เกลียดจริง ๆ คนไม่จริงใจ
 
3. ความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล

ความสัมพันธ์ (Relationship)


1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

ที่มา //www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo222.htm


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N)

ที่มา //www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo223.htm




คีย์(KEY)


คุณสมบัติหนึ่งที่สำคัญของความสัมพันธ์ก็คือ ความเป็นเอกลักษณ์ (Uniqueness property) สิ่งที่ใช้กำหนดความเป็นเอกลักษณ์ของแถวในความสัมพันธ์ เรียกว่า คีย์ (key)

ฐานข้อมูลหนึ่งๆ จะมีข้อมูลอยู่มากมาย ยิ่งฐานข้อมูลมีขนาดใหญ่ขึ้นก็จะมีข้อมูลจำนวนมากขึ้นเป็นเงาตามตัวข้อมูลเหล่านี้อาจมีค่าแตกต่างกัน คล้ายกัน หรือแม้กระทั่งเหมือนกัน ทำให้การแยกแยะโดยอาศัยเพียงตัวข้อมูลอย่างเดียวทำได้อย่างยากลำบาก ดังนั้นจึงมีการกำหนดค่า Keys ประจำข้อมูลเพื่อทำให้การแยกแยะข้อมูลในฐานข้อมูลเป็นไปอย่างถูกต้อง

คีย์มีหลายประเภท ได้แก่ คีย์หลัก, Secondary key, Foreign key, Candidate key

1. คีย์หลัก (Primary key)
คีย์หลัก คือ Key หลักที่ใช้ในการอ้างถึง Entity ในฐานข้อมูล การเลือกคีย์หลักสามารถเลือกได้จากRecord ใดๆ ก็ได้ที่ไม่มีโอกาสซ้ำซ้อนกันบนฐานข้อมูลนั้น

คีย์หลักเป็นข้อมูลสำคัญที่จะทำให้การเข้าถึงข้อมูลบนฐานข้อมูลเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นผู้ใช้จึงควรกำหนดคีย์หลักให้ชัดเจนตั้งแต่ขั้นตอนออกแบบฐานข้อมูล หากไม่มีข้อมูลใดเลยในฐานข้อมูลที่เหมาะที่จะเป็นคีย์หลักก็ควรที่จะกำหนด Record ใหม่สำหรับให้เป็นคีย์หลักโดยเฉพาะ

2. คีย์รอง (Secondary Key)
คีย์สำรอง คือ คีย์เดี่ยวหรือคีย์ผสม (Single or Composite key) ซึ่งเมื่อใช้ในการค้นหาข้อมูลจากความสัมพันธ์จะได้มากกว่าหนึ่งเรคคอร์ด ต่างจากคีย์หลักที่ทำให้ข้อมูลในตารางไม่ซ้ำกัน ดังนั้นคีย์รองจึงไม่จำเป็นจะต้องเป็นเอกลักษณ์

3. คีย์นอก (Foreign key)
คีย์นอก คือ คีย์เดี่ยวหรือคีย์ผสม ซึ่งปรากฏเป็นคีย์ทั่วไปของความสัมพันธ์หนึ่ง แต่ไปปรากฏเป็นอีกคีย์หลักในอีกความสัมพันธ์หนึ่ง คีย์นอกเป็นอีกคีย์หนึ่งที่มีความสำคัญมากใสฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เนื่องจากเป็นตัวที่ใช้สร้างการเชื่อมต่อระหว่างความสัมพันธ์ การเปลี่ยนแปลงค่าของคีย์นอกจะต้องอาศัยความระมัดระวังเป็นอย่างมากเนื่องจากจะมีผลกระทบโดยตรงต่อข้อมูลในความสัมพันธ์อื่นที่มีการอ้างอิงถึงคีย์นอกตัวนี้ จึงมีกฏและเงื่อนไขที่บังคับใช้เพื่อทำให้ข้อมูลมีความถูกต้องอยู่เสมอ ดังจะกล่าวในตอนที่ 2.3

การกำหนดค่าให้กับคีย์นอกของความสัมพันธ์ที่อ้างอิงถึงจะต้องกำหนดค่าของคีย์ให้อยู่ในโดเมนเดียวกันกับความสัมพันธ์ที่คีย์นอกนั้นเป็นคีย์หลัก แต่คีย์นอกนั้นไม่จำเป็นจะต้องเป็นส่วนหนึ่งในคีย์หลักของความสัมพันธ์อื่น

4. ซุปเปอร์คีย์ (Superkey)
คือกลุ่มของแอททริบิวที่สามารถนำไปใช้ในการค้นหาข้อมูลที่เป็นเอกลักษณ์ได้

5. คีย์แข่งขัน (Candidate key)
คีย์แข่งขัน ก็คือ ซุปเปอร์คีย์ และไม่มีกลุ่มย่อยของคีย์ใดในคีย์แข่งขันที่จะสามารถเป็นซุปเปอร์คีย์ได้อีก



การออกแบบฐานข้อมูล (Designing Databases)

มีความสำคัญต่อการจัดการระบบฐานข้อมูล (DBMS) ทั้งนี้เนื่องจากข้อมูลที่อยู่ภายในฐานข้อมูลจะต้องศึกษาถึงความสัมพันธ์ของข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลและกระบวนการที่โปรแกรมประยุกต์จะเรียกใช้ฐานข้อมูล ดังนั้น เราจึงสามารถแบ่งวิธีการสร้างฐานข้อมูลได้ 3 ประเภท

1. รูปแบบข้อมูลแบบลำดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลำดับขั้น (Hierarchical data model) วิธีการสร้างฐาน ข้อมูลแบบลำดับขั้นถูกพัฒนาโดยบริษัท ไอบีเอ็ม จำกัด ในปี 1980 ได้รับความนิยมมาก ในการพัฒนาฐานข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และขนาดกลาง โดยที่โครงสร้างข้อมูลจะสร้างรูปแบบเหมือนต้นไม้ โดยความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหลาย (One- to -Many)





2. รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่าย (Network data Model) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายมีความคล้ายคลึงกับฐาน ข้อมูลแบบลำดับชั้น ต่างกันที่โครงสร้างแบบเครือข่าย อาจจะมีการติดต่อหลายต่อหนึ่ง (Many-to-one) หรือ หลายต่อหลาย (Many-to-many) กล่าวคือลูก (Child) อาจมีพ่อแม่ (Parent) มากกว่าหนึ่ง สำหรับตัวอย่างฐานข้อมูลแบบเครือข่ายให้ลองพิจารณาการจัดการข้อมูลของห้องสมุด ซึ่งรายการจะประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ ที่อยู่ ประเภท




3. รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล (Relation data model) เป็นลักษณะการออกแบบฐานข้อมูลโดยจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางที่มีระบบคล้ายแฟ้ม โดยที่ข้อมูลแต่ละแถว (Row) ของตารางจะแทนเรคอร์ด (Record) ส่วน ข้อมูลนแนวดิ่งจะแทนคอลัมน์ (Column) ซึ่งเป็นขอบเขตของข้อมูล (Field) โดยที่ตารางแต่ละตารางที่สร้างขึ้นจะเป็นอิสระ ดังนั้นผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะต้องมีการวางแผนถึงตารางข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ เช่นระบบฐานข้อมูลบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย ตารางประวัติพนักงาน ตารางแผนกและตารางข้อมูลโครงการ แสดงประวัติพนักงาน ตารางแผนก และตารางข้อมูลโครงการ





แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)


Create Date : 11 มิถุนายน 2552
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 10:15:49 น. 118 comments
Counter : 32934 Pageviews.

 
1.
รูปแบบของฐานข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลโดยทั่วไปจะมี 3 แบบด้วย

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database)

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

ลักษณะคล้ายต้นไม้ที่คว่ำหัวลงหรือเรียกอีกแบบว่า โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Structure) โดยมีระเบียนที่อยู่แถวบนเรียกว่า ระเบียนพ่อแม่ (Parent Record) ระเบียนในแถวถัดลงมาจะเรียกว่า ระเบียนลูก (Child Record)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database) ข้อมูลภายในฐานข้อมูลนี้สามารถมีความสัมพันธ์กัน แบบใดก็ได้ ระเบียนร้านผู้ผลิตสินค้า ระเบียนสินค้า ระเบียนที่เก็บสินค้า

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) มีโครงสร้างข้อมูลที่ต่างจากฐานข้อมูลอื่น คือ ข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบของ ตาราง (Table)

ที่มา


//wanchai.hi.ac.th/3204-2005/Db2.htm











โดย: นศ.ณัฐชนันท์พร ศรีบุญเรือง (หมู่08 เช้า พฤ ) IP: 172.29.85.18, 58.137.131.62 วันที่: 11 มิถุนายน 2552 เวลา:15:35:52 น.  

 
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น




2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา




3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M) ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:13:15:34 น.  

 
?ศษษษษษษฯ฿?ษ๖ซ็ญ็ฌณ


โดย: 4968 IP: 202.57.180.159 วันที่: 17 มิถุนายน 2552 เวลา:9:36:49 น.  

 
งงค่ะ มึนมากกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก


โดย: สมร IP: 202.57.180.159 วันที่: 17 มิถุนายน 2552 เวลา:9:37:55 น.  

 
^_________________^;;;;;


โดย: 555+ IP: 202.57.180.159 วันที่: 17 มิถุนายน 2552 เวลา:9:39:19 น.  

 
3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)






เอนทิตี้ใบสั่งซื้อแต่ละใบจะสามารถสั่งสินค้าได้มากกว่าหนึ่งชนิด ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้ใบสั่งซื้อไปยังเอนทิตี้สินค้า จึงเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1:m) ในขณะที่สินค้าแต่ละชนิด จะถูกสั่งอยู่ในใบสั่งซื้อหลายใบ ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้สินค้าไปยังอินทิตี้ใบสั่งซื้อ จึงเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1:n) ดังนั้นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้ทั้งสอง จึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

จากคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูลที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงอาจให้นิยามของฐานข้อมูลในอีกลักษณะได้ว่า “ฐานข้อมูล” อาจหมายถึง โครงสร้างสารสนเทศ ที่ประกอบด้วยหลาย ๆ เอนทิตี้ที่มีความสัมพันธ์กัน





ความสำคัญของการประมวลผลแบบระบบฐานข้อมูล

จากการจัดเก็บข้อมูลรวมเป็นฐานข้อมูลจะก่อให้เกิดประโยชน์ดังนี้

1. สามารถลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลได้

การเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่ ทำให้เกิดความซ้ำซ้อน (Redundancy) ดังนั้นการนำข้อมูลมารวมเก็บไว้ในฐานข้อมูล จะชาวยลดปัญหาการเกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูลได้ โดยระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) จะช่วยควบคุมความซ้ำซ้อนได้ เนื่องจากระบบจัดการฐานข้อมูลจะทราบได้ตลอดเวลาว่ามีข้อมูลซ้ำซ้อนกันอยู่ที่ใดบ้าง

2. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้

หากมีการเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่และมีการปรับปรุงข้อมูลเดียวกันนี้ แต่ปรับปรุงไม่ครบทุกที่ที่มีข้อมูลเก็บอยู่ก็จะทำให้เกิดปัญหาข้อมูลชนิดเดียวกัน อาจมีค่าไม่เหมือนกันในแต่ละที่ที่เก็บข้อมูลอยู่ จึงก่อใให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลขึ้น (Inconsistency)

3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้

ฐานข้อมูลจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลรวมไว้ด้วยกัน ดังนั้นหากผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลที่มาจากแฟ้มข้อมูลต่างๆ ก็จะทำได้โดยง่าย

4. สามารถรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล

บางครั้งพบว่าการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลอาจมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น เช่น จากการที่ผู้ป้อนข้อมูลป้อนข้อมูลผิดพลาดคือป้อนจากตัวเลขหนึ่งไปเป็นอีกตัวเลขหนึ่ง โดยเฉพาะกรณีมีผู้ใช้หลายคนต้องใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลร่วมกัน หากผู้ใช้คนใดคนหนึ่งแก้ไขข้อมูลผิดพลาดก็ทำให้ผู้อื่นได้รับผลกระทบตามไปด้วย ในระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) จะสามารถใส่กฎเกณฑ์เพื่อควบคุมความผิดพลาดที่เกดขึ้น

5. สามารถกำหนดความป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูลได้

การเก็บข้อมูลร่วมกันไว้ในฐานข้อมูลจะทำให้สามารถกำหนดมาตรฐานของข้อมูลได้รวมทั้งมาตรฐานต่าง ๆ ในการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปในลักษณะเดียวกันได้ เช่นการกำหนดรูปแบบการเขียนวันที่ ในลักษณะ วัน/เดือน/ปี หรือ ปี/เดือน/วัน ทั้งนี้จะมีผู้ที่คอยบริหารฐานข้อมูลที่เราเรียกว่า ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) เป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่างๆ

6. สามารถกำหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้

ระบบความปลอดภัยในที่นี้ เป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ใช้ที่ไม่มีสิทธิมาใช้ หรือมาเห็นข้อมูลบางอย่างในระบบ ผู้บริหารฐานข้อมูลจะสามารถกำหนดระดับการเรียกใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนได้ตามความเหมาะสม

7. เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล

ในระบบฐานข้อมูลจะมีตัวจัดการฐานข้อมูลที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงกับฐานข้อมูล โปรแกรมต่าง ๆ อาจไม่จำเป็นต้องมีโครงสร้างข้อมูลทุกครั้ง ดังนั้นการแก้ไขข้อมูลบางครั้ง จึงอาจกระทำเฉพาะกับโปรแกรมที่เรียกใช้ข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงเท่านั้น ส่วนโปรแกรมที่ไม่ได้เรียกใช้ข้อมูลดังกล่าว ก็จะเป็นอิสระจากการเปลี่ยนแปลง





รูปแบบของระบบฐานข้อมูล

รูปแบบของระบบฐานข้อมูล มีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภท คือ

1. ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบที่เป็นตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลชั่น (Relation) มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือเป็นแถว (row) และเป็นคอลัมน์ (column) การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตาราง จะเชื่อมโยงโดยใช้แอททริบิวต์ (attribute) หรือคอลัมน์ที่เหมือนกันทั้งสองตารางเป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูล ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์นี้จะเป็นรูปแบบของฐานข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ดังตัวอย่าง

พนักงาน


รหัสพนักงาน
ชื่อพนักงาน
ที่อยู่
เงินเดือน
รหัสแผนก

12501535

12534568

12503452

12356892

15689730
นายสมพงศ์

นายมนตรี

นายเอก

นายบรรทัด

นายราชัน
กรุงเทพ

นครปฐม

กรุงเทพ

นนทบุรี

สมุทรปราการ
12000

12500

13500

11500

12000
VO

VN

VO

VD

VA



รูปแสดงตารางพนักงาน


2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database)

ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายจะเป็นการรวมระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนแต่จะต่างกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธ์เอาไว้ โดยระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันจะต้องมีค่าของข้อมูลในแอททริบิวต์ใดแอททริบิวต์หนึ่งเหมือนกัน แต่ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะแสดงความสัมพันธ์อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น


3. ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database)

ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น เป็นโครงสร้างที่จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรือเป็นโครงสร้างรูปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จัดเก็บในที่นี้ คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วยค่าของเขตข้อมูล (Field) ของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ

ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้นนี้คล้ายคลึงกับฐานข้อมูลแบบเครือข่าย แต่ต่างกันที่ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น มีกฎเพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งประการ คือ ในแต่ละกรอบจะมีลูกศรวิ่งเข้าหาได้ไม่เกิน 1 หัวลูกศร



ที่มา : //www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it04/page01.html




โดย: นางสาวอรธิรา บัวลา บช.บ. 1/3 หมู่ 29 เรียนวันพุธ คาบ 2 - 5 เมล์ manay_manay@hotmail.com IP: 113.53.167.107 วันที่: 17 มิถุนายน 2552 เวลา:22:24:38 น.  

