน ซึ่งในมุมมองของผู้ใช้นั้นเป็นมุมมองเชิงตรรกะ ขณะที่มุมมองของระบบปฏิบัติการเป็นมุมมองเชิงกายภาพ

การสร้างฐานข้อมูลขึ้นใช้งานในองค์การหรือหน่วยงานต่างๆ ก็จำเป็นจะต้องดำเนินการตามขั้นตอนที่เหมาะสม และต้องมีวิธีจัดการข้อมูล โดยปกติการสร้างฐานข้อมูลจำเป็นจะต้องออกแบบฐานข้อมูลเป็นสองระยะหรือสองขั้นตอนด้วยกัน ขั้นแรกก็คือการออกแบบเชิงแนวคิด (conceptual design) หรือเชิงตรรกะ (logical design) และขั้นที่สองก็คือการออกแบบเชิงกายภาพ (physical design)

2.1 การออกแบบเชิงตรรกะเน้นในด้านการจัดกลุ่มข้อมูลในฐานข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ หรือ เป็นตารางที่เหมาะสม การออกแบบเริ่มต้นด้วยการพิจารณาว่าหน่วยงานจะต้องใช้ข้อมูลอะไรบ้าง ข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไรบ้าง จะจัดกลุ่มข้อมูลอย่างไรจึงจะเหมาะสมและไม่เกิดความซ้ำซ้อน การพิจารณาการจัดกลุ่มนี้จะต้องคำนึงถึงลักษณะของประเภทฐานข้อมูลที่จะจัดทำขึ้นด้วย

2.2 การออกแบบเชิงกายภาพ เน้นในด้านการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการหรือตารางข้อมูลต่างๆ จะจัดเก็บลงในสื่อข้อมูลเช่นจานแม่เหล็กได้อย่างไร มีการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการเป็นข้อมูลประเภทอักขระ จำนวน หรือประเภทอื่นๆ และต้องใช้เนื้อที่ในการเก็บมากน้อยเท่าใด การออกแบบฐานข้อมูลในส่วนนี้จำเป็นจะต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาด้านฐานข้อมูลมาโดยตรง

ฐานข้อมูลเป็นงานประยุกต์คอมพิวเตอร์ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในยุคปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่างานประยุกต์คอมพิวเตอร์ทุกงานล้วนต้องสร้างขึ้นบนฐานข้อมูลแทบทั้งสิ้น ดังนั้นการศึกษาทำความเข้าใจเรื่องของฐานข้อมูลจึงเป็นเรื่องจำเป็น ยิ่งหากได้ศึกษาจนถึงขั้นออกแบบและใช้งานได้จริงแล้วยิ่งจะเป็นประโยชน์มากขึ้นเป็นทวีคูณ

ที่มา
//sot.swu.ac.th/cp342/lesson01/ms3t2.htm
//pil2ate.site50.net/index.php?option=com_content&task=view&id=17&Itemid=38



นายศราวฒิ ทดกลาง หมู่ 22 (อ.เช้า)


โดย: นายศราวุฒิ ทดกลาง IP: 58.147.7.66 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:02:54 น.  

 
โครงสร้างข้อมูล.(Data Structure)

ในการนำข้อมูลไปใช้นั้น เรามีระดับโครงสร้างของข้อมูลดังนี้

- บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น

- ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น

- ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น

- เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด

- ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น

- ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น



โดย: นายอายุวัฒฯ นามมาลา หมู่.29 พุธเช้า IP: 172.23.8.231, 58.137.131.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:26:55 น.  

 

1.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html



โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 202.29.5.62 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:13:05:40 น.  

 



ข้อที่ 1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ โครงสร้างของข้อมูล
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส
2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1
3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์
4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น
5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย
6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง
7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์
8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่นแฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน
นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ
เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด
แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น
บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น
แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น
แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)
บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)

ข้อที่ 2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ 1.แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

2.การออกแบบฐานข้อมูล
สรุปได้ว่าแฟ้มข้อมูลที่กล่าวถึงนั้นคือสิ่งเดียวกันแต่เมื่อมองจากต่างมุมจะมองเห็นต่างกัน ซึ่งในมุมมองของผู้ใช้นั้นเป็นมุมมองเชิงตรรกะ ขณะที่มุมมองของระบบปฏิบัติการเป็นมุมมองเชิงกายภาพ

การสร้างฐานข้อมูลขึ้นใช้งานในองค์การหรือหน่วยงานต่างๆ ก็จำเป็นจะต้องดำเนินการตามขั้นตอนที่เหมาะสม และต้องมีวิธีจัดการข้อมูล โดยปกติการสร้างฐานข้อมูลจำเป็นจะต้องออกแบบฐานข้อมูลเป็นสองระยะหรือสองขั้นตอนด้วยกัน ขั้นแรกก็คือการออกแบบเชิงแนวคิด (conceptual design) หรือเชิงตรรกะ (logical design) และขั้นที่สองก็คือการออกแบบเชิงกายภาพ (physical design)

2.1 การออกแบบเชิงตรรกะเน้นในด้านการจัดกลุ่มข้อมูลในฐานข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ หรือ เป็นตารางที่เหมาะสม การออกแบบเริ่มต้นด้วยการพิจารณาว่าหน่วยงานจะต้องใช้ข้อมูลอะไรบ้าง ข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไรบ้าง จะจัดกลุ่มข้อมูลอย่างไรจึงจะเหมาะสมและไม่เกิดความซ้ำซ้อน การพิจารณาการจัดกลุ่มนี้จะต้องคำนึงถึงลักษณะของประเภทฐานข้อมูลที่จะจัดทำขึ้นด้วย

2.2 การออกแบบเชิงกายภาพ เน้นในด้านการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการหรือตารางข้อมูลต่างๆ จะจัดเก็บลงในสื่อข้อมูลเช่นจานแม่เหล็กได้อย่างไร มีการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการเป็นข้อมูลประเภทอักขระ จำนวน หรือประเภทอื่นๆ และต้องใช้เนื้อที่ในการเก็บมากน้อยเท่าใด การออกแบบฐานข้อมูลในส่วนนี้จำเป็นจะต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาด้านฐานข้อมูลมาโดยตรง

ฐานข้อมูลเป็นงานประยุกต์คอมพิวเตอร์ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในยุคปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่างานประยุกต์คอมพิวเตอร์ทุกงานล้วนต้องสร้างขึ้นบนฐานข้อมูลแทบทั้งสิ้น ดังนั้นการศึกษาทำความเข้าใจเรื่องของฐานข้อมูลจึงเป็นเรื่องจำเป็น ยิ่งหากได้ศึกษาจนถึงขั้นออกแบบและใช้งานได้จริงแล้วยิ่งจะเป็นประโยชน์มากขึ้นเป็นทวีคูณ

ที่มา
//sot.swu.ac.th/cp342/lesson01/ms3t2.htm
//pil2ate.site50.net/index.php?option=com_content&task=view&id=17&Itemid=38


โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 202.29.5.62 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:13:09:06 น.  