 
1. รูปแบบข้อมูลแบบลำดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลำดับขั้น (Hierarchical data model) วิธีการสร้างฐาน ข้อมูลแบบลำดับขั้นถูกพัฒนาโดยบริษัท ไอบีเอ็ม จำกัด ในปี 1980 ได้รับความนิยมมาก ในการพัฒนาฐานข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และขนาดกลาง โดยที่โครงสร้างข้อมูลจะสร้างรูปแบบเหมือนต้นไม้ โดยความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหลาย (One- to -Many)

2. รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่าย (Network data Model) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายมีความคล้ายคลึงกับฐาน ข้อมูลแบบลำดับชั้น ต่างกันที่โครงสร้างแบบเครือข่าย อาจจะมีการติดต่อหลายต่อหนึ่ง (Many-to-one) หรือ หลายต่อหลาย (Many-to-many) กล่าวคือลูก (Child) อาจมีพ่อแม่ (Parent) มากกว่าหนึ่ง สำหรับตัวอย่างฐานข้อมูลแบบเครือข่ายให้ลองพิจารณาการจัดการข้อมูลของห้องสมุด ซึ่งรายการจะประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ ที่อยู่ ประเภท

3. รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล (Relation data model) เป็นลักษณะการออกแบบฐานข้อมูลโดยจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางที่มีระบบคล้ายแฟ้ม โดยที่ข้อมูลแต่ละแถว (Row) ของตารางจะแทนเรคอร์ด (Record) ส่วน ข้อมูลนแนวดิ่งจะแทนคอลัมน์ (Column) ซึ่งเป็นขอบเขตของข้อมูล (Field) โดยที่ตารางแต่ละตารางที่สร้างขึ้นจะเป็นอิสระ ดังนั้นผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะต้องมีการวางแผนถึงตารางข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ เช่นระบบฐานข้อมูลบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย ตารางประวัติพนักงาน ตารางแผนกและตารางข้อมูลโครงการ แสดงประวัติพนักงาน ตารางแผนก และตารางข้อมูลโครงการ



โดย: นางสาวปวีณา บรรยงค์ เรียนบ่าย-วันจันทร์ หมู่1 รหัส 50040302112 IP: 172.29.9.245, 58.137.131.62 วันที่: 29 มิถุนายน 2552 เวลา:13:14:57 น.  

 
//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5


ข้างบนลืมใส่ลิ้งค่ะ


โดย: นางสาวปวีณา บรรยงค์ เรียนบ่าย-วันจันทร์ หมู่1 รหัส 50040302112 IP: 172.29.9.245, 58.137.131.62 วันที่: 29 มิถุนายน 2552 เวลา:13:17:17 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
1.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึงความว่า สมาชิกใน entity A ที่มีความสัมพันธ์กับ entity B จะมีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่งเท่านั้น เช่น กำหนดให้ entity นักศึกษามีความสัมพันธ์กับ entity อาจารย์แสดงว่านักศึกษาหนึ่งคน จะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษา 1 คน ในทางกลับกันก็คืออาจารย์ที่ปรึกษาหนึ่งคนจะต้องมีนักศึกษาได้ 1 คนซึ่งขัดแย้งกับความเป็นจริง
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo221.htm
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น นักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นต้น
หมายความว่า entity ใน A มีความสัมพันธ์กับสมาชิก entity B แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น กำหนดให้ entity
อาจารย์ที่ปรึกษา มีความสัมพันธ์กับ entity นักศึกษา แบบหนึ่งต่อกลุ่ม แสดงว่า อาจารย์หนึ่งคน สามารถมีนัก
ศึกษาในสังกัดได้มากกว่าหนึ่งคน แต่นักศึกษาจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo222.htm
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่นนักศึกษากับวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
หมายความว่า สมาชิกใน entily A มีความสัมพันธ์กับสมาชิกใน entily B แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ entily นักศึกษา มีความสัมพันธ์กับ entily วิชาที่ลงทะเบียน แบบกลุ่มต่อกลุ่มแสดงว่านักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียน
เรียนได้มากกว่า 1 วิชา และในทำนองเดียวกัน วิชาหนึ่งวิชาสามารถมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนได้หลายคน
ทีมา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo223.htm


โดย: นางสาวเกศรินทร์ ไชยปัญญา หมู่( 08 พฤ เช้า) IP: 172.29.85.71, 58.137.131.62 วันที่: 29 มิถุนายน 2552 เวลา:15:45:05 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/14.html



โดย: น.ส. วริศรา ทิมแดง (ม.08 พฤ . เช้า ) IP: 172.29.85.71, 202.29.5.62 วันที่: 30 มิถุนายน 2552 เวลา:9:58:28 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)


ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1





โดย: นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1 IP: 58.147.38.208 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:22:10 น.  

 
3.1

ความหมายและหน้าที่ของความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Entity Relationship)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ หมายถึง ความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับอีกเอนทิตี้หนึ่งบนฐานข้อมูลโดยใช้คีย์ต่าง ๆ เป็นตัวเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้ฐานข้อมูลใช้งานได้ง่ายและไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูลบนฐานข้อมูล ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง (Many-to-One)

4. แฟ้มข้อมูลเกรด

แฟ้มข้อมูลวิชาที่เปิดสอน

แฟ้มข้อมูลอาจารย์

ระบบจัดการ

ฐานข้อมูล



รายงาน

รายงาน

รายงาน

ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many)





























ประเภทของความสัมพันธ์


1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนเพียง 1 ระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์เพียง 1 ระเบียน

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



1:1

















2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ A ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ B

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



1:N

















3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียน

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



N:M

















4. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง (Many-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ A

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



N:1

















การกำหนดความสัมพันธ์เอนทิตี้
การกำหนดตารางของความสัมพันธ์

หลังจากศึกษาขั้นตอนการดำเนินงานต่าง ๆ ของบริษัทจนเป็นที่เข้าใจแล้ว ข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งรูปแบบรายงานของบริษัท จะถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์หาเอนทิตี้ที่จะเกิดขึ้นในฐานข้อมูล ว่าควรจะมีเอนทิตี้ใดบ้าง

โดยทั่วไปแล้ว “คำนาม” ที่มี่อยู่ในเอกสารรายงาน หรือข้อมูลที่เก็บได้

ในการค้นหาเอนทิตี้ สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากลักษณะการทำงานของระบบงานนั้น ๆ เพื่อให้ได้คำนามที่มีความหมายและมีความสำคัญที่สุด รวมทั้งจะต้องพิจารณาว่าคำนามนั้นมีข้อมูลใดที่เกี่ยวข้องหรือที่จะเป็นแอททริบิวท์ของคำนามที่ถูกเลือกเป็นเอนทิตี้นั้นหรือไม่ ซึ่งถ้าไม่มีข้อมูลใดที่เกี่ยวข้องกับคำนามนั้นเลย จะไม่นำมาพิจารณาเป็นเอนทิตี้



การกำหนดความสัมพันธ์

เมื่อได้เอนทิตี้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือต้องวิเคราะห์ว่าเอนทิตี้แต่ละเอนทิตี้นั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ถ้าข้อมูลที่ได้จากเอกสารหรือรายงานไม่เพียงพอที่จะบอกถึงความสัมพันธ์นั้นได้ ก็เป็นหน้าที่ของผู้ออกแบบฐานข้อมูลที่ต้องสอบถามจากผู้ใช้เพิมเติม


ที่มา //wanchai.hi.ac.th/3204-2116/DBPR2.htm


โดย: นางสาวเจนจิรา จุตตะโน หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) รหัส 52040302126 IP: 1.1.1.236, 58.137.131.62 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:59:30 น.  

 
3.1

ความหมายและหน้าที่ของความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Entity Relationship)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ หมายถึง ความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับอีกเอนทิตี้หนึ่งบนฐานข้อมูลโดยใช้คีย์ต่าง ๆ เป็นตัวเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้ฐานข้อมูลใช้งานได้ง่ายและไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูลบนฐานข้อมูล ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง (Many-to-One)

4. แฟ้มข้อมูลเกรด

ประเภทของความสัมพันธ์

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนเพียง 1 ระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์เพียง 1 ระเบียน

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ A ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ B

4. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง (Many-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ A

การกำหนดความสัมพันธ์เอนทิตี้
การกำหนดตารางของความสัมพันธ์

หลังจากศึกษาขั้นตอนการดำเนินงานต่าง ๆ ของบริษัทจนเป็นที่เข้าใจแล้ว ข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งรูปแบบรายงานของบริษัท จะถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์หาเอนทิตี้ที่จะเกิดขึ้นในฐานข้อมูล ว่าควรจะมีเอนทิตี้ใดบ้าง

โดยทั่วไปแล้ว “คำนาม” ที่มี่อยู่ในเอกสารรายงาน หรือข้อมูลที่เก็บได้

ในการค้นหาเอนทิตี้ สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากลักษณะการทำงานของระบบงานนั้น ๆ เพื่อให้ได้คำนามที่มีความหมายและมีความสำคัญที่สุด รวมทั้งจะต้องพิจารณาว่าคำนามนั้นมีข้อมูลใดที่เกี่ยวข้องหรือที่จะเป็นแอททริบิวท์ของคำนามที่ถูกเลือกเป็นเอนทิตี้นั้นหรือไม่ ซึ่งถ้าไม่มีข้อมูลใดที่เกี่ยวข้องกับคำนามนั้นเลย จะไม่นำมาพิจารณาเป็นเอนทิตี้

การกำหนดความสัมพันธ์

เมื่อได้เอนทิตี้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือต้องวิเคราะห์ว่าเอนทิตี้แต่ละเอนทิตี้นั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ถ้าข้อมูลที่ได้จากเอกสารหรือรายงานไม่เพียงพอที่จะบอกถึงความสัมพันธ์นั้นได้ ก็เป็นหน้าที่ของผู้ออกแบบฐานข้อมูลที่ต้องสอบถามจากผู้ใช้เพิมเติม

ที่มา //wanchai.hi.ac.th/3204-2116/DBPR2.htm


โดย: นางสาวเจนจิรา จุตตะโน หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) รหัส 52040302126 IP: 1.1.1.236, 58.137.131.62 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:03:41 น.  

 
ข้อ 1 ความสัมพันธ์
foreign key แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตารางข้อมูล 2 ตาราง ตัวอย่างเช่น การเชื่อมโยงจาก Orders มาที่ Customers แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง แถวในตารางข้อมูล Order และแถวในตารางข้อมูล Customer

ชนิดพื้นฐานของความสัมพันธ์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์มี 3 ชนิด โดยจัดแยกตามจำนวนข้อมูลในแต่ละด้านความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ คือ หนึ่ง - ต่อ - หนึ่ง (one-to-one) หนึ่ง - ต่อ - หลาย (one-to-many) หลาย - ต่อ - หลาย (many-to-many)

ความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง - ต่อ - หนึ่ง (one-to-one) หมายถึง มี 1 ข้อมูลในความสัมพันธ์ ตัวอย่างเช่น ถ้าเราแยกที่อยู่ออกจากตารางข้อมูล Customers จะต้องมีความสัมพันธ์ หนึ่ง - ต่อ - หนึ่ง ระหว่างชุดข้อมูลต้องมี (foreign key จาก Addresses ไปยัง Customers)

ความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง - ต่อ - หลาย (one-to-many) หมายถึง 1 แถว ในตารางข้อมูลหนึ่ง เชื่อมกับหลายแถวในอีกตาราง ตัวอย่างเช่น ลูกค้า 1 คน สามารถมีหลายใบสั่งซื้อ ในความสัมพันธ์นี้ตารางที่เก็บหมายเลขแถวจะต้องมี forieng ไปตารางที่มี 1 แถวข้อมูล ดังนั้น จึงมี CustomerID ในตารางข้อมูล Orders เพื่อแสดงความสัมพันธ์

ความสัมพันธ์แบบ หลาย - ต่อ - หลาย (many-to-many) หมายถึง หลายแถวในตารางข้อมูลหนึ่งเชื่อมกับหลายแถวในอีกตาราง ตัวอย่างเช่น ถ้ามีตารางข้อมูล 2 ตาราง Books และ Authors อาจจะพบว่าหนังสือ 1 เล่ม เขียนโดยนักเขียน 2 คน แต่ละคนเขียนหนังสือเล่มอื่นด้วย ตามปกติความสัมพันธ์ประเภทนี้ ควรอีกตารางข้อมูลเก็บข้อมูลทั้งหมด อาจจะต้องมี Books, Authors และ Books_Authors โดยตารางที่ 3 เก็บเฉพาะคีย์ของตารางอื่นในฐานะ foriegn key เป็นคู่ เพื่อแสดงว่าผู้เขียนเกี่ยวข้องกับหนังสือเล่มใด

ที่มา //www.widebase.net/database/mysql/mysqltutorial/mysqltutor0101.shtml





โดย: นางสาว ปาริสา แคนหนอง 52040332140 หมู่ 15 ศุกร์ (เช้า) IP: 125.26.233.224 วันที่: 6 กรกฎาคม 2552 เวลา:0:06:11 น.  

 
ข้อ 1 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


ภาพประกอบที่ 25 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา


ภาพประกอบที่ 26 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: นางสาว อนุสรา แคนหนอง 52040332139 หมู่เรียน 15 ศุกร์ เช้า IP: 125.26.233.224 วันที่: 6 กรกฎาคม 2552 เวลา:0:38:01 น.  

 
เอนทิตี้ (Entity) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ลูกค้า เอนทิตี้พนักงาน

- เอนทิตี้ชนิดอ่อนแอ (Weak Entity) เป็นเอนทิตี้ที่ไม่มีความหมาย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล

แอททริบิวต์(Attribute) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น

เอนทิตี้นักศึกษา ประกอบด้วย - แอทริบิวต์รหัสนักศึกษา

- แอททริบิวต์ชื่อนักศึกษา

- แอททริบิวต์ที่อยู่นักศึกษา

ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้นักศึกษาและเอนทิตี้คณะวิชา เป็นลักษณะว่า นักศึกษาแต่ละคนเรียนอยู่คณะวิชาใดคณะวิชาหนึ่งในการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ เราจะใช้หัวลูกศรเพื่อแสดงความสัมพันธ์ ดังตัวอย่างในรูปต่อไปนี้

รูปที่ 1.1 คณะวิชา  ---------- นักศึกษา (คณะวิชามีความสัมพันธ์กับนักศึกษา)

ในการระบุความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ จะกำหนดโดยใช้หัวลูกศร และหากพิจารณาความสัมพันธ์จากเอนทิตี้นักศึกษาไปยังเอนทิตี้คณะวิชา อาจจะกำหนดความสัมพันธ์ได้ดังนี้

รูปที่ 1.2 คณะวิชา ----------------นักศึกษา (นักศึกษาสังกัดอยู่คณะวิชา)

และหากพิจารณาความสัมพันธ์จากเอนทิตี้คณะวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษา อาจกำหนดความสัมพันธ์ได้ดังนี้

รูปที่ 1.3 คณะวิชา --------------  นักศึกษา (คณะวิชาประกอบด้วยนักศึกษา)

จากรูปที่ 1.2 จะเห็นได้ว่า นักศึกษา 1 คนจะสามารถสังกัดอยู่ได้เพียง 1 คณะวิชา แต่จากรูปที่ 1.3 จะเห็นได้ว่า 1 คณะวิชาสามารถประกอบด้วยนักศึกษาหลาย ๆ คน

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

เอนทิตี้ใบสั่งซื้อแต่ละใบจะสามารถสั่งสินค้าได้มากกว่าหนึ่งชนิด ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้ใบสั่งซื้อไปยังเอนทิตี้สินค้า จึงเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1:m) ในขณะที่สินค้าแต่ละชนิด จะถูกสั่งอยู่ในใบสั่งซื้อหลายใบ ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้สินค้าไปยังอินทิตี้ใบสั่งซื้อ จึงเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1:n) ดังนั้นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้ทั้งสอง จึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

จากคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูลที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงอาจให้นิยามของฐานข้อมูลในอีกลักษณะได้ว่า “ฐานข้อมูล” อาจหมายถึง โครงสร้างสารสนเทศ ที่ประกอบด้วยหลาย ๆ เอนทิตี้ที่มีความสัมพันธ์กัน



ที่มา//www.sirikitdam.egat.com


โดย: น.ส. กนกอร เสริฐดิลก หมู่ 15 ศุกร์ เช้า รหัส 52040332133 IP: 192.168.1.107, 117.47.8.122 วันที่: 10 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:19:51 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
= ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/14.html



โดย: นางสาว อุไรวรรณ หาญศึก หมู1(พิเศษ)พฤหัส (ค่ำ) IP: 113.53.166.202 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:55:52 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

คำตอบ...

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น,คุณอาจต้องการสร้างตารางเพื่อติดตามพนักงานที่เข้าร่วมการทายผลฟุตบอล นักฟุตบอลแต่ละคนในตารางนักฟุตบอลจะมีระเบียนที่จับคู่กันได้หนึ่งระเบียนในตาราง Employees,แผนกหนึ่งแผนกมีบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น และบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกหนึ่งคนก็ควบคุมแผนกได้เพียงหนึ่งแผนกเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
,ระเบียนใน Table A สามารถมีระเบียนใน Table B ที่จับคู่กันได้หลายระเบียน แต่ระเบียนใน Table B จะมีระเบียนที่จับคู่กับ Table A ได้เพียงหนึ่งระเบียน,ลูกค้า 1 คน สามารถมีหลายใบสั่งซื้อ ในความสัมพันธ์นี้ตารางที่เก็บหมายเลขแถวจะต้องมี forieng ไปตารางที่มี 1 แถวข้อมูล ดังนั้น จึงมี CustomerID ในตารางข้อมูล Orders เพื่อแสดงความสัมพันธ์


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M) ,ตาราง Orders และตาราง Products มีความสัมพันธ์แบบกลุ่ม-ต่อ-กลุ่มที่กำหนดโดยการสร้างความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-กลุ่มขึ้นมาสองความสัมพันธ์ไปยังตาราง Order Details ซึ่งใบสั่งซื้อแต่ละใบสามารถมีสินค้าได้หลายชนิด และสินค้าแต่ละชนิดสามารถจะปรากฏได้ในใบสั่งซื้อหลายใบ,ถ้ามีตารางข้อมูล 2 ตาราง Books และ Authors อาจจะพบว่าหนังสือ 1 เล่ม เขียนโดยนักเขียน 2 คน แต่ละคนเขียนหนังสือเล่มอื่นด้วย ตามปกติความสัมพันธ์ประเภทนี้ ควรอีกตารางข้อมูลเก็บข้อมูลทั้งหมด อาจจะต้องมี Books, Authors และ Books_Authors โดยตารางที่ 3 เก็บเฉพาะคีย์ของตารางอื่นในฐานะ foriegn key เป็นคู่ เพื่อแสดงว่าผู้เขียนเกี่ยวข้องกับหนังสือเล่มใด

ที่มา...
//www.widebase.net/database/mysql/mysqltutorial/mysqltutor0101.shtml








โดย: นางสาวศศิวิมล ภาณุพงศ์ภูสิทธิ์ หมู่ 8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.229, 58.137.131.62 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:36:04 น.  

 


1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น




2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา




3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

ที่มา..//wanchai.hi.ac.th/3204-2116/DBPR2.htm


โดย: น.ส.วิภาดา นาสิงห์ขันธ์ หมู่8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.141, 202.29.5.62 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:43:25 น.  

 
ความสัมพันธ์ RELATIONSHIPS หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้นักศึกษา และเอนทิตี้คณะวิชา เป็นลักษณะว่า นักศึกษาแต่ละคนเรียนอยู่คณะวิชาใดคณะวิชาหนึ่ง เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ จึงอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (ONE – TO ONE RELATIONSHIPS) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในแอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง เช่น
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (ONE-TO-MANY RELATIONSHIPS) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอทิตี้หนึ่ง เช่น
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (MANY -TO-MANY RELATIONSHIPS) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม

ความสำคัญของการประมวลผลแบบระบบฐานข้อมูล

1. สามารถลดความซับซ้อนของข้อมูลได้
2. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้
3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
4. สามารถรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล
5. สามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูลได้
6. สามารถกำหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้

เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับหมายเลขบัตรประชาชน เพราะคนหนึ่งคน จะมีหมายเลขบัตรประชาชนเพียงแค่หมายเลขเดียว และหมายเลขบัตรประชาชน 1 หมายเลขจะใช้สำหรับคนเพียงคนเดียวเท่านั้น
เช่น สำนักวิชาหนึ่ง ๆ (One) มีนักศึกษาได้หลายคน(Many) ดังนั้นตารางที่เก็บข้อมูลของสำนักวิชา ก็จะมีความสัมพันธ์กับตารางที่เก็บข้อมูลนักศึกษาในลักษณะแบบหนึ่งต่อหลาย
เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้ากับสินค้า ซึ่งคุณจะเห็นว่า ลูกค้า 1 คนสามารถสั่งสินค้าได้หลายประเภท และในขณะเดียวกันสินค้าแต่ละประเภท(สินค้า 1 ประเภท) ก็จะถูกสั่งซื้อได้จากคนหลาย ๆคน ซึ่งถ้าคุณเจอความสัมพันธ์ระหว่างตารางแบบหลายต่อหลายแบบนี้ ตามทฤษฎีแล้วคุณจำเป็นจะต้องแตกเป็นตารางเพิ่มขึ้นมา เพราะถ้าคุณไม่แตกตารางเพิ่มมันจะเกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูลครับ
และเพื่อให้คุณเห็นภาพผมจะยกตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างตารางลูกค้า และตารางสินค้า ซึ่งในตัวอย่างนี้ผมได้แตกตารางเพิ่มขึ้นอีก 2 ตาราง คือตารางใบสั่งซื้อ และตารางรายการสั่งซื้อ

//km.wu.ac.th/forum/forumFile/forumFile1166068396.doc


โดย: นางสาวอรนิดา วรินทรา ม. 15 ศ.เช้า IP: 192.168.1.103, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:32:15 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา



3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)


//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: นส.บลสิการ ดอนโสภา หมู่15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151217 IP: 192.168.1.115, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:46:57 น.  

 
1 ตอบ
1.1 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น

1.2 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

1.3ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่ม(N:M)

ที่มา : //reg.ksu.ac.th/Teacher/phanlop/elearning/4123201/lesson3.2.html


โดย: 52040281122 น.ส.ณัฐติยา โกศิลา (หมู่08 วันพฤหัสบดีเช้า) สาขาชีววิทยา จุลชีววิทยา IP: 172.29.85.5, 58.137.131.62 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:46:58 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
1.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึงความว่า สมาชิกใน entity A ที่มีความสัมพันธ์กับ entity B จะมีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่งเท่านั้น เช่น กำหนดให้ entity นักศึกษามีความสัมพันธ์กับ entity อาจารย์แสดงว่านักศึกษาหนึ่งคน จะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษา 1 คน ในทางกลับกันก็คืออาจารย์ที่ปรึกษาหนึ่งคนจะต้องมีนักศึกษาได้ 1 คนซึ่งขัดแย้งกับความเป็นจริง
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo221.htm
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น นักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นต้น
หมายความว่า entity ใน A มีความสัมพันธ์กับสมาชิก entity B แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น กำหนดให้ entity
อาจารย์ที่ปรึกษา มีความสัมพันธ์กับ entity นักศึกษา แบบหนึ่งต่อกลุ่ม แสดงว่า อาจารย์หนึ่งคน สามารถมีนัก
ศึกษาในสังกัดได้มากกว่าหนึ่งคน แต่นักศึกษาจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo222.htm
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่นนักศึกษากับวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
หมายความว่า สมาชิกใน entily A มีความสัมพันธ์กับสมาชิกใน entily B แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ entily นักศึกษา มีความสัมพันธ์กับ entily วิชาที่ลงทะเบียน แบบกลุ่มต่อกลุ่มแสดงว่านักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียน
เรียนได้มากกว่า 1 วิชา และในทำนองเดียวกัน วิชาหนึ่งวิชาสามารถมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนได้หลายคน
ทีมา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo223.htm


โดย: นางสาววิภายี กลางหล้า ม. 15 ศุกร์เช้า IP: 192.168.1.102, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:09:50 น.  

 
1.
รูปแบบของฐานข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลโดยทั่วไปจะมี 3 แบบด้วย

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database)

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

ลักษณะคล้ายต้นไม้ที่คว่ำหัวลงหรือเรียกอีกแบบว่า โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Structure) โดยมีระเบียนที่อยู่แถวบนเรียกว่า ระเบียนพ่อแม่ (Parent Record) ระเบียนในแถวถัดลงมาจะเรียกว่า ระเบียนลูก (Child Record)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database) ข้อมูลภายในฐานข้อมูลนี้สามารถมีความสัมพันธ์กัน แบบใดก็ได้ ระเบียนร้านผู้ผลิตสินค้า ระเบียนสินค้า ระเบียนที่เก็บสินค้า

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) มีโครงสร้างข้อมูลที่ต่างจากฐานข้อมูลอื่น คือ ข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบของ ตาราง (Table)

ที่มา

//wanchai.hi.ac.th/3204-2005/Db2.htm




โดย: นางสาว ธัญธิตา แก้วมีศรี ม. 15 ศุกร์เช้า 52041151239 IP: 192.168.1.104, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:26:03 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ตอบข้อ 3.1
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น




2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา




3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

ที่มา..//wanchai.hi.ac.th/3204-2116/DBPR2.htm


โดย: นายบดินทร์ แก้วมีศรี หมู่ 01(พิเศษ) 52240210214 สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.83.148 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:20:23:19 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/


โดย: นางสาววิภาวี พลวี ( 08 พฤ เช้า ) IP: 125.26.169.73 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:42:05 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)


ความสัมพันธ์ (Relationship)

ฐานข้อมูลจะประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้มข้อมูล ซึ่งมีการเก็บข้อมูลที่ต่างกัน จึงต้องมีการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่าง ๆ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนเพียง 1 ระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์เพียง 1 ระเบียน

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ A ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ B

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียน

ที่มา //wanchai.hi.ac.th/3204-2005/Db2.htm


โดย: นางสาว สุทธิดา ยาโย 52240210217 วัน พฤหัสฯ หมู่ 1 IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:21:31 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/


โดย: โดยน.ส อังคณา สุทธิแพทย์52240210209หมู่01(พิเศษ)พฤ.ค่ำสาขา สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:54:43 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

คำตอบ...

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น,คุณอาจต้องการสร้างตารางเพื่อติดตามพนักงานที่เข้าร่วมการทายผลฟุตบอล นักฟุตบอลแต่ละคนในตารางนักฟุตบอลจะมีระเบียนที่จับคู่กันได้หนึ่งระเบียนในตาราง Employees,แผนกหนึ่งแผนกมีบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น และบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกหนึ่งคนก็ควบคุมแผนกได้เพียงหนึ่งแผนกเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
,ระเบียนใน Table A สามารถมีระเบียนใน Table B ที่จับคู่กันได้หลายระเบียน แต่ระเบียนใน Table B จะมีระเบียนที่จับคู่กับ Table A ได้เพียงหนึ่งระเบียน,ลูกค้า 1 คน สามารถมีหลายใบสั่งซื้อ ในความสัมพันธ์นี้ตารางที่เก็บหมายเลขแถวจะต้องมี forieng ไปตารางที่มี 1 แถวข้อมูล ดังนั้น จึงมี CustomerID ในตารางข้อมูล Orders เพื่อแสดงความสัมพันธ์


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M) ,ตาราง Orders และตาราง Products มีความสัมพันธ์แบบกลุ่ม-ต่อ-กลุ่มที่กำหนดโดยการสร้างความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-กลุ่มขึ้นมาสองความสัมพันธ์ไปยังตาราง Order Details ซึ่งใบสั่งซื้อแต่ละใบสามารถมีสินค้าได้หลายชนิด และสินค้าแต่ละชนิดสามารถจะปรากฏได้ในใบสั่งซื้อหลายใบ,ถ้ามีตารางข้อมูล 2 ตาราง Books และ Authors อาจจะพบว่าหนังสือ 1 เล่ม เขียนโดยนักเขียน 2 คน แต่ละคนเขียนหนังสือเล่มอื่นด้วย ตามปกติความสัมพันธ์ประเภทนี้ ควรอีกตารางข้อมูลเก็บข้อมูลทั้งหมด อาจจะต้องมี Books, Authors และ Books_Authors โดยตารางที่ 3 เก็บเฉพาะคีย์ของตารางอื่นในฐานะ foriegn key เป็นคู่ เพื่อแสดงว่าผู้เขียนเกี่ยวข้องกับหนังสือเล่มใด

ที่มา...
//www.widebase.net/database/mysql/mysqltutorial/mysqltutor0101.shtml



โดย: นายนภศักดิ์ ชาทอง ม.29 พุธเช้า IP: 119.31.110.169 วันที่: 16 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:33:32 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

ที่มา: //tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm




โดย: นางสาวเบญจมาศ ปวงสุข ศศ.บ ภาษาอังกฤษ 3/1 หมู่ 1 เรียน วันจันทร์-บ่าย IP: 114.128.129.244 วันที่: 18 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:03:22 น.  

 
ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
-1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

เอนทิตี้ใบสั่งซื้อแต่ละใบจะสามารถสั่งสินค้าได้มากกว่าหนึ่งชนิด ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้ใบสั่งซื้อไปยังเอนทิตี้สินค้า จึงเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1:m) ในขณะที่สินค้าแต่ละชนิด จะถูกสั่งอยู่ในใบสั่งซื้อหลายใบ ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้สินค้าไปยังอินทิตี้ใบสั่งซื้อ จึงเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1:n) ดังนั้นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้ทั้งสอง จึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา://www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/14.html


โดย: นางสาวนงลักษณ์ ทุมลา 51040325135 หมู่01 จันทร์บ่าย IP: 114.128.221.34 วันที่: 19 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:14:22 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
-คำตอบ...

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น,คุณอาจต้องการสร้างตารางเพื่อติดตามพนักงานที่เข้าร่วมการทายผลฟุตบอล นักฟุตบอลแต่ละคนในตารางนักฟุตบอลจะมีระเบียนที่จับคู่กันได้หนึ่งระเบียนในตาราง Employees,แผนกหนึ่งแผนกมีบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น และบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกหนึ่งคนก็ควบคุมแผนกได้เพียงหนึ่งแผนกเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
,ระเบียนใน Table A สามารถมีระเบียนใน Table B ที่จับคู่กันได้หลายระเบียน แต่ระเบียนใน Table B จะมีระเบียนที่จับคู่กับ Table A ได้เพียงหนึ่งระเบียน,ลูกค้า 1 คน สามารถมีหลายใบสั่งซื้อ ในความสัมพันธ์นี้ตารางที่เก็บหมายเลขแถวจะต้องมี forieng ไปตารางที่มี 1 แถวข้อมูล ดังนั้น จึงมี CustomerID ในตารางข้อมูล Orders เพื่อแสดงความสัมพันธ์


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M) ,ตาราง Orders และตาราง Products มีความสัมพันธ์แบบกลุ่ม-ต่อ-กลุ่มที่กำหนดโดยการสร้างความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-กลุ่มขึ้นมาสองความสัมพันธ์ไปยังตาราง Order Details ซึ่งใบสั่งซื้อแต่ละใบสามารถมีสินค้าได้หลายชนิด และสินค้าแต่ละชนิดสามารถจะปรากฏได้ในใบสั่งซื้อหลายใบ,ถ้ามีตารางข้อมูล 2 ตาราง Books และ Authors อาจจะพบว่าหนังสือ 1 เล่ม เขียนโดยนักเขียน 2 คน แต่ละคนเขียนหนังสือเล่มอื่นด้วย ตามปกติความสัมพันธ์ประเภทนี้ ควรอีกตารางข้อมูลเก็บข้อมูลทั้งหมด อาจจะต้องมี Books, Authors และ Books_Authors โดยตารางที่ 3 เก็บเฉพาะคีย์ของตารางอื่นในฐานะ foriegn key เป็นคู่ เพื่อแสดงว่าผู้เขียนเกี่ยวข้องกับหนังสือเล่มใด

ที่มา...
//www.widebase.net/database/mysql/mysqltutorial/mysqltutor0101.shtml


โดย: นายอดิศักดิ์ รักวิชา ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427132 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:5:57:47 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
คำตอบ...

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น,คุณอาจต้องการสร้างตารางเพื่อติดตามพนักงานที่เข้าร่วมการทายผลฟุตบอล นักฟุตบอลแต่ละคนในตารางนักฟุตบอลจะมีระเบียนที่จับคู่กันได้หนึ่งระเบียนในตาราง Employees,แผนกหนึ่งแผนกมีบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น และบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกหนึ่งคนก็ควบคุมแผนกได้เพียงหนึ่งแผนกเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
,ระเบียนใน Table A สามารถมีระเบียนใน Table B ที่จับคู่กันได้หลายระเบียน แต่ระเบียนใน Table B จะมีระเบียนที่จับคู่กับ Table A ได้เพียงหนึ่งระเบียน,ลูกค้า 1 คน สามารถมีหลายใบสั่งซื้อ ในความสัมพันธ์นี้ตารางที่เก็บหมายเลขแถวจะต้องมี forieng ไปตารางที่มี 1 แถวข้อมูล ดังนั้น จึงมี CustomerID ในตารางข้อมูล Orders เพื่อแสดงความสัมพันธ์


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M) ,ตาราง Orders และตาราง Products มีความสัมพันธ์แบบกลุ่ม-ต่อ-กลุ่มที่กำหนดโดยการสร้างความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-กลุ่มขึ้นมาสองความสัมพันธ์ไปยังตาราง Order Details ซึ่งใบสั่งซื้อแต่ละใบสามารถมีสินค้าได้หลายชนิด และสินค้าแต่ละชนิดสามารถจะปรากฏได้ในใบสั่งซื้อหลายใบ,ถ้ามีตารางข้อมูล 2 ตาราง Books และ Authors อาจจะพบว่าหนังสือ 1 เล่ม เขียนโดยนักเขียน 2 คน แต่ละคนเขียนหนังสือเล่มอื่นด้วย ตามปกติความสัมพันธ์ประเภทนี้ ควรอีกตารางข้อมูลเก็บข้อมูลทั้งหมด อาจจะต้องมี Books, Authors และ Books_Authors โดยตารางที่ 3 เก็บเฉพาะคีย์ของตารางอื่นในฐานะ foriegn key เป็นคู่ เพื่อแสดงว่าผู้เขียนเกี่ยวข้องกับหนังสือเล่มใด

ที่มา...
//www.widebase.net/database/mysql/mysqltutorial/mysqltutor0101.shtml


โดย: นายนิรัช วิจิตรกุล ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427117 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:5:59:29 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ตอบ
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
ตัวอย่าง

-คนหนึ่งคนมีโทรศัพท์หนึ่งเครื่อง
-คอมฯหนึ่งตัวมีเมาล์หนึ่งอัน
-ตู้เย็นหึนึ่งหลังมีปลั๊กหนึ่งตัว

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
ตัวอย่าง
-คนหนึ่งคนมีเพื่อนหลายคน
-TV หนึ่งเครื่อง ดูได้หลายช่อง
-รถโดยสารหนึ่งคันมีผู้โดยใช้บริการสารหลายคน

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

ตัวอย่าง
-กลุ่มนักศึกษามีการลงทะเบียนเรียน Look วิชาต่างๆ
-กลุ่มนักท่องเที่ยวเข้าพักในโรงแรมหลายแห่ง
-กลุ่มเกษตรกรร่วมเข้าประชุมหลายอำเภอ

ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm



โดย: น.ส. ชฎาพร โสภาคำ ชีววิทยา (จุลชีววิทยา) ม.08 พฤ (เช้า) 52040281117 IP: 124.157.148.182 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:56:12 น.  