 
1. โครงสร้างข้อมูล

โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)


อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์


2. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)

อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล







โครงสร้างข้อมูล.(Data Structure)

ในการนำข้อมูลไปใช้นั้น เรามีระดับโครงสร้างของข้อมูลดังนี้

- บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น

- ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น

- ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น

- เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด

- ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น

- ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น



หน่วยในการวัดขนาดของข้อมูล

8 Bit = 1 Byte
1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต์)
1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต์)
1,024 MB = 1 GB (กิกะไบต์)
1,024 GB = 1TB (เทระไบต์)


แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร



Create Date : 11 มิถุนายน 2552
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 10:12:11 น.

Counter : 491 Pageviews. 121 comments

Add to







1.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา

//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html




โดย: นศ.ณัฐชนันท์พร ศรีบุญเรือง (หมู่08 เช้า พฤ ) IP: 172.29.85.18, 58.137.131.62 วันที่: 11 มิถุนายน 2552 เวลา:15:25:59 น.







โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)






โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:12:29:54 น.







ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น แต่ ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง



โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:12:41:18 น.







โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)
ที่มา


//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html





โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:13:05:38 น.







ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง แต่ ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo342.htm



โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:13:09:23 น.







1.ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน
ที่มา
//www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html
2.โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสาร้างเชิงการยภายและเชิงตรรกะแตกต่างกันคือ
ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูลภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดูข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่างแนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual ) กับระดับภายนอก ( External Level ) นั่นเอง หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง
ที่มา
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo342.htm




โดย: นางสาวเกศรินทร์ ไชยปัญญา (ม.08 พฤ เช้า) IP: 124.157.220.45 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:17:04:02 น.







โครงสร้างข้อมูล (Data structure)

1. Bit (Binary digit)
ในระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล คือ bit (Bit) ซึ่งย่อมาจากคำว่า Binary digit หรือเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 ใช้แทนข้อมูล เหตุการณ์หรือสถานะ ได้เพียง 2 อย่างเท่านั้น เช่น จริง/เท็จ มี/ไม่มี จ่ายแล้ว/ยังไม่จ่าย เปิด/ปิด เป็นต้น ย่อมไม่เพียงพอต่อการแทนข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ จึงมีการนำเอา bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการแทนข้อมูลอักขระ 1 ตัว
2. อักขระ (Character)
เขตข้อมูลเกิดจากการนำเอาข้อมูล bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน โดยการรวมกันนี้เป็นการรวมกันเพื่อให้ได้จุดมุ่งหมายบางอย่าง (รวมกันแล้วได้อักขระ 1 ตัว) โดยในการนำเอาข้อมูล bit มารวมกันเพื่อให้เกิดอักขระนี้จะอาศัยมาตรฐานของรหัสแทน ข้อมูล ซึ่งรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ รหัส ASCII และ EBCDIC โดยทั้งสองรหัสนี้จะนำเอา bit จำนวน 8 bit มารวมกัน เพื่อสร้างอักขระ 1 ตัว
3. เขตข้อมูล (Field) / Attribute
เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้ที่เล็กที่สุด ซึ่ง Field จะเกิดจากการนำเอาอักขระต่างๆ มารวมกัน แล้วให้ความหมาย หรือบ่งบอกข้อมูลบางสิ่งบางอย่างได้

4. ระเบียนข้อมูล (Record)
ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการรวมกันของเขตข้อมูลต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ (Logical relation) หรือรวมกันอย่างมีจุดประสงค์ เขตข้อมูลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ แม้นำมารวมกันก็ไม่เกิดความหมายหรือไม่เป็นระเบียบ
5. แฟ้มข้อมูล (File) / Entity
แฟ้มข้อมูล จะเป็นส่วนที่รวบรวมเอาระเบียนข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกัน มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา ก็จะรวบรวมเอาระเบียนข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของนักศึกษาแต่ละคนที่มีอยู่ทั้งหมดมารวมเข้าไว้ด้วยกัน
6.ฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูลจะเป็นส่วนที่ใช้รวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยการรวบรวมข้อมูลนี้ จะอยู่ภายใต้หัวเรื่องหรือจุดประสงค์เดียวกัน หรือเป็นข้อมูลที่รวบรวมไว้ใช้ในการตอบคำถามหรือตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน (ภายใต้วัตถุประสงค์ของฐานข้อมูล
ที่มา
://www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html
ความแตกต่างระหว่างโครงสร้างเชิงกายภาพและเชิงตรรกะ
ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด
ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร
ที่มา
://sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm






โดย: นาย วัชฤทธิ์ มวลพิทักษ์ หมู่22 อ.เช้า IP: 125.26.175.79 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:13:58:07 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน



โดย: นาย เกรียงไกร สลับศรี หมู่1 จ.บ่าย IP: 192.168.10.106, 117.47.12.205 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:18:35:32 น.  