 
ตอบแบบทดสอบเรื่องที่ 3 ความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล
ข้อที่ 1 ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม

ที่มา //www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it04/page01.html


โดย: นางสาวจิลวรรณ ปัดถาวะโร รหัส 52040281130 ม. 08 ( พฤ.เช้า ) IP: 124.157.148.182 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:10:37 น.  

 
31. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)


1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา


ที่มา //www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo222.htm



3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N)



โดย: น.ส วนิดา ปัตตานี เช้าวันศุกร์ หมู่15 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 26 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:24:49 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ความหมายและหน้าที่ของความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Entity Relationship)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ หมายถึง ความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับอีกเอนทิตี้หนึ่งบนฐานข้อมูลโดยใช้คีย์ต่าง ๆ เป็นตัวเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้ฐานข้อมูลใช้งานได้ง่ายและไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูลบนฐานข้อมูล ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง (Many-to-One)

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม


โดย: นางสาวสุพัตรา ธรรมสาร(หมู่15ศ.เช้า)52040302208 IP: 222.123.62.82 วันที่: 28 กรกฎาคม 2552 เวลา:0:45:50 น.  

 
3.1)ความสำพันธ์
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
2.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
3.ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)
//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: น.ส. วิไลวรรณ พงค์พันธ์ ม.29 (พุธเช้า) 52040501303 IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 29 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:13:36 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationships)
........เป็นความสัมพันธ์ที่ทำความเข้าใจง่ายที่สุด เนื่องจากเรคอร์ด 1 เรคอร์ดในตารางหนึ่งจะมีความสัมพันธ์กับอีกเรคอร์ด 1 เรคอร์ดในอีกตารางหนึ่งเท่านั้น ไม่สามารถมีเกิน 1 ได้ เช่น ตารางราคาสินค้า และตารางจำนวนสินค้า จะมีความสัมพันธ์แบบ One-to-One

........ความสัมพันธ์แบบนี้ เราสามารถรวมเป็นตารางเดียวได้ แต่ในบางครั้งเราต้องสร้างความสัมพันธ์แบบนี้ เนื่องจากเหตุผลบางประการ เช่น ต้องการตารางที่ใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการสร้างรายงานโดยเฉพาะ เพื่อเพิ่มความเร็วในการทำงาน เป็นต้น


[แก้ไข] ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationships)
........เป็นความสัมพันธ์แบบที่พบบ่อยที่สุดในระบบฐานข้อมูลทั่วไป ความสัมพันธ์แบบนี้เป็นความสัมพันธ์ที่เรคอร์ด 1 เรคอร์ดในตารางหนึ่ง จะสัมพันธ์กับจำนวนเรคอร์ด 2 เรคอร์ดหรือมากกว่าในอีกตารางหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ลูกค้าสามารถสั่งสินค้าได้หลายใบสั่งซื้อสินค้า แต่ใบสั่งสินค้าใบหนึ่งจะมีลูกค้าสั่งเพียงรายเดียวเท่านั้น


[แก้ไข] ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationships)
........เป็นความสัมพันธ์แบบที่ไม่สามารถแสดงให้เห็นได้ง่าย เนื่องจากเราสามารถสร้างความสัมพันธ์แบบนี้ได้ โดยสร้างตารางใหม่ที่ความสัมพันธ์แบบ Many-to-One สองตารางแทนตารางที่มีความสัมพันธ์แบบ Many-to-Many ได้ ตัวอย่างความสัมพันธ์แบบนี้เช่น ใบสั่งซื้อสินค้าจะสามารถมีสินค้าที่สั่งได้มากกว่า 1 อย่างในใบหนึ่ง และในทางกลับกันสินค้านั้นสามารถอยู่ในใบสั่งซื้อได้หลายใบเช่นกัน ความสัมพันธ์ระหว่างใบสั่งสินค้ากับสินค้าจึงเป็นแบบ Many-to-Many

รับข้อมูลจาก "//th.wikibooks.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C_(Relationships)"
3.1 ภาพที่ 10.2 แสดงความสัมพันธ์แบบ One to One Relationships
จากตัวอย่างนี้ จะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับสัญญาเงินกู้ โดยที่นักศึกษาหนึ่งคนทำสัญญาเงินกู้ได้เพียงครั้งเดียว สัญญาการกู้เงินแต่ละฉบับถูกลงชื่อกู้ได้จากหนักศึกษาเพียงคนเดียวเท่านั้น ความสัมพันธ์การกู้เงินที่เชื่อมระหว่างนักศึกษาและสัญญากู้เงินจึงเป็นแบบ 1-1


ภาพที่ 10.3 แสดงความสัมพันธ์แบบ One to Many Relationships

จากตัวอย่างนี้ จะประกอบด้วยเอนทิตี้อาจารย์กับเอนทิตี้กลุ่มเรียน มีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม หมายความว่า อาจารย์จะสอนได้หลายกลุ่มเรียน แต่ละกลุ่มเรียนจะมีอาจารย์สอนได้เพียงคนเดียวไว้ด้านเอนทิตี้อาจารย์และตัวอักษร M ไว้ด้านเอนทิตี้กลุ่มเรียน


ภาพที่ 10.4 แสดงความสัมพันธ์แบบ Many to Many Relationships

จากตัวอย่างนี้ ประกอบด้วยเอนทิตี้นักเรียนกับเอนทิตี้วิชาเรียน โดยที่นักศึกษาแต่ละคนลงทะเบียนเรียนวิชาได้มากกว่า 1 วิชา แต่ละวิชามีนักศึกษาได้มากกว่า 1 คน ความสัมพันธ์ขอลการลงทะเบียนของนักศึกษากับวิชาเป็นแบบ N: M

Keys

Super Key : Attribute หรือกลุ่มของ Attribute ซึ่งมีค่าแตกต่างกันไปในแต่ละเอนทิตี้ สามารถระบุเอนทิตี้เฉพาะตัวหนึ่ง ๆ ได้
Candidate Key : Subset ที่เล็กที่สุดของ Super Key ที่สามารถระบุเฉพาะเอนทิตี้นั้นได้
Primary Key : Candidate Key ที่ถูกเลือกให้เป็นตัวระบุหรือ Identity เอนทิตี้เฉพาะตัว
Strong VS Weak Entity Sets
บางครั้งเราอาจพบว่าเอนทิตี้ที่มี (Primary Key) ประกอบจาก Primary Key ของ Entity Set อื่น ๆนั่นคือ เอนทิตี้ไม่มี Primary Key หรือ Attribute เพียงพอในการสร้าง Primary Key ได้ด้วยตนเองเราเรียกเอนทิตี้นี้ว่า Weak Entity Set ดังนั้น หากจะระบุถึงเอนทิตี้นี้ได้จะต้องผูกสัมพันธ์กับบางเอนทิตี้ผ่าน Primary Key เป็นของเอนทิตี้ที่สัมพันธ์กับ Weak Entity ที่มี Primary Key ว่าเป็น Strong Entity Set เราพบว่า Weak Entity นั้นจะต้องสัมพันธ์เกี่ยวข้องแบบ Total Participate กับ Strong Entity เสมอ
ตัวอย่างเช่น ความสัมพันธ์ของพนักงานและคนในอุปการะ โดยที่คนในอุปการะหนึ่งคนเกี่ยวข้องโดยตรงกับพนักงานหนึ่งคนเท่านั้น แต่พนักงานอาจไม่มีหรือมีมากว่าหนึ่งคนในอุปการะ ซึ่งเราจะพบว่าความสัมพันธ์ระหว่าง Weak กับ Strong Entity จะเป็นแบบกลุ่มต่อหนึ่ง


ภาพที่ 10.5 แสดงความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง

การแปลง E-R MODEL ให้อยู่ในรูปแบบโครงสร้างฐานข้อมูล
การแปลง E-R MODEL ให้อยู่ในรูปแบบโครงสร้างฐานข้อมูลหรือตารางของข้อมูลมีกฎดังนี้
1.แปลงเอนทิตี้ที่มีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One Relationships) ไปเป็นตาราง โดยแทนที่หนึ่งเอนทิตี้เป็นหนึ่งตาราง Attribute แต่ละเอนทิตี้เป็นฟิลด์หรือคอลัมน์แต่ละตาราง
2.แปลงเอนทิตี้ที่มีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One to Many Relationships) ไปเป็นตาราง โดยด้านเอนทิตี้ที่เป็นตัวเลข 1 นั้นสามารถแปลงเป็นตารางได้ทันที Attribute ของเอนทิตี้นั้นจะเป็นฟิลด์ของตารางทันที ส่วนด้านเอนทิตี้ที่เป็นตัวอักษร M ให้แผลงเอนทิตี้เป็นตารางโดยมี Attribute ของเอนทิตี้ตัวมันเอง และนำคีย์หลักของเอนทิตี้ที่เป็นเลข 1 มาใส่ฟิลด์ของตารางนั้นด้วย
3.แปลงเอนทิตี้ที่มีความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many to Many Relationships) ไปเป็นตารางโดยสร้างเอนทิตี้กลาง (Composite Entity) เอนทิตี้กลางจะนำคีย์หลักของทั้งสองตารางมาเป็นคีย์หลักของเอนทิตี้กลางด้วย ส่วนเอนทิตี้ทั้งสองที่อยู่ระหว่างเอนทิตี้กลางก็แปลงเป็นตารางได้ โดยนำเอา Attribute ของแต่ละเอนทิตี้ไปเป็นฟิลด์ (ทำตามกฎของความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง)



ภาพที่ 10.6 ตัวอย่างของระบบซื้อขายรถยนต์

สัญลักษณ์
ความหมาย
สัญลักษณ์
ความหมาย


Entity set

Discriminator key attribute


Weak entity set

Composite attribute


Relationship set

Derived attribute


Identifying relationship set

Key attribute


Attribute

Multi valued attribute


ภาพที่ 10.7 แสดงสัญลักษณ์ของ E-RMODEL

//itd.htc.ac.th/st_it50/it5016/nidz/Web_Analyse/unit10.html

//th.wikibooks.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C_(Relationships)


โดย: สุจิตรา มหาฤทธิ์ 51040305111 สาขาภาษาอังกฤษธุรกิจ หมู่ 01 จันทร์บ่าย IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 30 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:33:06 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น
1.คนหนึ่งคนมีรองเท้าหนึ่งคู่
2. คนหนึ่งคนมีโทรศัพท์หนึ่งเครื่อง
3. คนหนึ่งคนมีรถหนึ่งคัน

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น
1. โทรศัพท์หนึ่งเครื่องมีซิมหลายซิม
2. ห้องหนึ่งห้องมีพัดลมหลายตัว
3. รถหนึ่งคันมีล้อหลายล้อ

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น
1. ต้นไม้แต่ละต้นมีใบหลายใบ
2. สวนผักแต่ละสวนมีผักหลายชนิด
3. มหาวิทยาลัยแต่ละมหาวิทยาลัยมีหลายคณะ




โดย: นายนิติธรรม พฤหัส เช้า หมู่ 08 IP: 1.1.1.4, 58.137.131.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:0:00:20 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ

ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง คำกริยาที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสองเอนทิตี้ เช่น เอนทิตี้นักศึกษาและเอนทิตี้โปรแกรมวิชามีความสัมพันธ์ในด้าน “เป็นนักศึกษาสังกัดอยู่” นั่นคือ นักศึกษาแต่ละคนสังกัดอยู่ในโปรแกรมวิชาใดวิชาหนึ่ง

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้
ในการระบุชื่อความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ จะพิจารณาด้วยการกำหนดทิศทางของความสัมพันธ์จากเอนทิตี้หนึ่งไปยังเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร เช่น ความสัมพันธ์จากเอนทิตี้นักศึกษาไปแต่ละคนสังกัดอยู่ในโปรแกรมวิชาเป็นความสัมพันธ์ที่เรียกว่า “สังกัดอยู่” นั่นคือนักศึกษาแต่ละคนสังกัดอยู่ในโปรแกรมวิชาในทางกลับกัน อาจจะระบุทิศทางของความสัมพันธ์ว่า ความสัมพันธ์จากเอนทิตี้โปรแกรมวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษา เป็นความสัมพันธ์ที่เรียกว่า “ประกอบด้วย” นั่นคือแต่ละโปรแกรมวิชาประกอบด้วยนักศึกษา
นอกจากคำนึงถึงความสัมพันธ์แล้ว ยังต้องพิจารณาถึงจำนวนข้อมูล ที่เกิดขึ้นระหว่างความสัมพันธ์ของทั้งสองเอนทิตี้ว่ามีค่าเท่าไร (Cardinality Ratio) เช่น ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้นักศึกษาไปยังเอนทิตี้โปรแกรมิชาเป็นอัตราส่วน 1 : 1 นั่นคือ นักศึกษาแต่ละสังกัดอยู่โปรแกรมวิชาเพียงโปรแกรมวิชาเป็นอัตราส่วน 1 : 30 นั่นคือแต่ละโปรแกรมวิชาจะประกอบด้วยนักศึกษา 30 คนเป็นต้น

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ 2 เอนทิตี้
. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อ
ที่มา //tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: นางสาวนิตยา กลิ่นเมือง หมู่ที่15 ศุกร์ (เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:03:26 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)


ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships)
ในการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ เราจะใช้หัวลูกศรเพื่อแสดงความสัมพันธ์ ดังตัวอย่างในรูปต่อไปนี้


รูปที่ 1.1 คณะวิชา ß ----------à à นักศึกษา (คณะวิชามีความสัมพันธ์กับนักศึกษา)


ในการระบุความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ จะกำหนดโดยใช้หัวลูกศร และหากพิจารณาความสัมพันธ์จากเอนทิตี้นักศึกษาไปยังเอนทิตี้คณะวิชา อาจจะกำหนดความสัมพันธ์ได้ดังนี้


รูปที่ 1.2 คณะวิชา ----------------à นักศึกษา (นักศึกษาสังกัดอยู่คณะวิชา)


และหากพิจารณาความสัมพันธ์จากเอนทิตี้คณะวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษา อาจกำหนดความสัมพันธ์ได้ดังนี้


รูปที่ 1.3 คณะวิชา --------------à à นักศึกษา (คณะวิชาประกอบด้วยนักศึกษา)


จากรูปที่ 1.2 จะเห็นได้ว่า นักศึกษา 1 คนจะสามารถสังกัดอยู่ได้เพียง 1 คณะวิชา แต่จากรูปที่ 1.3 จะเห็นได้ว่า 1 คณะวิชาสามารถประกอบด้วยนักศึกษาหลาย ๆ คน


ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationships)
........เป็นความสัมพันธ์แบบที่พบบ่อยที่สุดในระบบฐานข้อมูลทั่วไป ความสัมพันธ์แบบนี้เป็นความสัมพันธ์ที่เรคอร์ด 1 เรคอร์ดในตารางหนึ่ง จะสัมพันธ์กับจำนวนเรคอร์ด 2 เรคอร์ดหรือมากกว่าในอีกตารางหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ลูกค้าสามารถสั่งสินค้าได้หลายใบสั่งซื้อสินค้า แต่ใบสั่งสินค้าใบหนึ่งจะมีลูกค้าสั่งเพียงรายเดียวเท่านั้น



ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationships)
........เป็นความสัมพันธ์แบบที่ไม่สามารถแสดงให้เห็นได้ง่าย เนื่องจากเราสามารถสร้างความสัมพันธ์แบบนี้ได้ โดยสร้างตารางใหม่ที่ความสัมพันธ์แบบ Many-to-One สองตารางแทนตารางที่มีความสัมพันธ์แบบ Many-to-Many ได้ ตัวอย่างความสัมพันธ์แบบนี้เช่น ใบสั่งซื้อสินค้าจะสามารถมีสินค้าที่สั่งได้มากกว่า 1 อย่างในใบหนึ่ง และในทางกลับกันสินค้านั้นสามารถอยู่ในใบสั่งซื้อได้หลายใบเช่นกัน ความสัมพันธ์ระหว่างใบสั่งสินค้ากับสินค้าจึงเป็นแบบ Many-to-Many

เอนทิตี้ใบสั่งซื้อแต่ละใบจะสามารถสั่งสินค้าได้มากกว่าหนึ่งชนิด ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้ใบสั่งซื้อไปยังเอนทิตี้สินค้า จึงเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1:m) ในขณะที่สินค้าแต่ละชนิด จะถูกสั่งอยู่ในใบสั่งซื้อหลายใบ ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้สินค้าไปยังอินทิตี้ใบสั่งซื้อ จึงเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1:n) ดังนั้นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้ทั้งสอง จึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)








รับข้อมูลจาก "//th.wikibooks.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C_(Relationships)"


โดย: นางสาวอังสุมารินทร์ ลุนนิมิตร (ม.15 ศ. เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:40:33 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ตอบข้อ 3.1
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น




2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

ที่มา //www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it04/page01.html






3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)



โดย: นายอรรคพล วิทิยา เทคโนผลิตพืช อังคารเช้าหมู่22 IP: 125.26.167.27 วันที่: 1 สิงหาคม 2552 เวลา:19:24:41 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ความหมายและหน้าที่ของความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Entity Relationship)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ หมายถึง ความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับอีกเอนทิตี้หนึ่งบนฐานข้อมูลโดยใช้คีย์ต่าง ๆ เป็นตัวเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้ฐานข้อมูลใช้งานได้ง่ายและไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูลบนฐานข้อมูล ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง (Many-to-One)

4. แฟ้มข้อมูลเกรด

แฟ้มข้อมูลวิชาที่เปิดสอน

แฟ้มข้อมูลอาจารย์

ระบบจัดการ

ฐานข้อมูล



รายงาน

รายงาน

รายงาน

ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many)





























ประเภทของความสัมพันธ์


1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนเพียง 1 ระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์เพียง 1 ระเบียน

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



1:1

















2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ A ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ B

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



1:N

















3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียน

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



N:M

















4. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง (Many-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ A

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



N:1

















การกำหนดความสัมพันธ์เอนทิตี้
การกำหนดตารางของความสัมพันธ์

หลังจากศึกษาขั้นตอนการดำเนินงานต่าง ๆ ของบริษัทจนเป็นที่เข้าใจแล้ว ข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งรูปแบบรายงานของบริษัท จะถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์หาเอนทิตี้ที่จะเกิดขึ้นในฐานข้อมูล ว่าควรจะมีเอนทิตี้ใดบ้าง

โดยทั่วไปแล้ว “คำนาม” ที่มี่อยู่ในเอกสารรายงาน หรือข้อมูลที่เก็บได้

ในการค้นหาเอนทิตี้ สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากลักษณะการทำงานของระบบงานนั้น ๆ เพื่อให้ได้คำนามที่มีความหมายและมีความสำคัญที่สุด รวมทั้งจะต้องพิจารณาว่าคำนามนั้นมีข้อมูลใดที่เกี่ยวข้องหรือที่จะเป็นแอททริบิวท์ของคำนามที่ถูกเลือกเป็นเอนทิตี้นั้นหรือไม่ ซึ่งถ้าไม่มีข้อมูลใดที่เกี่ยวข้องกับคำนามนั้นเลย จะไม่นำมาพิจารณาเป็นเอนทิตี้



การกำหนดความสัมพันธ์

เมื่อได้เอนทิตี้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือต้องวิเคราะห์ว่าเอนทิตี้แต่ละเอนทิตี้นั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ถ้าข้อมูลที่ได้จากเอกสารหรือรายงานไม่เพียงพอที่จะบอกถึงความสัมพันธ์นั้นได้ ก็เป็นหน้าที่ของผู้ออกแบบฐานข้อมูลที่ต้องสอบถามจากผู้ใช้เพิมเติม
//wanchai.hi.ac.th/3204-2116/DBPR2.htm
ความสัมพันธ์ (Relationship)

ฐานข้อมูลจะประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้มข้อมูล ซึ่งมีการเก็บข้อมูลที่ต่างกัน จึงต้องมีการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่าง ๆ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนเพียง 1 ระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์เพียง 1 ระเบียน

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ A ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ B

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียน

4. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง (Many-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่ง ระเบียน ในเอนทิตี้ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ A



รูปแบบของฐานข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลโดยทั่วไปจะมี 3 แบบด้วย

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database)

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

ลักษณะคล้ายต้นไม้ที่คว่ำหัวลงหรือเรียกอีกแบบว่า โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Structure) โดยมีระเบียนที่อยู่แถวบนเรียกว่า ระเบียนพ่อแม่ (Parent Record) ระเบียนในแถวถัดลงมาจะเรียกว่า ระเบียนลูก (Child Record)

แผนก

ชื่อแผนก
รหัสแผนก
สถานที่






2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database) ข้อมูลภายในฐานข้อมูลนี้สามารถมีความสัมพันธ์กัน แบบใดก็ได้ ระเบียนร้านผู้ผลิตสินค้า ระเบียนสินค้า ระเบียนที่เก็บสินค้า



3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) มีโครงสร้างข้อมูลที่ต่างจากฐานข้อมูลอื่น คือ ข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบของ ตาราง (Table)

รหัสลูกค้า
ชื่อลูกค้า
ที่อยู่
เบอร์โทรศัพท์

0315
ศิริคอมพิวส์
ราชเทวี
4458452

0541
วัฒนาสโตร์
ศรีนครินทร์
6501584

0544
ไมโครธุรกิจ
บางกะปิ
7488851




เลขที่ใบเสร็จ
รหัสลูกค้า
วันที่ขาย

105
0451
02/03/43

106
0315
15/04/43

107
0544
20/06/43

//wanchai.hi.ac.th/3204-2005/Db2.htm





โดย: น.ส ผกาพรรณ หงษ์ทอง หมู่ 1 จันทร์-บ่าย IP: 124.157.146.209 วันที่: 3 สิงหาคม 2552 เวลา:15:36:10 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ 1 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
ภาพประกอบที่ 25 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

ภาพประกอบที่ 26 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

ที่มา
//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm



โดย: นาย สุระทิน ใจใส รหัส 52041151202 หมู่ 15 ศุกร์เช้า IP: 202.29.5.62 วันที่: 4 สิงหาคม 2552 เวลา:19:07:11 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N)

ที่มา:www.bloggang.com/viewblog.php?id...date=11


โดย: นางสาวสุภาพร รัตนา 50240210102 วท.บ.สาธารณสุขศาสตร์ (เรียน พฤ-ค่ำ เวลา 17.00-21.00 น. ) IP: 114.128.22.96 วันที่: 5 สิงหาคม 2552 เวลา:12:10:10 น.  

 
ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง คำกริยาที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสองเอนทิตี้ เช่น เอนทิตี้นักศึกษาและเอนทิตี้โปรแกรมวิชามีความสัมพันธ์ในด้าน “เป็นนักศึกษาสังกัดอยู่” นั่นคือ นักศึกษาแต่ละคนสังกัดอยู่ในโปรแกรมวิชาใดวิชาหนึ่ง


ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้

ในการระบุชื่อความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ จะพิจารณาด้วยการกำหนดทิศทางของความสัมพันธ์จากเอนทิตี้หนึ่งไปยังเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร เช่น ความสัมพันธ์จากเอนทิตี้นักศึกษาไปแต่ละคนสังกัดอยู่ในโปรแกรมวิชาเป็นความสัมพันธ์ที่เรียกว่า “สังกัดอยู่” นั่นคือนักศึกษาแต่ละคนสังกัดอยู่ในโปรแกรมวิชาในทางกลับกัน อาจจะระบุทิศทางของความสัมพันธ์ว่า ความสัมพันธ์จากเอนทิตี้โปรแกรมวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษา เป็นความสัมพันธ์ที่เรียกว่า “ประกอบด้วย” นั่นคือแต่ละโปรแกรมวิชาประกอบด้วยนักศึกษา
นอกจากคำนึงถึงความสัมพันธ์แล้ว ยังต้องพิจารณาถึงจำนวนข้อมูล ที่เกิดขึ้นระหว่างความสัมพันธ์ของทั้งสองเอนทิตี้ว่ามีค่าเท่าไร (Cardinality Ratio) เช่น ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้นักศึกษาไปยังเอนทิตี้โปรแกรมิชาเป็นอัตราส่วน 1 : 1 นั่นคือ นักศึกษาแต่ละสังกัดอยู่โปรแกรมวิชาเพียงโปรแกรมวิชาเป็นอัตราส่วน 1 : 30 นั่นคือแต่ละโปรแกรมวิชาจะประกอบด้วยนักศึกษา 30 คนเป็นต้น



ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ 2 เอนทิตี้

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


ภาพประกอบที่ 25 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา


ภาพประกอบที่ 26 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: นายนารายณ์ แก้วภักดี ม.15 ศ. เช้า IP: 124.157.129.16 วันที่: 10 สิงหาคม 2552 เวลา:17:26:09 น.  

 
ตรวจแล้ว (ครั้งที่ 1)


โดย: อ.น้ำผึ้ง (neaup ) วันที่: 11 สิงหาคม 2552 เวลา:11:13:22 น.  

 

3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Entity Relationship)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ หมายถึง ความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับอีกเอนทิตี้หนึ่งบนฐานข้อมูลโดยใช้คีย์ต่าง ๆ เป็นตัวเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้ฐานข้อมูลใช้งานได้ง่ายและไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูลบนฐานข้อมูล ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One)

เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

3.ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N)


ที่มา:wanchai.hi.ac.th/3204-2116/DBPR2.htm


























ประเภทของความสัมพันธ์


1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนเพียง 1 ระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์เพียง 1 ระเบียน

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



1:1

















2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ A ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ B

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



1:N

















3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียน

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



N:M

















4. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง (Many-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ A

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



N:1

















โดย: 52040263105 ชื่อ.น.ส.อรวรรณ ไชยยงค์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หมู่22 (อังคารเช้า) IP: 124.157.149.216 วันที่: 12 สิงหาคม 2552 เวลา:13:43:09 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04



โดย: นางสาวชลดา บุญรุ่ง (หมู่8 พฤหัส เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 15 สิงหาคม 2552 เวลา:13:50:50 น.  

 
3.1ความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา


ที่มา //www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo222.htm



3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N)

ที่มา //www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo223.htm

โดยน.สอภิญญาอุ้ยปะโค52041278104 ม.15ศ.เช้า


โดย: อภิญญา อุ้ยปะโค IP: 117.47.128.146 วันที่: 15 สิงหาคม 2552 เวลา:15:09:28 น.  

 
1.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึงความว่า สมาชิกใน entity A ที่มีความสัมพันธ์กับ entity B จะมีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่งเท่านั้น เช่น กำหนดให้ entity นักศึกษามีความสัมพันธ์กับ entity อาจารย์แสดงว่านักศึกษาหนึ่งคน จะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษา 1 คน ในทางกลับกันก็คืออาจารย์ที่ปรึกษาหนึ่งคนจะต้องมีนักศึกษาได้ 1 คนซึ่งขัดแย้งกับความเป็นจริง
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo221.htm
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น นักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นต้น
หมายความว่า entity ใน A มีความสัมพันธ์กับสมาชิก entity B แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น กำหนดให้ entity
อาจารย์ที่ปรึกษา มีความสัมพันธ์กับ entity นักศึกษา แบบหนึ่งต่อกลุ่ม แสดงว่า อาจารย์หนึ่งคน สามารถมีนัก
ศึกษาในสังกัดได้มากกว่าหนึ่งคน แต่นักศึกษาจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo222.htm
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่นนักศึกษากับวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
หมายความว่า สมาชิกใน entily A มีความสัมพันธ์กับสมาชิกใน entily B แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ entily นักศึกษา มีความสัมพันธ์กับ entily วิชาที่ลงทะเบียน แบบกลุ่มต่อกลุ่มแสดงว่านักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียน
เรียนได้มากกว่า 1 วิชา และในทำนองเดียวกัน วิชาหนึ่งวิชาสามารถมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนได้หลายคน
ทีมา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon


โดย: นางสาวคนึงนิจ ผิวบาง ม.22 IP: 124.157.148.178 วันที่: 17 สิงหาคม 2552 เวลา:19:28:50 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
1.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึงความว่า สมาชิกใน entity A ที่มีความสัมพันธ์กับ entity B จะมีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่งเท่านั้น เช่น กำหนดให้ entity นักศึกษามีความสัมพันธ์กับ entity อาจารย์แสดงว่านักศึกษาหนึ่งคน จะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษา 1 คน ในทางกลับกันก็คืออาจารย์ที่ปรึกษาหนึ่งคนจะต้องมีนักศึกษาได้ 1 คนซึ่งขัดแย้งกับความเป็นจริง
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo221.htm
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น นักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นต้น
หมายความว่า entity ใน A มีความสัมพันธ์กับสมาชิก entity B แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น กำหนดให้ entity
อาจารย์ที่ปรึกษา มีความสัมพันธ์กับ entity นักศึกษา แบบหนึ่งต่อกลุ่ม แสดงว่า อาจารย์หนึ่งคน สามารถมีนัก
ศึกษาในสังกัดได้มากกว่าหนึ่งคน แต่นักศึกษาจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo222.htm
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่นนักศึกษากับวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
หมายความว่า สมาชิกใน entily A มีความสัมพันธ์กับสมาชิกใน entily B แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ entily นักศึกษา มีความสัมพันธ์กับ entily วิชาที่ลงทะเบียน แบบกลุ่มต่อกลุ่มแสดงว่านักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียน
เรียนได้มากกว่า 1 วิชา และในทำนองเดียวกัน วิชาหนึ่งวิชาสามารถมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนได้หลายคน
ทีมา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo223.htm


โดย: นางสาว นงนุช นาเจริญ 52040258129 หมู่22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.182, 58.147.7.66 วันที่: 20 สิงหาคม 2552 เวลา:19:25:36 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
= ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/


โดย: นางสาว นฤมล หมู่หาญ 52040263122 หมู่22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.182, 58.147.7.66 วันที่: 20 สิงหาคม 2552 เวลา:19:35:07 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Entity Relationship)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ หมายถึง ความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับอีกเอนทิตี้หนึ่งบนฐานข้อมูลโดยใช้คีย์ต่าง ๆ เป็นตัวเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้ฐานข้อมูลใช้งานได้ง่ายและไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูลบนฐานข้อมูล ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One)

เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

3.ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N)


ที่มา:wanchai.hi.ac.th/3204-2116/DBPR2.htm



ประเภทของความสัมพันธ์


1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนเพียง 1 ระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์เพียง 1 ระเบียน

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



1:1


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ A ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ B

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



1:N




3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียน

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



N:M




4. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง (Many-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ A

A1

A2

A3



B1

B2

B3

B4



N:1

















โดย: นางสาวสุจิตรา อินทสร้อย 52040258139 หมู่22 อังคารเช้า IP: 124.157.144.104 วันที่: 22 สิงหาคม 2552 เวลา:14:51:33 น.  

 
ความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล มี 3 วิธีดังนี้
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ 2 เอนทิตี้

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


ภาพประกอบที่ 25 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา


ภาพประกอบที่ 26 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)



โดย: นายวรวัฒน์ ศรีใจ 52040332110 พฤหัส เช้า หมู่ 08 IP: 202.29.5.62 วันที่: 27 สิงหาคม 2552 เวลา:18:16:57 น.  

 
1.
รูปแบบของฐานข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลโดยทั่วไปจะมี 3 แบบด้วย

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database)

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

ลักษณะคล้ายต้นไม้ที่คว่ำหัวลงหรือเรียกอีกแบบว่า โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Structure) โดยมีระเบียนที่อยู่แถวบนเรียกว่า ระเบียนพ่อแม่ (Parent Record) ระเบียนในแถวถัดลงมาจะเรียกว่า ระเบียนลูก (Child Record)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database) ข้อมูลภายในฐานข้อมูลนี้สามารถมีความสัมพันธ์กัน แบบใดก็ได้ ระเบียนร้านผู้ผลิตสินค้า ระเบียนสินค้า ระเบียนที่เก็บสินค้า

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) มีโครงสร้างข้อมูลที่ต่างจากฐานข้อมูลอื่น คือ ข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบของ ตาราง (Table)

ที่มา


//wanchai.hi.ac.th/3204-2005/Db2.htm




โดย: นางสาววินภา พินิจมนตรี รหัส 51241151116 รูปแบบพิเศษหมู่ 5 วันเสาร์บ่ายโมง IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:09:59 น.  

 
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น




2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา




3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M) ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: นายอัศวิน บัวน้ำอ้อม 51241151118 รูปแบบพิเศษหมู่ 5 วันเสาร์บ่ายโมง IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:10:32 น.  