 
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical data structure)
เป็นโครงสร้างที่กำหนดจากวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่างๆ เช่น เนื้อที่สำหรับจัดเก็บ ตำแหน่งในการจัดเก็บฐานข้อมูล เป็นต้น
โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical data structure)
เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical data model)
นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบของโครงสร้างต้นไม้ (tree structure)
มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูก คือ พ่อ (parent) 1 คนมีลูก (child) ได้หลายคน หรือแบบพ่อคนเดียวมีลูก 1 คนแต่ลูกมีพ่อได้คนเดียว
ลักษณะเด่นคือ มีความซับซ้อนน้อย เข้าใจง่าย ค่าใช้จ่ายไม่สูง ป้องกันความลับของข้อมูลได้ดี เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นระดับและเรียงลำดับต่อเนื่อง
ข้อจำกัด คือ ไม่สามารถรองรับความสัมพันธ์ของข้อมูลแบบลูกมีพ่อได้หลายคนได้ มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากและมีความคล่องตัวน้อยกว่าโครงสร้างแบบอื่น เพราะเรียกใช้ข้อมูลต้องผ่านทางต้นกำเนิดเสมอ ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลซึ่งปรากฏในระดับล่าง ๆ แล้วจะต้องค้นหาทั้งแฟ้ม




โดย: นาย เกรียงไกร สลับศรี หมู่1 จ.บ่าย IP: 192.168.10.106, 117.47.12.205 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:18:38:16 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ โครงสร้างของข้อมูล
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส
2. บิท (Bit : Binary Digit)คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1
3. ไบต์ (Byte) คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์
4. อักขระ (Character) คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น
5. คำ (Word) คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย
6. เขตข้อมูล (Field)คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง
7. ระเบียน (Record)คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์
8. แฟ้มข้อมูลคือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกันและสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่นแฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน
นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ
เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด
แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น
บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้นแอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)
บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)

ที่มา:
www.thaigoodview.com/library/.../lopburi/.../sec01p01.html

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)
อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์
โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)
อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล

ที่มา: //www..stkc.go.th/stportal.php?app=stportalContent.php





โดย: เบญจมาศ โคตรเพชร หมู่ 08 รหัส 52040332107 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:12:30:13 น.  

 
1.1 โครงสร้างของข้อมูล



ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา : //www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html


1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูล
1.แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

ที่มา : //sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm



โดย: ปรีชา กลมเกลียว หมู่8 พฤหัสบดีเช้า รหัส 52040901222 IP: 124.157.139.201 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:15:45:47 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบาย2.4 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์

ในปัจจุบันสังคมเป็นสังคมสารสนเทศ ข้อมูลถือเป็นทรัพยากรที่มีค่าของทุก ๆ หน่วยงาน ไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่ หน่วยงานที่สามารถจัดการข้อมูลได้ดีกว่าย่อมได้เปรียบกว่าในทุก ๆ ด้าน ดังนั้นจึงได้มีความพยายามนำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูล โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ข้อมูลของหน่วยงานมีความถูกต้อง แม่นยำ ทันสมัย และสะดวกต่อการเรียกใช้งานมากที่สุด หากจะพิจารณาถึงการจัดการข้อมูลย่อมจะหมายถึง การจัดเก็บข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมาใช้งาน ลองพิจารณาถึงคลินิกแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นหน่วยงานเล็ก ๆ ก็ยังต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลคนไข้ที่มารับการรักษา ข้อมูลที่ต้องการเก็บ ได้แก่ ประวัติส่วนตัวของคนไข้ อาการที่มารับการรักษา วิธีการรักษา และผลการรักษา วิธีหนึ่งที่ทำกันก็คือการจดบันทึกข้อมูลทั้งหมดลงบนกระดาษและเก็บกระดาษนั้นไว้ ซึ่งมีหัวข้อที่ซ้ำกัน เช่น ข้อความของหัวข้อ ชื่อคนไข้ และที่อยู่ ฯลฯ หากเจ้าหน้าที่ต้องเขียนทุกใบก็จะเป็นการเสียเวลา ดังนั้นทางคลินิกอาจใช้วิธีจ้างโรงพิมพ์พิมพ์แบบฟอร์มขึ้นมา เพื่อให้การกรอกข้อมูลง่ายขึ้น รูปที่ 2.9 แสดงตัวอย่างของแบบฟอร์มที่คลินิกแห่งหนึ่งใช้



รูปที่ 2.9 ตัวอย่างแบบฟอร์มบัตรคนไข้

เมื่อพิจารณาบัตรคนไข้ จะเห็นว่า ข้อมูลที่อยู่บนบัตรมีความหมายต่าง ๆ กัน การที่ข้อมูลแสดงความหมายได้ จะต้องประกอบด้วยส่วนข้อมูลที่พิมพ์บนบัตรกับส่วนข้อมูลที่กรอกเพิ่มเติม ข้อมูลที่พิมพ์บนบัตรคือส่วนที่อธิบายลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ ทำให้ส่วนข้อมูลที่กรอกเพิ่มเติมชัดเจน การจะใช้งานข้อมูลให้ได้ผลดี จึงต้องมีทั้งตัวข้อมูลและคำอธิบายลักษณะของข้อมูล

ในการจัดเก็บข้อมูลเหล่านี้ ทางคลินิกใช้ตู้เก็บเอกสารขนาดใหญ่สำหรับเก็บแบบฟอร์มและเรียงไว้ในลิ้นชัก เมื่อมีคนไข้ใหม่เพิ่มขึ้นก็เพิ่มแบบฟอร์มแผ่นใหม่เข้าไป และในการเรียกใช้ข้อมูลเมื่อมีคนไข้มาติดต่อ เจ้าหน้าที่ต้องค้นหาข้อมูลเดิมของคนไข้ วิธีหนึ่งที่ทำได้คือตรวจดูข้อมูลบนบัตรคนไข้ทีละใบตั้งแต่ใบแรกจนพบ การค้นหาวิธีนี้อาจเสียเวลามาก แต่ถ้าจัดเก็บข้อมูลโดยเรียงชื่อตามตัวอักษรไว้แล้ว จะทำได้รวดเร็วขึ้น

การจัดการข้อมูลจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานในชีวิตประจำวัน และมีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยประมวลผล เพื่อได้ข้อมูลที่ถูกต้องอย่างรวดเร็ว การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องมีหลักการและวิธีการที่เป็นระบบ และการเก็บข้อมูลควรพยายามลดขนาดของข้อมูลให้เล็กที่สุด แต่ยังคงความหมายในตัวเองมากที่สุด

ดังที่กล่าวมาแล้วว่าการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์นั้น เป็นการเก็บข้อมูลไว้ในสื่อบันทึก เช่น เทปแม่เหล็ก แผ่นบันทึก หรือจานแม่เหล็ก โดยที่ข้อมูลนั้นอยู่ในรูปของเลขฐานสองหลายบิตเรียงกัน ดังนั้นในการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการประมวลผลจึงต้องกำหนดรูปแบบหรือโครงสร้างของข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ตรงกัน โดยโครงสร้างของข้อมูลจะประกอบด้วย 5 ลำดับ ดังนี้

(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป



รูปที่ 2.10 แสดงความสัมพันธ์ของโครงสร้างข้อมูลภายในแฟ้มข้อมูล

พิจารณาการเก็บประวัติของนักเรียนในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ประวัติของนักเรียนคนหนึ่ง ๆ จะบันทึกลงในระเบียนประวัติหนึ่งใบ โดยประกอบด้วยเขตข้อมูลต่าง ๆ เช่น ชื่อ นามสกุล วัน เดือน ปีเกิด ฯลฯ โดยที่ข้อมูลเหล่านี้อาจเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได้ และใบระเบียนประวัติของนักเรียนในโรงเรียนจะได้รับการจัดเก็บไว้ในแฟ้มเดียวกัน ดังรูปที่ 2.11







ระเบียนประวัติของนักเรียนทั้งหมดเรียกว่า “แฟ้มข้อมูล” ประวัตินักเรียนของโรงเรียน

ระเบียนประวัติของนักเรียนแต่ละคนเรียกว่า “ระเบียนข้อมูล” ประวัตินักเรียน

ข้อมูลแต่ละค่าในระเบียนประวัติเรียกว่า “เขตข้อมูล” ประวัตินักเรียน ซึ่งอาจเป็นตัวเลขหรือตัวหนังสือ
สำหรับการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์นั้น จะเหมือนกับการจัดเก็บข้อมูลทั่วไป คือ เป็นแฟ้มข้อมูล ระเบียนข้อมูล และเขตข้อมูล จากรูปการจัดการข้อมูลทั่วไปในรูปที่ 2.11 นั้น สามารถจัดเก็บในคอมพิวเตอร์ได้ดังรูปที่ 2.12 โดยจะเห็นว่าแฟ้มข้อมูลอยู่ในรูปตารางสองมิติ แต่ละแถวจะแสดงระเบียนแต่ละระเบียน และแต่ละสดมภ์จะแสดงเขตข้อมูลต่าง ๆ แต่ละเขตข้อมูลมีชื่อกำกับบอกไว้ จะสังเกตได้ว่าความสัมพันธ์ของข้อมูลจะสัมพันธ์กันในแต่ละระเบียน โดยมีความหมายในตัวเองและไม่เกี่ยวข้องกับลำดับระเบียน

ในการจัดเก็บข้อมูลต้องกำหนดคุณสมบัติของข้อมูลให้ชัดเจน ตลอดจนวิธีการเตรียมข้อมูลเพื่อการประมวลผลดังต่อไปนี้

1) กำหนดชื่อและจำนวนเขตข้อมูลในระเบียนข้อมูล

เช่น ในข้อมูลระเบียนนักเรียนดังรูปที่ 2.12 อาจประกอบด้วยเขตข้อมูลจำนวน 6 เขต คือ

เขตข้อมูลที่ 1 ชื่อเขตข้อมูล ID หมายถึง เลขประจำตัวนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 2 ชื่อเขตข้อมูล NAME หมายถึง ชื่อ - สกุลนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 3 ชื่อเขตข้อมูล GENDER หมายถึง เพศของนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 4 ชื่อเขตข้อมูล BIRTHDAY หมายถึง วัน เดือน ปีเกิดของนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 5 ชื่อเขตข้อมูล FA_NAME หมายถึง ชื่อบิดาของนักเรียน

เขตข้อมูลที่ 6 ชื่อเขตข้อมูล MO_NAME หมายถึง ชื่อมารดาของนักเรียน

2) กำหนดชนิดและขนาดของเขตข้อมูลแต่ละเขต

เช่น เขตข้อมูล NAME เป็นตัวอักษร ขนาด 30 ตัวอักษร

3) กำหนดวิธีการและสื่อในการจัดเก็บข้อมูล

แฟ้มข้อมูลจะได้รับการนำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ โดยข้อมูลนี้อาจได้รับการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมหรือตัดออกได้มื่อนำเขตข้อมูลทั้งหมดมาวางเรียงกัน จะเกิดรูปแบบที่เรียกว่า “โครงสร้างระเบียน” ซึ่งสามารถใช้เป็นเครื่องบ่งบอกถึงโครงสร้างของแฟ้มนั้นได้ เช่น แฟ้มประวัตินักเรียน มีแต่ละระเบียนอาจเลือกเขตข้อมูลหนึ่ง ซึ่งสามารถบ่งบอกความแตกต่างของข้อมูลให้ทราบได้อย่างมีนัยสำคัญมาเป็นตัวบ่งชี้ความแตกต่างของระเบียนแต่ละระเบียน ซึ่งเรียกว่า “กุญแจ” (Key) เช่น ระเบียนประวัตินักเรียนอาจเลือกเขตข้อมูล ID เป็นกุญแจ เพราะเขตข้อมูลนี้จะบ่งบอกความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ กล่าวคือ จะบอกได้ว่าเป็นนักเรียนคนเดียวกันหรือไม่ ถ้าข้อมูลในเขตข้อมูล ID เหมือนกัน แสดงว่าเป็นคนเดียวกัน แต่ถ้าไม่เหมือนกัน แสดงว่าเป็นคนละคนกัน

//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


นายเจริญชัย ผ่ามดิน หมู่ 22 (อ.เช้า)


โดย: นายเจริญชัย ผ่ามดิน IP: 58.137.131.62 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:10:29:52 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

ที่มา//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


โดย: นางสาวปาริฉัตร สาริมุ้ย หมู่ 1จันทร์บ่าย IP: 119.42.110.112 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:17:37:35 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
-โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)

www.thaigoodview.com


โดย: นางสาววันวิสาข์ ศรีทอง หมู่ 1เรียนจันทร์บ่าย IP: 119.42.110.112 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:17:38:55 น.  

 
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบ
ต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
2.1 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงาน


เกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

2.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บ

รวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี(indexed)ในระดับภายในหรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง
ที่มา//dbcorner.comoj.com/page2_2.html




โดย: นางสาวปาริฉัตร สาริมุ้ย หมู่ 1จันทร์บ่าย IP: 119.42.110.112 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:17:41:52 น.  