 
1.
รูปแบบของฐานข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลโดยทั่วไปจะมี 3 แบบด้วย

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database)

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

ลักษณะคล้ายต้นไม้ที่คว่ำหัวลงหรือเรียกอีกแบบว่า โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Structure) โดยมีระเบียนที่อยู่แถวบนเรียกว่า ระเบียนพ่อแม่ (Parent Record) ระเบียนในแถวถัดลงมาจะเรียกว่า ระเบียนลูก (Child Record)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database) ข้อมูลภายในฐานข้อมูลนี้สามารถมีความสัมพันธ์กัน แบบใดก็ได้ ระเบียนร้านผู้ผลิตสินค้า ระเบียนสินค้า ระเบียนที่เก็บสินค้า

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) มีโครงสร้างข้อมูลที่ต่างจากฐานข้อมูลอื่น คือ ข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบของ ตาราง (Table)

ที่มา


//wanchai.hi.ac.th/3204-2005/Db2.htm


โดย: นาย ปิยะ ศรีกุลวงศ์ เสาร์บ่าย 51241151204 IP: 222.123.59.23 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:13:26:46 น.  

 

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น




2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา




3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M) ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: นางาสาว สมร นาแพงหมื่น เสาร์บ่าย 51241151220 IP: 222.123.59.23 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:13:51:24 น.  

 

3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/14.html







โดย: นางาสาว สมร นาแพงหมื่น เสาร์บ่าย 51241151220 IP: 114.128.133.6 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:16:19:58 น.  

 
3. ระบบประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) คือ การประมวลผลร่วมกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ต่อพ่วงกับระบบสื่อสาร (Communication) โดยอาศัยอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น โมเด็ม (Modem) ซึ่งลักษณะการทำงานอาจจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อพ่วงกันในระบบ เครือข่าย (Network)


3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้อง หนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูล ของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้ หลายสาขา
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่ง ต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N)


โดย: นางฉวีวรรณ แสงเลิศ 51241151132 รูปแบบพิเศษ รปศ. เรียนเวลา บ่ายโมงวันเสาร์ IP: 117.47.14.74 วันที่: 1 กันยายน 2552 เวลา:19:32:52 น.  

 
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)


โดย: นางสาวลำไพ พูลเกษม (ศุกร์ เช้า หมู่เรียนที่ 15) IP: 1.1.1.40, 58.137.131.62 วันที่: 1 กันยายน 2552 เวลา:20:22:35 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ มี 3 ลักษณะ คือ
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M) เช่น แต่ละจังหวัดมีอำเภอหลายอำเภอ

ทีมา
//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: นาย สุระทิน ใจใส หมู่ 15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151202 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 4 กันยายน 2552 เวลา:11:08:55 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชา
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียน
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม

ที่มา : //tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: นางสาวกฤติยา เหล่าผักสาร รหัสนักศึกษา 52040263134 คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร IP: 125.26.170.66 วันที่: 5 กันยายน 2552 เวลา:15:28:57 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)


ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: นางสาวเกษร อัครฮาด รหัสนักศึกษา 52040003135 หมู่ 29 เรียนพุธเช้า IP: 125.26.172.40 วันที่: 7 กันยายน 2552 เวลา:20:47:14 น.  

 
.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชา
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียน
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม

ที่มา : //tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm




โดย: นางสาวกฤติยา เหล่าผักสาร รหัสนักศึกษา 52040263134 หมู่ 22 อังคารเช้า คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 8 กันยายน 2552 เวลา:9:26:52 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ3.1
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น,คุณอาจต้องการสร้างตารางเพื่อติดตามพนักงานที่เข้าร่วมการทายผลฟุตบอล นักฟุตบอลแต่ละคนในตารางนักฟุตบอลจะมีระเบียนที่จับคู่กันได้หนึ่งระเบียนในตาราง Employees,แผนกหนึ่งแผนกมีบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น และบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกหนึ่งคนก็ควบคุมแผนกได้เพียงหนึ่งแผนกเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
,ระเบียนใน Table A สามารถมีระเบียนใน Table B ที่จับคู่กันได้หลายระเบียน แต่ระเบียนใน Table B จะมีระเบียนที่จับคู่กับ Table A ได้เพียงหนึ่งระเบียน,ลูกค้า 1 คน สามารถมีหลายใบสั่งซื้อ ในความสัมพันธ์นี้ตารางที่เก็บหมายเลขแถวจะต้องมี forieng ไปตารางที่มี 1 แถวข้อมูล ดังนั้น จึงมี CustomerID ในตารางข้อมูล Orders เพื่อแสดงความสัมพันธ์


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M) ,ตาราง Orders และตาราง Products มีความสัมพันธ์แบบกลุ่ม-ต่อ-กลุ่มที่กำหนดโดยการสร้างความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-กลุ่มขึ้นมาสองความสัมพันธ์ไปยังตาราง Order Details ซึ่งใบสั่งซื้อแต่ละใบสามารถมีสินค้าได้หลายชนิด และสินค้าแต่ละชนิดสามารถจะปรากฏได้ในใบสั่งซื้อหลายใบ,ถ้ามีตารางข้อมูล 2 ตาราง Books และ Authors อาจจะพบว่าหนังสือ 1 เล่ม เขียนโดยนักเขียน 2 คน แต่ละคนเขียนหนังสือเล่มอื่นด้วย ตามปกติความสัมพันธ์ประเภทนี้ ควรอีกตารางข้อมูลเก็บข้อมูลทั้งหมด อาจจะต้องมี Books, Authors และ Books_Authors โดยตารางที่ 3 เก็บเฉพาะคีย์ของตารางอื่นในฐานะ foriegn key เป็นคู่ เพื่อแสดงว่าผู้เขียนเกี่ยวข้องกับหนังสือเล่มใด

ที่มา...
//www.widebase.net/database/mysql/mysqltutorial/mysqltutor0101.shtml



โดย: ชื่อ นายวัชระพงศ์ โคตรชมภู รหัสนักศึกษา 51040901205 หมู่ที่1จันทร์(บ่าย)สาขาวิชานิติศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 11 กันยายน 2552 เวลา:12:45:14 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
1.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึงความว่า สมาชิกใน entity A ที่มีความสัมพันธ์กับ entity B จะมีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่งเท่านั้น เช่น กำหนดให้ entity นักศึกษามีความสัมพันธ์กับ entity อาจารย์แสดงว่านักศึกษาหนึ่งคน จะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษา 1 คน ในทางกลับกันก็คืออาจารย์ที่ปรึกษาหนึ่งคนจะต้องมีนักศึกษาได้ 1 คนซึ่งขัดแย้งกับความเป็นจริง
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo221.htm
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น นักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นต้น
หมายความว่า entity ใน A มีความสัมพันธ์กับสมาชิก entity B แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น กำหนดให้ entity
อาจารย์ที่ปรึกษา มีความสัมพันธ์กับ entity นักศึกษา แบบหนึ่งต่อกลุ่ม แสดงว่า อาจารย์หนึ่งคน สามารถมีนัก
ศึกษาในสังกัดได้มากกว่าหนึ่งคน แต่นักศึกษาจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo222.htm
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่นนักศึกษากับวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
หมายความว่า สมาชิกใน entily A มีความสัมพันธ์กับสมาชิกใน entily B แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ entily นักศึกษา มีความสัมพันธ์กับ entily วิชาที่ลงทะเบียน แบบกลุ่มต่อกลุ่มแสดงว่านักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียน
เรียนได้มากกว่า 1 วิชา และในทำนองเดียวกัน วิชาหนึ่งวิชาสามารถมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนได้หลายคน
ทีมาhttp


โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 58.137.131.62 วันที่: 12 กันยายน 2552 เวลา:16:17:45 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น,คุณอาจต้องการสร้างตารางเพื่อติดตามพนักงานที่เข้าร่วมการทายผลฟุตบอล นักฟุตบอลแต่ละคนในตารางนักฟุตบอลจะมีระเบียนที่จับคู่กันได้หนึ่งระเบียนในตาราง Employees,แผนกหนึ่งแผนกมีบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น และบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกหนึ่งคนก็ควบคุมแผนกได้เพียงหนึ่งแผนกเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
,ระเบียนใน Table A สามารถมีระเบียนใน Table B ที่จับคู่กันได้หลายระเบียน แต่ระเบียนใน Table B จะมีระเบียนที่จับคู่กับ Table A ได้เพียงหนึ่งระเบียน,ลูกค้า 1 คน สามารถมีหลายใบสั่งซื้อ ในความสัมพันธ์นี้ตารางที่เก็บหมายเลขแถวจะต้องมี forieng ไปตารางที่มี 1 แถวข้อมูล ดังนั้น จึงมี CustomerID ในตารางข้อมูล Orders เพื่อแสดงความสัมพันธ์


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M) ,ตาราง Orders และตาราง Products มีความสัมพันธ์แบบกลุ่ม-ต่อ-กลุ่มที่กำหนดโดยการสร้างความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-กลุ่มขึ้นมาสองความสัมพันธ์ไปยังตาราง Order Details ซึ่งใบสั่งซื้อแต่ละใบสามารถมีสินค้าได้หลายชนิด และสินค้าแต่ละชนิดสามารถจะปรากฏได้ในใบสั่งซื้อหลายใบ,ถ้ามีตารางข้อมูล 2 ตาราง Books และ Authors อาจจะพบว่าหนังสือ 1 เล่ม เขียนโดยนักเขียน 2 คน แต่ละคนเขียนหนังสือเล่มอื่นด้วย ตามปกติความสัมพันธ์ประเภทนี้ ควรอีกตารางข้อมูลเก็บข้อมูลทั้งหมด อาจจะต้องมี Books, Authors และ Books_Authors โดยตารางที่ 3 เก็บเฉพาะคีย์ของตารางอื่นในฐานะ foriegn key เป็นคู่ เพื่อแสดงว่าผู้เขียนเกี่ยวข้องกับหนังสือเล่มใด

ที่มา...
//www.widebase.net/database/mysql/mysqltutorial/mysqltutor0101.shtml







โดย: นางสาว ศิริพร คมกล้า รหัส 51040901250 สาขา นิติศาสตร์ หมู่ 01 (จันทร์ - บ่าย ) IP: 202.29.5.62 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:14:54:28 น.  

 
1.
รูปแบบของฐานข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลโดยทั่วไปจะมี 3 แบบด้วย

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database)

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

ลักษณะคล้ายต้นไม้ที่คว่ำหัวลงหรือเรียกอีกแบบว่า โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Structure) โดยมีระเบียนที่อยู่แถวบนเรียกว่า ระเบียนพ่อแม่ (Parent Record) ระเบียนในแถวถัดลงมาจะเรียกว่า ระเบียนลูก (Child Record)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database) ข้อมูลภายในฐานข้อมูลนี้สามารถมีความสัมพันธ์กัน แบบใดก็ได้ ระเบียนร้านผู้ผลิตสินค้า ระเบียนสินค้า ระเบียนที่เก็บสินค้า

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) มีโครงสร้างข้อมูลที่ต่างจากฐานข้อมูลอื่น คือ ข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบของ ตาราง (Table)

ที่มา


//wanchai.hi.ac.th/3204-2005/Db2.htm





โดย: นายสันทัด คูหานา 51241151129 หมู่ 05 รูปแบบพิเศษ IP: 125.26.176.50 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:15:40:01 น.  

 

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น




2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา




3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M) ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm



โดย: นางสาวพิพิทย์ชยานันต์ สีลาเวช 51241151133 หมู่ 05 IP: 125.26.176.50 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:15:40:39 น.  

 
3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)






เอนทิตี้ใบสั่งซื้อแต่ละใบจะสามารถสั่งสินค้าได้มากกว่าหนึ่งชนิด ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้ใบสั่งซื้อไปยังเอนทิตี้สินค้า จึงเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1:m) ในขณะที่สินค้าแต่ละชนิด จะถูกสั่งอยู่ในใบสั่งซื้อหลายใบ ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้สินค้าไปยังอินทิตี้ใบสั่งซื้อ จึงเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1:n) ดังนั้นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้ทั้งสอง จึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

จากคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูลที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงอาจให้นิยามของฐานข้อมูลในอีกลักษณะได้ว่า “ฐานข้อมูล” อาจหมายถึง โครงสร้างสารสนเทศ ที่ประกอบด้วยหลาย ๆ เอนทิตี้ที่มีความสัมพันธ์กัน





ความสำคัญของการประมวลผลแบบระบบฐานข้อมูล

จากการจัดเก็บข้อมูลรวมเป็นฐานข้อมูลจะก่อให้เกิดประโยชน์ดังนี้

1. สามารถลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลได้

การเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่ ทำให้เกิดความซ้ำซ้อน (Redundancy) ดังนั้นการนำข้อมูลมารวมเก็บไว้ในฐานข้อมูล จะชาวยลดปัญหาการเกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูลได้ โดยระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) จะช่วยควบคุมความซ้ำซ้อนได้ เนื่องจากระบบจัดการฐานข้อมูลจะทราบได้ตลอดเวลาว่ามีข้อมูลซ้ำซ้อนกันอยู่ที่ใดบ้าง

2. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้

หากมีการเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่และมีการปรับปรุงข้อมูลเดียวกันนี้ แต่ปรับปรุงไม่ครบทุกที่ที่มีข้อมูลเก็บอยู่ก็จะทำให้เกิดปัญหาข้อมูลชนิดเดียวกัน อาจมีค่าไม่เหมือนกันในแต่ละที่ที่เก็บข้อมูลอยู่ จึงก่อใให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลขึ้น (Inconsistency)

3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้

ฐานข้อมูลจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลรวมไว้ด้วยกัน ดังนั้นหากผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลที่มาจากแฟ้มข้อมูลต่างๆ ก็จะทำได้โดยง่าย

4. สามารถรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล

บางครั้งพบว่าการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลอาจมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น เช่น จากการที่ผู้ป้อนข้อมูลป้อนข้อมูลผิดพลาดคือป้อนจากตัวเลขหนึ่งไปเป็นอีกตัวเลขหนึ่ง โดยเฉพาะกรณีมีผู้ใช้หลายคนต้องใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลร่วมกัน หากผู้ใช้คนใดคนหนึ่งแก้ไขข้อมูลผิดพลาดก็ทำให้ผู้อื่นได้รับผลกระทบตามไปด้วย ในระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) จะสามารถใส่กฎเกณฑ์เพื่อควบคุมความผิดพลาดที่เกดขึ้น

5. สามารถกำหนดความป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูลได้

การเก็บข้อมูลร่วมกันไว้ในฐานข้อมูลจะทำให้สามารถกำหนดมาตรฐานของข้อมูลได้รวมทั้งมาตรฐานต่าง ๆ ในการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปในลักษณะเดียวกันได้ เช่นการกำหนดรูปแบบการเขียนวันที่ ในลักษณะ วัน/เดือน/ปี หรือ ปี/เดือน/วัน ทั้งนี้จะมีผู้ที่คอยบริหารฐานข้อมูลที่เราเรียกว่า ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) เป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่างๆ

6. สามารถกำหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้

ระบบความปลอดภัยในที่นี้ เป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ใช้ที่ไม่มีสิทธิมาใช้ หรือมาเห็นข้อมูลบางอย่างในระบบ ผู้บริหารฐานข้อมูลจะสามารถกำหนดระดับการเรียกใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนได้ตามความเหมาะสม

7. เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล

ในระบบฐานข้อมูลจะมีตัวจัดการฐานข้อมูลที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงกับฐานข้อมูล โปรแกรมต่าง ๆ อาจไม่จำเป็นต้องมีโครงสร้างข้อมูลทุกครั้ง ดังนั้นการแก้ไขข้อมูลบางครั้ง จึงอาจกระทำเฉพาะกับโปรแกรมที่เรียกใช้ข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงเท่านั้น ส่วนโปรแกรมที่ไม่ได้เรียกใช้ข้อมูลดังกล่าว ก็จะเป็นอิสระจากการเปลี่ยนแปลง





รูปแบบของระบบฐานข้อมูล

รูปแบบของระบบฐานข้อมูล มีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภท คือ

1. ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบที่เป็นตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลชั่น (Relation) มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือเป็นแถว (row) และเป็นคอลัมน์ (column) การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตาราง จะเชื่อมโยงโดยใช้แอททริบิวต์ (attribute) หรือคอลัมน์ที่เหมือนกันทั้งสองตารางเป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูล ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์นี้จะเป็นรูปแบบของฐานข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ดังตัวอย่าง

พนักงาน


รหัสพนักงาน
ชื่อพนักงาน
ที่อยู่
เงินเดือน
รหัสแผนก

12501535

12534568

12503452

12356892

15689730
นายสมพงศ์

นายมนตรี

นายเอก

นายบรรทัด

นายราชัน
กรุงเทพ

นครปฐม

กรุงเทพ

นนทบุรี

สมุทรปราการ
12000

12500

13500

11500

12000
VO

VN

VO

VD

VA



รูปแสดงตารางพนักงาน


2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database)

ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายจะเป็นการรวมระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนแต่จะต่างกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธ์เอาไว้ โดยระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันจะต้องมีค่าของข้อมูลในแอททริบิวต์ใดแอททริบิวต์หนึ่งเหมือนกัน แต่ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะแสดงความสัมพันธ์อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น


3. ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database)

ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น เป็นโครงสร้างที่จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรือเป็นโครงสร้างรูปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จัดเก็บในที่นี้ คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วยค่าของเขตข้อมูล (Field) ของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ

ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้นนี้คล้ายคลึงกับฐานข้อมูลแบบเครือข่าย แต่ต่างกันที่ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น มีกฎเพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งประการ คือ ในแต่ละกรอบจะมีลูกศรวิ่งเข้าหาได้ไม่เกิน 1 หัวลูกศร



ที่มา : //www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it04/page01.html



โดย: นายปิยะ หอมชื่น 512411511144 หมู่ 05 IP: 125.26.176.50 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:15:41:30 น.  