 
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
-สรุปได้ว่าแฟ้มข้อมูลที่กล่าวถึงนั้นคือสิ่งเดียวกันแต่เมื่อมองจากต่างมุมจะมองเห็นต่างกัน ซึ่งในมุมมองของผู้ใช้นั้นเป็นมุมมองเชิงตรรกะ ขณะที่มุมมองของระบบปฏิบัติการเป็นมุมมองเชิงกายภาพ

การสร้างฐานข้อมูลขึ้นใช้งานในองค์การหรือหน่วยงานต่างๆ ก็จำเป็นจะต้องดำเนินการตามขั้นตอนที่เหมาะสม และต้องมีวิธีจัดการข้อมูล โดยปกติการสร้างฐานข้อมูลจำเป็นจะต้องออกแบบฐานข้อมูลเป็นสองระยะหรือสองขั้นตอนด้วยกัน ขั้นแรกก็คือการออกแบบเชิงแนวคิด (conceptual design) หรือเชิงตรรกะ (logical design) และขั้นที่สองก็คือการออกแบบเชิงกายภาพ (physical design)

2.1 การออกแบบเชิงตรรกะเน้นในด้านการจัดกลุ่มข้อมูลในฐานข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ หรือ เป็นตารางที่เหมาะสม การออกแบบเริ่มต้นด้วยการพิจารณาว่าหน่วยงานจะต้องใช้ข้อมูลอะไรบ้าง ข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไรบ้าง จะจัดกลุ่มข้อมูลอย่างไรจึงจะเหมาะสมและไม่เกิดความซ้ำซ้อน การพิจารณาการจัดกลุ่มนี้จะต้องคำนึงถึงลักษณะของประเภทฐานข้อมูลที่จะจัดทำขึ้นด้วย

2.2 การออกแบบเชิงกายภาพ เน้นในด้านการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการหรือตารางข้อมูลต่างๆ จะจัดเก็บลงในสื่อข้อมูลเช่นจานแม่เหล็กได้อย่างไร มีการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการเป็นข้อมูลประเภทอักขระ จำนวน หรือประเภทอื่นๆ และต้องใช้เนื้อที่ในการเก็บมากน้อยเท่าใด การออกแบบฐานข้อมูลในส่วนนี้จำเป็นจะต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาด้านฐานข้อมูลมาโดยตรง

ฐานข้อมูลเป็นงานประยุกต์คอมพิวเตอร์ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในยุคปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่างานประยุกต์คอมพิวเตอร์ทุกงานล้วนต้องสร้างขึ้นบนฐานข้อมูลแทบทั้งสิ้น ดังนั้นการศึกษาทำความเข้าใจเรื่องของฐานข้อมูลจึงเป็นเรื่องจำเป็น ยิ่งหากได้ศึกษาจนถึงขั้นออกแบบและใช้งานได้จริงแล้วยิ่งจะเป็นประโยชน์มากขึ้นเป็นทวีคูณ
dbcorner.comoj.com


โดย: นางสาววันวิสาข์ ศรีทอง หมู่ 1เรียนจันทร์บ่าย IP: 119.42.110.112 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:17:42:28 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ 1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)
(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป
(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป
(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

ที่มา //www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm


โดย: นางสาวปัทมาวดี ไชยลา หมู่1 เรียนวันจันทร์บ่าย IP: 119.42.110.3 วันที่: 29 กันยายน 2552 เวลา:14:13:06 น.  

 
1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ เชิงกายภาพและตรรกเนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบ
ต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
2.1 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ
2.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้นจากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บ
รวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี(indexed)ในระดับภายในหรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป
ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว

ที่มา //dbcorner.comoj.com/page2_2.html


โดย: นางสาวปัทมาวดี ไชยลา หมู่1 เรียนวันจันทร์บ่าย IP: 119.42.110.3 วันที่: 29 กันยายน 2552 เวลา:14:17:24 น.  

 
1.1 โครงสร้างของข้อมูล



ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


ที่มา : //www.nukul.ac.th/it/content/01/1-1.html


โดย: น.ส. สุกัญญา พรมสวัสดิ์ (หมู่ที่ 15 ศุกร์ เช้า ) IP: 61.19.119.253 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:13:34:39 น.  

 
ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/chayamon_b/com/sec01p01.html

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร


ความเป็นอิสระของข้อมูล
1.แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ

1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป

2.การออกแบบฐานข้อมูล
สรุปได้ว่าแฟ้มข้อมูลที่กล่าวถึงนั้นคือสิ่งเดียวกันแต่เมื่อมองจากต่างมุมจะมองเห็นต่างกัน ซึ่งในมุมมองของผู้ใช้นั้นเป็นมุมมองเชิงตรรกะ ขณะที่มุมมองของระบบปฏิบัติการเป็นมุมมองเชิงกายภาพ

การสร้างฐานข้อมูลขึ้นใช้งานในองค์การหรือหน่วยงานต่างๆ ก็จำเป็นจะต้องดำเนินการตามขั้นตอนที่เหมาะสม และต้องมีวิธีจัดการข้อมูล โดยปกติการสร้างฐานข้อมูลจำเป็นจะต้องออกแบบฐานข้อมูลเป็นสองระยะหรือสองขั้นตอนด้วยกัน ขั้นแรกก็คือการออกแบบเชิงแนวคิด (conceptual design) หรือเชิงตรรกะ (logical design) และขั้นที่สองก็คือการออกแบบเชิงกายภาพ (physical design)

2.1 การออกแบบเชิงตรรกะเน้นในด้านการจัดกลุ่มข้อมูลในฐานข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ หรือ เป็นตารางที่เหมาะสม การออกแบบเริ่มต้นด้วยการพิจารณาว่าหน่วยงานจะต้องใช้ข้อมูลอะไรบ้าง ข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไรบ้าง จะจัดกลุ่มข้อมูลอย่างไรจึงจะเหมาะสมและไม่เกิดความซ้ำซ้อน การพิจารณาการจัดกลุ่มนี้จะต้องคำนึงถึงลักษณะของประเภทฐานข้อมูลที่จะจัดทำขึ้นด้วย

2.2 การออกแบบเชิงกายภาพ เน้นในด้านการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการหรือตารางข้อมูลต่างๆ จะจัดเก็บลงในสื่อข้อมูลเช่นจานแม่เหล็กได้อย่างไร มีการกำหนดว่าข้อมูลแต่ละรายการเป็นข้อมูลประเภทอักขระ จำนวน หรือประเภทอื่นๆ และต้องใช้เนื้อที่ในการเก็บมากน้อยเท่าใด การออกแบบฐานข้อมูลในส่วนนี้จำเป็นจะต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาด้านฐานข้อมูลมาโดยตรง

ฐานข้อมูลเป็นงานประยุกต์คอมพิวเตอร์ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในยุคปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่างานประยุกต์คอมพิวเตอร์ทุกงานล้วนต้องสร้างขึ้นบนฐานข้อมูลแทบทั้งสิ้น ดังนั้นการศึกษาทำความเข้าใจเรื่องของฐานข้อมูลจึงเป็นเรื่องจำเป็น ยิ่งหากได้ศึกษาจนถึงขั้นออกแบบและใช้งานได้จริงแล้วยิ่งจะเป็นประโยชน์มากขึ้นเป็นทวีคูณ

//sot.swu.ac.th/CP342/Lesson01/cs3t2.htm


โดย: น.ส.จิราภรณ์ ศุกรักษ์(หมู่15 ศุกร์ เช้า) IP: 222.123.58.158 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:13:42:36 น.  

 
1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูล
1.แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น
ที่มา //sot.swu.ac.th/cp342/lesson01/ms3t2.htm


โดย: น.ส. สุกัญญา พรมสวัสดิ์ (หมู่ที่ 15 ศุกร์ เช้า ) IP: 61.19.119.253 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:13:44:51 น.  

 
โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)



โดย: นาย ณัฐพงศ์ มันทะลา IP: 124.157.129.36 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:18:42:31 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
-โครงสร้างของข้อมูล


1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)

www.thaigoodview.com
นายจรัสพงษ์ ด้วงสดี หมู่ 29 พุธเช้า รหัส 52040271103


โดย: นายจรัสพงษ์ ด้วงสดี IP: 119.31.69.140 วันที่: 2 ตุลาคม 2552 เวลา:13:44:35 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน

ที่มา//www.nrru.ac.th/learning/science/sc_007/03/unit3/data2.html

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure)
อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กและดิสก์
2. โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logic Data Structure)
อธิบายการจัดเก็บข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แสดงให้เห็นถึงการจัดระเบียบการทำงานและการมีปฎิสัมพันธ์ภายในระบบฐานข้อมูลโดยมีลำดับขั้นจากหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดไปยังฐานข้อมูล
ที่มา
//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5


โดย: นางสาวกฤตยา อินทร์กอ หมู่ 22 IP: 118.174.22.110 วันที่: 4 ตุลาคม 2552 เวลา:1:00:44 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

ที่มา:
//www.hatyaiwit.ac.th/media/41101/Lesson2/Page204.htm

1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical data structure)
เป็นโครงสร้างที่กำหนดจากวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่างๆ เช่น เนื้อที่สำหรับจัดเก็บ ตำแหน่งในการจัดเก็บฐานข้อมูล เป็นต้น

โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical data structure)
เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล

ที่มา://sot.swu.ac.th/CP342/lesson01/cs3t2.htm

โดย นางสาว สุดารัตน์ นรินทร์ หมู่08 พฤหัสเช้า 08.00-12.00น.


โดย: นางสาวสุดารัตน์ นรินทร์ IP: 125.26.164.252 วันที่: 5 ตุลาคม 2552 เวลา:9:25:10 น.  

 
นส.เพ็ญนภา เจริญทรง
49240428132 ม.05
ส.13.00-16.00 น.

โครงสร้างของข้อมูล
1. รหัส (Code)
คือ สัญลักษณ์ใช้แทนข้อมูล โดยปกติใช้เลขฐานสองเป็นรหัส

2. บิท (Bit : Binary Digit)
คือหลักในเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1

3. ไบต์ (Byte)
คือ กลุ่มของบิทโดยกำหนดให้ 8 บิท = 1 ไบต์

4. อักขระ (Character)
คือ รูปแบบ หรือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาของมนุษย์ แบ่งได้ ดังนี้
4.1 ตัวอักษร (Font) ได้แก่ A-Z,ก-ฮ เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ได้แก่ 0-9 เป็นต้น
4.3 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Symbol) ได้แก่ @, &, $ เป็นต้น

5. คำ (Word)
คือ กลุ่มของอักขระรวมกันเป็นความหมาย

6. เขตข้อมูล (Field)
คือ คืออักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นรายละเอียด
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ,ที่อยู่หรือตำแหน่ง

7. ระเบียน (Record)
คือ ชุดของเขตข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์

8. แฟ้มข้อมูล
คือ ระเบียน ตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป มีโครงสร้างของข้อมูลเหมือนกัน
และสัมพันธ์กัน มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน สามารถนำไปใช้งานได้ เช่น
แฟ้มข้อมูลนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน


นอกจากโครงสร้างของข้อมูลทั้ง 8 โครงสร้างแล้ว ระบบฐานข้อมูลจำเป็นต้องอาศัยโครงสร้างของข้อมูลเพิ่มอีก 2 ชนิดคือ

เอนทิตี้ (ENTITY) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ของลูกค้า เอนทิตี้ของพนักงาน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัตินักสึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนทิตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของนักศึกษาคนใด

แอททริบิวต์ (ATTRIBUTE) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักเรียนศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

บางเอนทิตี้ก็ยังประกอบด้วยข้อมูลหลายส่วน กลายแอททริบิวต์ย่อยมารวมกัน เช่น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ดังนั้น

แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษาจึงเป็น แอททริบิวต์ผสม (COMPOSITE ATTRIBUTE)

บางแอททริบิวต์ก็อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น เช่น แอททริบิวต์อายุ อาจคำนวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจเรียกแอททริบิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปรผลค่ามา (DERIVED ATTRIBUTE)


โดย: นส.เพ็ญนภา เจริญทรง IP: 192.168.0.109, 180.183.67.230 วันที่: 6 ธันวาคม 2552 เวลา:14:17:01 น.  