 
1. รูปแบบข้อมูลแบบลำดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลำดับขั้น (Hierarchical data model) วิธีการสร้างฐาน ข้อมูลแบบลำดับขั้นถูกพัฒนาโดยบริษัท ไอบีเอ็ม จำกัด ในปี 1980 ได้รับความนิยมมาก ในการพัฒนาฐานข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และขนาดกลาง โดยที่โครงสร้างข้อมูลจะสร้างรูปแบบเหมือนต้นไม้ โดยความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหลาย (One- to -Many)

2. รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่าย (Network data Model) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายมีความคล้ายคลึงกับฐาน ข้อมูลแบบลำดับชั้น ต่างกันที่โครงสร้างแบบเครือข่าย อาจจะมีการติดต่อหลายต่อหนึ่ง (Many-to-one) หรือ หลายต่อหลาย (Many-to-many) กล่าวคือลูก (Child) อาจมีพ่อแม่ (Parent) มากกว่าหนึ่ง สำหรับตัวอย่างฐานข้อมูลแบบเครือข่ายให้ลองพิจารณาการจัดการข้อมูลของห้องสมุด ซึ่งรายการจะประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ ที่อยู่ ประเภท

3. รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล (Relation data model) เป็นลักษณะการออกแบบฐานข้อมูลโดยจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางที่มีระบบคล้ายแฟ้ม โดยที่ข้อมูลแต่ละแถว (Row) ของตารางจะแทนเรคอร์ด (Record) ส่วน ข้อมูลนแนวดิ่งจะแทนคอลัมน์ (Column) ซึ่งเป็นขอบเขตของข้อมูล (Field) โดยที่ตารางแต่ละตารางที่สร้างขึ้นจะเป็นอิสระ ดังนั้นผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะต้องมีการวางแผนถึงตารางข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ เช่นระบบฐานข้อมูลบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย ตารางประวัติพนักงาน ตารางแผนกและตารางข้อมูลโครงการ แสดงประวัติพนักงาน ตารางแผนก และตารางข้อมูลโครงการ




โดย: นายสุรพล อินทร์ธิราช หมู่ 05 IP: 125.26.176.50 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:15:42:14 น.  

 
ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
1.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึงความว่า สมาชิกใน entity A ที่มีความสัมพันธ์กับ entity B จะมีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่งเท่านั้น เช่น กำหนดให้ entity นักศึกษามีความสัมพันธ์กับ entity อาจารย์แสดงว่านักศึกษาหนึ่งคน จะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษา 1 คน ในทางกลับกันก็คืออาจารย์ที่ปรึกษาหนึ่งคนจะต้องมีนักศึกษาได้ 1 คนซึ่งขัดแย้งกับความเป็นจริง
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น นักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นต้น
หมายความว่า entity ใน A มีความสัมพันธ์กับสมาชิก entity B แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น กำหนดให้ entity
อาจารย์ที่ปรึกษา มีความสัมพันธ์กับ entity นักศึกษา แบบหนึ่งต่อกลุ่ม แสดงว่า อาจารย์หนึ่งคน สามารถมีนัก
ศึกษาในสังกัดได้มากกว่าหนึ่งคน แต่นักศึกษาจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่นนักศึกษากับวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
หมายความว่า สมาชิกใน entily A มีความสัมพันธ์กับสมาชิกใน entily B แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ entily นักศึกษา มีความสัมพันธ์กับ entily วิชาที่ลงทะเบียน แบบกลุ่มต่อกลุ่มแสดงว่านักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียน
เรียนได้มากกว่า 1 วิชา และในทำนองเดียวกัน วิชาหนึ่งวิชาสามารถมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนได้หลายคน




โดย: นายจักรกริช โพธิวงษ์ หมู่ 15 ศุกรเช้า IP: 192.168.1.103, 119.42.83.235 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:20:10:07 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)


1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่ง ต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)


ที่มา : //tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: น.ส. นาริณี อินทร์ดี IP: 125.26.160.68 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:0:36:26 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

คำตอบ...

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น,คุณอาจต้องการสร้างตารางเพื่อติดตามพนักงานที่เข้าร่วมการทายผลฟุตบอล นักฟุตบอลแต่ละคนในตารางนักฟุตบอลจะมีระเบียนที่จับคู่กันได้หนึ่งระเบียนในตาราง Employees,แผนกหนึ่งแผนกมีบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น และบุคลากรที่เป็นหัวหน้าแผนกหนึ่งคนก็ควบคุมแผนกได้เพียงหนึ่งแผนกเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
,ระเบียนใน Table A สามารถมีระเบียนใน Table B ที่จับคู่กันได้หลายระเบียน แต่ระเบียนใน Table B จะมีระเบียนที่จับคู่กับ Table A ได้เพียงหนึ่งระเบียน,ลูกค้า 1 คน สามารถมีหลายใบสั่งซื้อ ในความสัมพันธ์นี้ตารางที่เก็บหมายเลขแถวจะต้องมี forieng ไปตารางที่มี 1 แถวข้อมูล ดังนั้น จึงมี CustomerID ในตารางข้อมูล Orders เพื่อแสดงความสัมพันธ์


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M) ,ตาราง Orders และตาราง Products มีความสัมพันธ์แบบกลุ่ม-ต่อ-กลุ่มที่กำหนดโดยการสร้างความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-กลุ่มขึ้นมาสองความสัมพันธ์ไปยังตาราง Order Details ซึ่งใบสั่งซื้อแต่ละใบสามารถมีสินค้าได้หลายชนิด และสินค้าแต่ละชนิดสามารถจะปรากฏได้ในใบสั่งซื้อหลายใบ,ถ้ามีตารางข้อมูล 2 ตาราง Books และ Authors อาจจะพบว่าหนังสือ 1 เล่ม เขียนโดยนักเขียน 2 คน แต่ละคนเขียนหนังสือเล่มอื่นด้วย ตามปกติความสัมพันธ์ประเภทนี้ ควรอีกตารางข้อมูลเก็บข้อมูลทั้งหมด อาจจะต้องมี Books, Authors และ Books_Authors โดยตารางที่ 3 เก็บเฉพาะคีย์ของตารางอื่นในฐานะ foriegn key เป็นคู่ เพื่อแสดงว่าผู้เขียนเกี่ยวข้องกับหนังสือเล่มใด








โดย: น.ส.สุวรรณี ระวะใจ หมู่เรียนที่ 22 อังคารเช้า IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:10:18:24 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/14.html



โดย: น.สชไมพร ตะโคตร ม.29 พุธ(ช้า) 520404103 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:11:21:12 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/14.html


โดย: นางสาว ศิริพร คมกล้า 51040901250 สาขา นิติศาสตร์ หมู่ 01(จันทร์-บ่าย) IP: 222.123.14.135 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:11:55:01 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/






โดย: นาวสาวกาญจนา อุปวันดี (หมู่01 วันจันทร์บ่าย) IP: 113.53.164.173 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:22:04:08 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
1.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึงความว่า สมาชิกใน entity A ที่มีความสัมพันธ์กับ entity B จะมีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่งเท่านั้น เช่น กำหนดให้ entity นักศึกษามีความสัมพันธ์กับ entity อาจารย์แสดงว่านักศึกษาหนึ่งคน จะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษา 1 คน ในทางกลับกันก็คืออาจารย์ที่ปรึกษาหนึ่งคนจะต้องมีนักศึกษาได้ 1 คนซึ่งขัดแย้งกับความเป็นจริง
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo221.htm
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น นักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นต้น
หมายความว่า entity ใน A มีความสัมพันธ์กับสมาชิก entity B แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น กำหนดให้ entity
อาจารย์ที่ปรึกษา มีความสัมพันธ์กับ entity นักศึกษา แบบหนึ่งต่อกลุ่ม แสดงว่า อาจารย์หนึ่งคน สามารถมีนัก
ศึกษาในสังกัดได้มากกว่าหนึ่งคน แต่นักศึกษาจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo222.htm
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่นนักศึกษากับวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
หมายความว่า สมาชิกใน entily A มีความสัมพันธ์กับสมาชิกใน entily B แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ entily นักศึกษา มีความสัมพันธ์กับ entily วิชาที่ลงทะเบียน แบบกลุ่มต่อกลุ่มแสดงว่านักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียน
เรียนได้มากกว่า 1 วิชา และในทำนองเดียวกัน วิชาหนึ่งวิชาสามารถมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนได้หลายคน
ทีมา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo223.htm


โดย: นางสาวประสิทธิ์พร เพ็งสอน(หมู่01 วันจันทร์บ่าย) IP: 113.53.164.173 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:22:06:23 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04



โดย: นางสาวปิยนุช แสงจันทร์(หมู่01 วันจันทร์บ่าย) IP: 113.53.164.173 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:22:07:54 น.  

 
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น




2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา




3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)


ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm






โดย: นายวิทวัฒน์ พากุล รหัสนักศึกษา 52042055102 หมู่ 29 ( พุธ เช้า ) IP: 192.168.1.103, 119.42.82.83 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:19:49:55 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/14.html



โดย: จ.ส.ต.หญิง พรรสุภา ชิตเกษร 51241151125 เสาร์บ่าย หมู่05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:14:37:10 น.  

 
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ 2 เอนทิตี้

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


ภาพประกอบที่ 25 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา


ภาพประกอบที่ 26 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm






โดย: จ.ส.ต. อาสา โสมประยูร 51241151211 เสาร์บ่าย หมู่05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:14:39:00 น.  

 
1.
รูปแบบของฐานข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลโดยทั่วไปจะมี 3 แบบด้วย

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database)

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

ลักษณะคล้ายต้นไม้ที่คว่ำหัวลงหรือเรียกอีกแบบว่า โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Structure) โดยมีระเบียนที่อยู่แถวบนเรียกว่า ระเบียนพ่อแม่ (Parent Record) ระเบียนในแถวถัดลงมาจะเรียกว่า ระเบียนลูก (Child Record)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database) ข้อมูลภายในฐานข้อมูลนี้สามารถมีความสัมพันธ์กัน แบบใดก็ได้ ระเบียนร้านผู้ผลิตสินค้า ระเบียนสินค้า ระเบียนที่เก็บสินค้า

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) มีโครงสร้างข้อมูลที่ต่างจากฐานข้อมูลอื่น คือ ข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบของ ตาราง (Table)

ที่มา

//wanchai.hi.ac.th/3204-2005/Db2.htm


โดย: จ.ส.ต. เสกสิท วงศรีรักษา 51241151128 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:14:40:43 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา



3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)


//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm










โดย: น.ส.จิตราภรณ์ ภุเกตุ หมู่ 8 พฤหัสเช้า IP: 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:16:42:44 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04



โดย: นางสาวจุรีพร โดคตชมภุ รหัส 52040332125 พฤหัส (เช้า) หมู่ 8 IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:13:36 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
1.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึงความว่า สมาชิกใน entity A ที่มีความสัมพันธ์กับ entity B จะมีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่งเท่านั้น เช่น กำหนดให้ entity นักศึกษามีความสัมพันธ์กับ entity อาจารย์แสดงว่านักศึกษาหนึ่งคน จะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษา 1 คน ในทางกลับกันก็คืออาจารย์ที่ปรึกษาหนึ่งคนจะต้องมีนักศึกษาได้ 1 คนซึ่งขัดแย้งกับความเป็นจริง
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo221.htm
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น นักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นต้น
หมายความว่า entity ใน A มีความสัมพันธ์กับสมาชิก entity B แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น กำหนดให้ entity
อาจารย์ที่ปรึกษา มีความสัมพันธ์กับ entity นักศึกษา แบบหนึ่งต่อกลุ่ม แสดงว่า อาจารย์หนึ่งคน สามารถมีนัก
ศึกษาในสังกัดได้มากกว่าหนึ่งคน แต่นักศึกษาจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาได้เพียงหนึ่งคนเท่านั้น
ที่มา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo222.htm
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่นนักศึกษากับวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
หมายความว่า สมาชิกใน entily A มีความสัมพันธ์กับสมาชิกใน entily B แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ entily นักศึกษา มีความสัมพันธ์กับ entily วิชาที่ลงทะเบียน แบบกลุ่มต่อกลุ่มแสดงว่านักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียน
เรียนได้มากกว่า 1 วิชา และในทำนองเดียวกัน วิชาหนึ่งวิชาสามารถมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนได้หลายคน
ทีมา//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lumpang/datamon/photo223.htm


โดย: นายอภิเชษฐ์ หาคำ ม.8 พฤหัส (เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:23:52 น.  

 
3. แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)


1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships)
1.1 ฉันมีเพื่อนสนิทคนเดียว
1.2 ฉันมีพ่อหนึ่งคน
1.3 ฉันมีแม่หนึ่งคน

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships)
1.1 เพื่อนของฉันเค้ามีแฟนหลายคน
1.2 ในห้องเรียนหนึ่งห้องมีพัดลมหลายตัว
1.3 บ้านของฉันมีหลอดไฟหลายตัว

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships)
1.1 ในแต่ละบ้านต่างก็มีหลอดไฟหลายตัว
1.2 ในแต่ละมหาวิทยาลัยต่างมีห้องเรียนหลายห้องเรียน
1.3 ในแต่ละห้องเรียนต่างก็มีโต๊ะหลายตัว



โดย: นางสาวนฤมล ภูหนองโอง รหัสนักศึกษา 52040264108 หมู่ 29 (พุธ-เช้า) IP: 125.26.177.195 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:14:35:55 น.  

 

3.1ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ความหมายและหน้าที่ของความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Entity Relationship)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ หมายถึง ความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับอีกเอนทิตี้หนึ่งบนฐานข้อมูลโดยใช้คีย์ต่าง ๆ เป็นตัวเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้ฐานข้อมูลใช้งานได้ง่ายและไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูลบนฐานข้อมูล ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง (Many-to-One)

4. แฟ้มข้อมูลเกรด

ประเภทของความสัมพันธ์

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนเพียง 1 ระเบียนในเอนทิตี้ A และ B ที่มีความสัมพันธ์เพียง 1 ระเบียน

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ A ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ B

4. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง (Many-to-One Relationship)

เป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่งระเบียนในเอนทิตี้ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียนในเอนทิตี้ A

การกำหนดความสัมพันธ์เอนทิตี้
การกำหนดตารางของความสัมพันธ์

หลังจากศึกษาขั้นตอนการดำเนินงานต่าง ๆ ของบริษัทจนเป็นที่เข้าใจแล้ว ข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งรูปแบบรายงานของบริษัท จะถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์หาเอนทิตี้ที่จะเกิดขึ้นในฐานข้อมูล ว่าควรจะมีเอนทิตี้ใดบ้าง

โดยทั่วไปแล้ว “คำนาม” ที่มี่อยู่ในเอกสารรายงาน หรือข้อมูลที่เก็บได้

ในการค้นหาเอนทิตี้ สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากลักษณะการทำงานของระบบงานนั้น ๆ เพื่อให้ได้คำนามที่มีความหมายและมีความสำคัญที่สุด รวมทั้งจะต้องพิจารณาว่าคำนามนั้นมีข้อมูลใดที่เกี่ยวข้องหรือที่จะเป็นแอททริบิวท์ของคำนามที่ถูกเลือกเป็นเอนทิตี้นั้นหรือไม่ ซึ่งถ้าไม่มีข้อมูลใดที่เกี่ยวข้องกับคำนามนั้นเลย จะไม่นำมาพิจารณาเป็นเอนทิตี้

การกำหนดความสัมพันธ์

เมื่อได้เอนทิตี้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือต้องวิเคราะห์ว่าเอนทิตี้แต่ละเอนทิตี้นั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ถ้าข้อมูลที่ได้จากเอกสารหรือรายงานไม่เพียงพอที่จะบอกถึงความสัมพันธ์นั้นได้ ก็เป็นหน้าที่ของผู้ออกแบบฐานข้อมูลที่ต้องสอบถามจากผู้ใช้เพิมเติม

ที่มา //wanchai.hi.ac.th/3204-2116/DBPR2.htm

นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115


โดย: นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115 IP: 192.168.1.124, 124.157.149.201 วันที่: 20 กันยายน 2552 เวลา:12:04:41 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
1.คน1คนสามารถมีเลขบัตรประชาชนได้1หมายเลข
2.นักศึกษา1คนมีรหัสนักศึกษาได้1หมายเลข
3.คน1คนเล่นคอมพิวเตอร์ได้1เครื่อง

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
1.นักศึกษา1คนสามารถลงวิชาเรียนได้หลายวิชา
2.ต้นไม้1ต้นมีใบได้หลายใบ
3.หนังสือ1เล่มมีหลายหน้า


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)
1.คนหลายคนสามารถเล่นคอมพิวเตอร์ได้หลายเครื่อง
2.นักศึกษาหลายคนสามารถลงวิชาเรียนได้หลายวิชา
3.คนหลายคนสามารถปลูกต้นไม้ได้หลายต้น




โดย: นางสาวหนึ่งฤทัย มังคละแสน คณะมนุษศษสตร์และสังคมศาสตร์ สาขานิติศาสตร์หมู่01 จ.บ่าย IP: 124.157.147.100 วันที่: 23 กันยายน 2552 เวลา:19:42:44 น.  