 
แบบฝึกหัด
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด
ตอบ
(1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดในระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

(2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวในคอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte)

(3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

(4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป

(5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป

.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร
ตอบ
โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical data structure)
เป็นโครงสร้างที่กำหนดจากวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่างๆ เช่น เนื้อที่สำหรับจัดเก็บ ตำแหน่งในการจัดเก็บฐานข้อมูล เป็นต้น

โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical data structure)
เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล






โดย: นายธีรยุทธ วันทอง คบ.ภาษาอังกฤษ รหัส 52100102145 หมู่ 08 พฤหัสเช้า IP: 61.19.118.250 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:16:49:07 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

1. Bit (Binary digit)
ในระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล คือ bit (Bit) ซึ่งย่อมาจากคำว่า Binary digit หรือเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 ใช้แทนข้อมูล เหตุการณ์หรือสถานะ ได้เพียง 2 อย่างเท่านั้น เช่น จริง/เท็จ มี/ไม่มี จ่ายแล้ว/ยังไม่จ่าย เปิด/ปิด เป็นต้น ย่อมไม่เพียงพอต่อการแทนข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ จึงมีการนำเอา bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการแทนข้อมูลอักขระ 1 ตัว
________________________________________

2. อักขระ (Character)
เขตข้อมูลเกิดจากการนำเอาข้อมูล bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน โดยการรวมกันนี้เป็นการรวมกันเพื่อให้ได้จุดมุ่งหมายบางอย่าง (รวมกันแล้วได้อักขระ 1 ตัว) โดยในการนำเอาข้อมูล bit มารวมกันเพื่อให้เกิดอักขระนี้จะอาศัยมาตรฐานของรหัสแทน ข้อมูล ซึ่งรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ รหัส ASCII



________________________________________
3. เขตข้อมูล (Field) / Attribute
เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้ที่เล็กที่สุด ซึ่ง Field จะเกิดจากการนำเอาอักขระต่างๆ มารวมกัน แล้วให้ความหมาย หรือบ่งบอกข้อมูลบางสิ่งบางอย่างได้ เช่น

สมชาย = ชื่อ
404280001 = รหัสประจำตัวนักศึกษา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ = ชื่อวิชาเอก
________________________________________
4. ระเบียนข้อมูล (Record)
ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการรวมกันของเขตข้อมูลต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ (Logical relation) หรือรวมกันอย่างมีจุดประสงค์ เขตข้อมูลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ แม้นำมารวมกันก็ไม่เกิดความหมายหรือไม่เป็นระเบียบ (ไม่เกิดเป็นระเบียนข้อมูลด้วย)
ระเบียนข้อมูล 1 ระเบียน ก็หมายถึง ข้อมูล 1 ชุดข้อมูล (เช่น คน 1 คน, สิ่งของ 1 สิ่ง หรือวัตถุ 1 วัตถุ เป็นต้น) ระเบียน 1 ระเบียน จะประกอบไปด้วยเขตข้อมูล จำนวนกี่เขตข้อมูลก็ได้ แล้วแต่ว่าข้อมูลกี่เขตข้อมูลจึงจะสามารถรวมกันเป็นข้อมูล 1 ชุดได้ (ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบว่าจะจัดเก็บข้อมูลอะไรบ้างในระเบียนข้อมูลนั้นๆ)
________________________________________
5. แฟ้มข้อมูล (File) / Entity
แฟ้มข้อมูล จะเป็นส่วนที่รวบรวมเอาระเบียนข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกัน มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา ก็จะรวบรวมเอาระเบียนข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของนักศึกษาแต่ละคนที่มีอยู่ทั้งหมดมารวมเข้าไว้ด้วยกัน

6.ฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูลจะเป็นส่วนที่ใช้รวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยการรวบรวมข้อมูลนี้ จะอยู่ภายใต้หัวเรื่องหรือจุดประสงค์เดียวกัน หรือเป็นข้อมูลที่รวบรวมไว้ใช้ในการตอบคำถามหรือตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน (ภายใต้วัตถุประสงค์ของฐานข้อมูล)



1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ
1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป





โดย: **** นายสุรศักดิ์ พฤคณา 52100102101 คบ.ภาษาอังกฤษ หมู่ 8 พฤหัสบดี เช้า IP: 172.29.5.133, 58.147.7.67 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:16:52:12 น.  

 
1.1. ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของข้อมูลตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดไปหาหน่วยที่ใหญ่ที่สุด

1. Bit (Binary digit)
ในระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล คือ bit (Bit) ซึ่งย่อมาจากคำว่า Binary digit หรือเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 ใช้แทนข้อมูล เหตุการณ์หรือสถานะ ได้เพียง 2 อย่างเท่านั้น เช่น จริง/เท็จ มี/ไม่มี จ่ายแล้ว/ยังไม่จ่าย เปิด/ปิด เป็นต้น ย่อมไม่เพียงพอต่อการแทนข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ จึงมีการนำเอา bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการแทนข้อมูลอักขระ 1 ตัว
________________________________________

2. อักขระ (Character)
เขตข้อมูลเกิดจากการนำเอาข้อมูล bit มารวมเข้าไว้ด้วยกัน โดยการรวมกันนี้เป็นการรวมกันเพื่อให้ได้จุดมุ่งหมายบางอย่าง (รวมกันแล้วได้อักขระ 1 ตัว) โดยในการนำเอาข้อมูล bit มารวมกันเพื่อให้เกิดอักขระนี้จะอาศัยมาตรฐานของรหัสแทน ข้อมูล ซึ่งรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ รหัส ASCII



________________________________________
3. เขตข้อมูล (Field) / Attribute
เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้ที่เล็กที่สุด ซึ่ง Field จะเกิดจากการนำเอาอักขระต่างๆ มารวมกัน แล้วให้ความหมาย หรือบ่งบอกข้อมูลบางสิ่งบางอย่างได้ เช่น

สมชาย = ชื่อ
404280001 = รหัสประจำตัวนักศึกษา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ = ชื่อวิชาเอก
________________________________________
4. ระเบียนข้อมูล (Record)
ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการรวมกันของเขตข้อมูลต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ (Logical relation) หรือรวมกันอย่างมีจุดประสงค์ เขตข้อมูลที่ไม่มีความสัมพันธ์กันในเชิงตรรกะ แม้นำมารวมกันก็ไม่เกิดความหมายหรือไม่เป็นระเบียบ (ไม่เกิดเป็นระเบียนข้อมูลด้วย)
ระเบียนข้อมูล 1 ระเบียน ก็หมายถึง ข้อมูล 1 ชุดข้อมูล (เช่น คน 1 คน, สิ่งของ 1 สิ่ง หรือวัตถุ 1 วัตถุ เป็นต้น) ระเบียน 1 ระเบียน จะประกอบไปด้วยเขตข้อมูล จำนวนกี่เขตข้อมูลก็ได้ แล้วแต่ว่าข้อมูลกี่เขตข้อมูลจึงจะสามารถรวมกันเป็นข้อมูล 1 ชุดได้ (ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบว่าจะจัดเก็บข้อมูลอะไรบ้างในระเบียนข้อมูลนั้นๆ)
________________________________________
5. แฟ้มข้อมูล (File) / Entity
แฟ้มข้อมูล จะเป็นส่วนที่รวบรวมเอาระเบียนข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกัน มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา ก็จะรวบรวมเอาระเบียนข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของนักศึกษาแต่ละคนที่มีอยู่ทั้งหมดมารวมเข้าไว้ด้วยกัน

6.ฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูลจะเป็นส่วนที่ใช้รวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยการรวบรวมข้อมูลนี้ จะอยู่ภายใต้หัวเรื่องหรือจุดประสงค์เดียวกัน หรือเป็นข้อมูลที่รวบรวมไว้ใช้ในการตอบคำถามหรือตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน (ภายใต้วัตถุประสงค์ของฐานข้อมูล)



1.2. โครงสร้างแบบเชิงกายภาพ และเชิงตรรกะ ต่างกันอย่างไร

แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ
1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป





โดย: **** นายสุรศักดิ์ พฤคณา 52100102101 คบ.ภาษาอังกฤษ หมู่ 8 พฤหัสบดี เช้า IP: 172.29.5.133, 202.29.5.244 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:16:54:41 น.  

 
1.ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีการจัดโครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่มีขนาดต่างกัน ดังนี้

1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน


โดย: นาย นุกู,กิจ ลีทุม 52100102146 คบ.อังกฤษ หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) IP: 202.29.5.244 วันที่: 19 มกราคม 2553 เวลา:12:52:32 น.  

 
แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ
เนื่องจากฐานข้อมูลมีลักษณะเด่นที่เหนือกว่าระบบแฟ้มข้อมูล คือความเป็นอิสระของข้อมูล การที่ผู้ใช้ไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมที่ใช้งานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระดับแนวคิดหรือระดับภายใน โดยเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือดีบีเอ็มเอสในการเชื่อมข้อมูลระดับภายนอกและระดับแนวคิด และเชื่อมข้อมูลระดับแนวคิดกับระดับภายใน ซึ่งการเชื่อมนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระของข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบเกี่ยวกับข้อมูลส่วนอื่นๆ ที่ตนไม่ได้ใช้ ผู้ใช้มองเห็นโครงสร้างข้อมูลระดับภายนอกเหมือนเดิมและสามารถใช้งานได้ตามปกติ กล่าวคือข้อมูลภายในฐานข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่เรียกใช้ เพื่อที่สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้ฐานข้อมูลนั้น ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1.1ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) ตรรกะ (logical) ในความหมายที่ใช้กับระบบฐานข้อมูลจะหมายถึงมุมมองของผู้ใช้ต่อข้อมูลนั้น โดยขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าทำงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลลักษณะใด ตัวอย่าง ถ้ามีคำถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร ถ้าถามบุคคลในวงการคอมพิวเตอร์ คำตอบที่ได้คือที่เก็บรวบรวมเรคอร์ด เพราะว่าบุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่คือโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งในมุมมองของผู้เขียนโปรแกรมนั้นจะมองแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด นั่นคือขณะที่โปรแกรมเมอร์ใช้คำสั่งอ่านข้อมูล (read) 1 คำสั่งจะได้ข้อมูล 1 เรคอร์ด และเมื่อใช้คำสั่งเขียน (write) 1 คำสั่งจะบันทึกข้อมูล 1 เรคอร์ด นั่นคือในมุมมองของโปรแกรมเมอร์จะเห็นแฟ้มข้อมูลเป็นเรคอร์ด แต่ถ้าเราถามเจ้าหน้าที่สารบรรณว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร เจ้าหน้าที่สารบรรณจะตอบว่าคือที่เก็บรวบรวมตัวอักษรหรือข้อความ เพราะว่าเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมองแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บตัวอักษร เนื่องจากใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดจัดการกับข้อมูลและเก็บข้อมูลซึ่งเป็นตัวอักษรและข้อความต่างๆ เป็นแฟ้มข้อมูลนั่นเอง นั่นคือบุคคลเหล่านั้นทั้งโปรแกรมเมอร์และเจ้าหน้าที่สารบรรณมีมุมมองต่อแฟ้มข้อมูลต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้เห็นนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (logical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้ใช้งานอยู่ เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแอตทริบิวต์ในตารางฐานข้อมูลในระดับแนวคิด ก็ไม่จำเป็นต้องไปแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นในระดับภายนอกที่มีการเรียกใช้แอตทริบิวต์นั้นในการทำงานกับฐานข้อมูลต้องรู้ว่าสิ่งที่เราทำงานอยู่ด้วยนั้นเกี่ยวข้องกับระดับกายภาพหรือระดับตรรกะ
1.2 ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) กายภาพ (physical) ในความหมายของระบบผู้ใช้จะหมายถึงมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System; OS) ต่อข้อมูลนั้น จากคำถามข้างต้นถามว่าแฟ้มข้อมูลคืออะไร คำตอบที่ได้ในที่นี้คือที่เก็บรวบรวมบิตโดยนำรูปแบบของบิต (bit pattern) มาเรียงต่อกันเป็นสาย ซึ่งเป็นคำตอบในมุมมองของระบบปฏิบัติการ จะเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องกับเรคอร์ดหรือตัวอักษร ซึ่งแฟ้มข้อมูลในมุมมองของระบบปฏิบัติการนี้เรียกว่า แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (physical data independence) หมายถึง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูลในระดับแนวคิด หรือระดับภายนอก เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลำดับ (sequential) ไปเป็นแบบดัชนี (indexed) ในระดับภายใน ในระดับแนวคิดนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนในระดับภายนอกก็ไม่จำเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมตามวิธีการจัดเก็บที่เปลี่ยนแปลงไป


โดย: นาย นุกูลกิจ ลีทุม 52100102146 คบ.อังกฤษ หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) IP: 61.19.118.250 วันที่: 19 มกราคม 2553 เวลา:13:56:26 น.  

 
้่เอิ่ม


โดย: อิดอกมุก IP: 202.29.243.169 วันที่: 6 กันยายน 2559 เวลา:14:50:27 น.  

 
กดหหกิิแแฟ


โดย: ส่ิปดิ IP: 1.4.209.233 วันที่: 28 มิถุนายน 2560 เวลา:10:48:02 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 
 
 

neaup
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 35 คน [?]




มาเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้กันนะคะ
[Add neaup's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com
pantip.com pantipmarket.com pantown.com