 
1.
รูปแบบของฐานข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลโดยทั่วไปจะมี 3 แบบด้วย

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database)

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

1. ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database)

ลักษณะคล้ายต้นไม้ที่คว่ำหัวลงหรือเรียกอีกแบบว่า โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Structure) โดยมีระเบียนที่อยู่แถวบนเรียกว่า ระเบียนพ่อแม่ (Parent Record) ระเบียนในแถวถัดลงมาจะเรียกว่า ระเบียนลูก (Child Record)

2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network database) ข้อมูลภายในฐานข้อมูลนี้สามารถมีความสัมพันธ์กัน แบบใดก็ได้ ระเบียนร้านผู้ผลิตสินค้า ระเบียนสินค้า ระเบียนที่เก็บสินค้า

3. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) มีโครงสร้างข้อมูลที่ต่างจากฐานข้อมูลอื่น คือ ข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบของ ตาราง (Table)

ที่มา


//wanchai.hi.ac.th/3204-2005/Db2.htm




โดย: ส.อ.ชาคร ทานินนท์ หมู่ 05 5124151208 IP: 125.26.164.16 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:11:24:27 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ

ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง คำกริยาที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสองเอนทิตี้ เช่น เอนทิตี้นักศึกษาและเอนทิตี้โปรแกรมวิชามีความสัมพันธ์ในด้าน “เป็นนักศึกษาสังกัดอยู่” นั่นคือ นักศึกษาแต่ละคนสังกัดอยู่ในโปรแกรมวิชาใดวิชาหนึ่ง

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้
ในการระบุชื่อความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ จะพิจารณาด้วยการกำหนดทิศทางของความสัมพันธ์จากเอนทิตี้หนึ่งไปยังเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร เช่น ความสัมพันธ์จากเอนทิตี้นักศึกษาไปแต่ละคนสังกัดอยู่ในโปรแกรมวิชาเป็นความสัมพันธ์ที่เรียกว่า “สังกัดอยู่” นั่นคือนักศึกษาแต่ละคนสังกัดอยู่ในโปรแกรมวิชาในทางกลับกัน อาจจะระบุทิศทางของความสัมพันธ์ว่า ความสัมพันธ์จากเอนทิตี้โปรแกรมวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษา เป็นความสัมพันธ์ที่เรียกว่า “ประกอบด้วย” นั่นคือแต่ละโปรแกรมวิชาประกอบด้วยนักศึกษา
นอกจากคำนึงถึงความสัมพันธ์แล้ว ยังต้องพิจารณาถึงจำนวนข้อมูล ที่เกิดขึ้นระหว่างความสัมพันธ์ของทั้งสองเอนทิตี้ว่ามีค่าเท่าไร (Cardinality Ratio) เช่น ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้นักศึกษาไปยังเอนทิตี้โปรแกรมิชาเป็นอัตราส่วน 1 : 1 นั่นคือ นักศึกษาแต่ละสังกัดอยู่โปรแกรมวิชาเพียงโปรแกรมวิชาเป็นอัตราส่วน 1 : 30 นั่นคือแต่ละโปรแกรมวิชาจะประกอบด้วยนักศึกษา 30 คนเป็นต้น

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ 2 เอนทิตี้
. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อ

ที่มา //tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm

นายตง ประดิชญากาญจน์ หมู่ 22 อังคารเช้า


โดย: นายตง ประดิชญากาญจน์ IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:13:32:23 น.  

 
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด หนึ่งคนมีหนึ่งใจ หนึ่งคนมีแฟนคนหนึ่ง

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา หนึ่งคนมีแฟนหลายคน ต้นไม้หนึ่งต้นมีใบหลายใบ
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

//tsl.tsu.ac.th





โดย: นายชัยวัฒน์ ศรีอุต หมู่ 22 อังคาร (เช้า) IP: 192.168.1.108, 124.157.139.216 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:15:23:01 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ 1 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
ภาพประกอบที่ 25 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

ภาพประกอบที่ 26 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

ที่มา
//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


นายศราวุฒิ ทดกลาง หมู่22(อ.เช้า)


โดย: นายศราวุฒิ ทดกลาง IP: 58.147.7.66 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:11:32 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (1 : 1)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)

ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/103_116/14.html


โดย: นาย วัชฤทธิ์ มวลพิทักษ์ หมู่22 อ.เช้า IP: 125.26.175.79 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:14:01:32 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

1 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
ภาพประกอบที่ 25 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

ภาพประกอบที่ 26 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)



โดย: นาย เกรียงไกร สลับศรี IP: 192.168.10.115, 117.47.12.205 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:19:58:12 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

1 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
ภาพประกอบที่ 25 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

ภาพประกอบที่ 26 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)





โดย: นาย เกรียงไกร สลับศรี จ.บ่าย หมู่1 IP: 192.168.10.115, 117.47.12.205 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:20:45:55 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ

ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง คำกริยาที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสองเอนทิตี้ เช่น เอนทิตี้นักศึกษาและเอนทิตี้โปรแกรมวิชามีความสัมพันธ์ในด้าน “เป็นนักศึกษาสังกัดอยู่” นั่นคือ นักศึกษาแต่ละคนสังกัดอยู่ในโปรแกรมวิชาใดวิชาหนึ่ง

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้
ในการระบุชื่อความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ จะพิจารณาด้วยการกำหนดทิศทางของความสัมพันธ์จากเอนทิตี้หนึ่งไปยังเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร เช่น ความสัมพันธ์จากเอนทิตี้นักศึกษาไปแต่ละคนสังกัดอยู่ในโปรแกรมวิชาเป็นความสัมพันธ์ที่เรียกว่า “สังกัดอยู่” นั่นคือนักศึกษาแต่ละคนสังกัดอยู่ในโปรแกรมวิชาในทางกลับกัน อาจจะระบุทิศทางของความสัมพันธ์ว่า ความสัมพันธ์จากเอนทิตี้โปรแกรมวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษา เป็นความสัมพันธ์ที่เรียกว่า “ประกอบด้วย” นั่นคือแต่ละโปรแกรมวิชาประกอบด้วยนักศึกษา
นอกจากคำนึงถึงความสัมพันธ์แล้ว ยังต้องพิจารณาถึงจำนวนข้อมูล ที่เกิดขึ้นระหว่างความสัมพันธ์ของทั้งสองเอนทิตี้ว่ามีค่าเท่าไร (Cardinality Ratio) เช่น ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิตี้นักศึกษาไปยังเอนทิตี้โปรแกรมิชาเป็นอัตราส่วน 1 : 1 นั่นคือ นักศึกษาแต่ละสังกัดอยู่โปรแกรมวิชาเพียงโปรแกรมวิชาเป็นอัตราส่วน 1 : 30 นั่นคือแต่ละโปรแกรมวิชาจะประกอบด้วยนักศึกษา 30 คนเป็นต้น

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ 2 เอนทิตี้
. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อ
ที่มา //tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: เบญจมาศ โคตรเพชร หมู่ 08 รหัส 52040332107 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:12:33:46 น.  

 
ข้อที่ 1

วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าในระบบคอมพิวเตอร์มักมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ก็สามารถที่จะทำงานได้แล้วโดยที่หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่ต่างๆ คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม และหน่วยความจำ โดยหน่วยรับข้อมูลจะรับข้อมูล จาก ผู้ ใช้แล้วนำมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำ เพื่อให้หน่วยคำนวนและตรรกะ ทำการประมวลผลข้อมูลนั้นและเมื่อได้ รับผลลัพธ์ก็สงไปแสดงผลที่หน่วยแสดงผล หรือนำไปเก็บที่หน่วยความจำหลัก ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของหน่วยควบคุม แต่เหนื่องจากหน่วยความจำภายในไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ในกรณีที่ข้อมูล ที่ใช้มีจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีการขยายหน่วยความจำ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในระหว่างที่มีการคำนวณอยู่ ซึ่งเรียก ว่าหน่วยความจำหลักทำให้สามารถขยายขอบเขตการทำงานของคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีขั้นตตอน การทำงาน เช่นเดิม แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีหน่วยความจำหลักช่วยในการทำงาน แต่ในบางครั้งงาน ที่ทำอาจ จะ มีขนาดของข้อมูลที่โตกว่าจะเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ทั้งหมด อีกทั้งข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักของ เครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเก็บไว้ได้เป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการทำงานเท่านั้นเมื่อเลิกทำงานข้อมูล ดังกล่าว ก็จะสูญหายไปด้วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ทุกๆครั้งที่ทำงานเกี่ยวกับข้อมูล ดังกล่าวจะต้องมีการใส่ข้อมูลเข้าไปเก็บ ไว้ในหน่วยความจำทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการ เสียเวลาเป็นอย่างมาก หน่วยความจำสำรองจึงเกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นที่เก็บ ข้อมูลไว้อย่าง ถาวร ตราบเท่า ที่ต้องการ และสามารถที่จะเก็บข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้มาก ซึ่งทำให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่มีขนาดโตกว่าหน่วยความจำหลักได้ โดยการนำเอา เฉพาะข้อมูลส่วน ที่ต้องการใช้งานในขณะนั้นเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ส่วนข้อมูลที่ยังไม่ได ้ใช้งาน ในขณะนั้นก็ยังคงเก็บ ไว้ที่หน่วยความจำสำรองเช่นเดิม และหากว่าต้องการ ประมวลผลข้อมูลชุดใหม่ ก็สามารถกระทำ ได้โดยเอาข้อมูงชุดใหม่เข้าไปในหน่วยความจำแทนข้อมูลชุดเดิม ด้วยวิธีการเช่นนี้จะเห็นว่าแม้ว่า ข้อมูลจะมีจำนวน มากเกินกว่าขนาดของหน่วยความจำหลักเท่าใดก็ตาม เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน กับข้อมูลชุดนั้นได ้ เสมอและนอกจากนี้การที่มีการเก็บข้อมูลไว้ใวส่วนหน่วยความจำสำรอง จะทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมมากขึ้น กล่าวคือ นอกจากจะใช้ข้อมูลเพื่อทำงานอย่างหนึ่งได้แล้วเราสามารถใช้ข้อมูลชุดเดียวกันนี้ไปใช้เพื่อทำงานอื่นๆๆได้อีก โดยใช้ร่วมกับอีกโปรแกรมหนึ่งหรือให้โปรแกรมอื่นมาอ่านข้อมูลไปใช้งาน หากข้อมูลชุดนี้มีข้อสนเทศภายใน ที่ต้องการกล่าวโดยสรุปคือ ข้อมูลชุดหนึ่งๆสามารถใช้ได้กับโปรแกรมหลายๆโปรแกรม หากข้อมูลชุดนั้น เป็นที่ต้องการของโปรแกรมนั้น ซึ่งการเก็บข้อมูลในหน่วยความจำสำรอง นี้จะต้องมีการจัดเก็บในรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้งานข้อมูลนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่จัดเก็บใน หน่วยความจำสำรอง จะเก็บอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังรายละเอียดที่กล่าวมาแล้ว การนำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรอง คือขั้นตอนการอ่านข้อมูล หรือ เขียนข้อมูลเมื่อต้องการบันทึกข้อมูล ดังนั้นวิธีการประมวลผลก็วิธีที่ว่าด้วยการอ่าน/หรือการเขียน ข้อมูลบนหน่วย ความจำสำรอง ดังนั้นจึงสามารถแบ่งวิธีการเข้าถึงข้อมูลในแฟ้มข้อมูลตามรูปแบบการถึงหน่วยความจำสำรอง คือ

1) การเข้าถึงแบบลำดับ(Sequential Access Method)

แฟ้มลำดับเป็นระบบจัดการแฟ้มข้อมูลที่นับได้ว่ามีความสำคัญ และเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบพื้นฐาน ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด และนอกจากนี้ ระบบแฟ้มลำดับยังเป็นระบบการจัดการแฟ้มข้อมูล ที่มีการนำไปประยุกต ์ใช้กับระบบการจัดการ แฟ้มข้อมูลแบบอื่นๆอีกหลายแบบ เช่น ระบบการจจัดการแฟ้มข้อมูลเชิงดรรชนี เป็นต้น โดยแฟ้มลำดับะมีการจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อที่ใช้เก็บข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ จะถูกจัดเก็บลงบน สื่อบันทึกข้อมูลในตำแหน่งถัดจากระเบียนก่อนหน้าเสมอ ดังนั้น การเข้าถึงข้อมูลจะต้องเข้าถึงตามลำดับของ การจัดเก็บด้วย เช่น การที่จะเข้าถึงระเบียนที่ n ของแฟ้มข้อมูล ต้องผ่านการอ่านระเบียนอื่นๆก่อนหน้ามาแล้ว n-1 ระเบียนเสมอในแฟ้มลำดับบางแฟ้มอาจจะต้องการใช้งานข้อมูล ที่มีการเรียงลำดับของข้อมูลตามลำดับก่อนหลังเช่น แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลเรียงลำดับ(Sort File) ซึ่งจะต้องใช้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ในระเบียนเป็นคีย์ในการเรียงลำดับ ดังนั้น หากเรียงลำดับแล้วข้อมูลระเบียนที่ I จะต้องอยูาก่อนหน้าข้อมูลระเบียนที่ j หากว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน I มีค่าน้อยกว่าค่าของฟิลด์ที่ใช้เป็นคีย์ของระเบียน j ในกรณีที่มีการจัดเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ส่วนแฟ้มลำดับท ี่ไม่ต้องการใช้งานข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ จะกำหนดให้แฟ้มนั้นมีคีย์หรือไม่ก็ได้ การเก็บข้อมูลก็จะเก็บตาทลักษณะ ทางกายภาพของสื่อบันทึก นั่นคือการจัดเก็บจะเรีงตามลำดับก่อนหลังของการบันทึกข้อมูลระเบียนข้อมูลนั้นๆ และระเบียนที่เข้ามาใหม่จะต้องได้รับการจัดเก็บตาอท้ายแฟ้มข้อมูลเสมอระบบแฟ้มลำดับ เป็นระบบการจัดการแฟ้ม ข้อมูลที่เหมาะจะใช้งานกับสื่อบันทึกข้อมูล ที่มีการเข้าถึงแบบลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก บัตรเจาะรู เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับแฟ้มข้อมูลประเทนี้มาก เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทนี้ ะมีความสอด คล้องกันกับลักษณะการจัดการแฟ้มข้อมูลของระบบนี้ ดังนั้นในการเข้าถึงข้อมูลหากว่าสามารถ เข้าถึงข้อมูลระเบียนใด ระเบียนหนึ่งแล้ว การเข้าถึงระเบียนถัดไปจะสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่ามีการจัดเก็บข้อมูลต่อ เนื่องกันแต ่หากว่าระเบียนที่ต้องการไม่ใช่ระเบียนถัดไปที่อยู่ต่อเนื่องกัน ก็จะมีผลเหมือนกับการเข้าถึงข้อมูล ระเบียนใหม่ซึ่ง ต้อง ใช้เวลาในการทำงานมาก เนื่องจากการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้ง(ที่ไม่ใช่ระเบียนถัดไป) จะต้องใช้เวลาในการอ่าน ระเบียนอื่นๆในแฟ้มข้อมูลไปแล้วโดยค่าเฉลี่ยประมาณครึ่งแฟ้ม แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถจัดเก็บแฟ้มลำดับลงบน สื่อบันทึกข้อมูลประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ได้โดยการจัดเก็บข้อมูลนั้นลงในตำแหน่งที่ต่อเนื่อง กันของหน่วย ข้อมูลของสื่อบันทึกนั้น ในแฟ้มลำดับ ชุดหนึ่งอาจประกอบไปด้วยระเบียนข้อมูลมากกว่า 1 แบบก็ได้ ถ้าข้อมูลใน ระเบียน เหล่านั้นม ีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาอาจจะประกอบด้วยระเบียน 2 ชนืด คือระเบียนประวัติ และ ระเบียนผลการเรียน

2) การเข้าถึงโดยลำดับดัชนี(Indexed Sequential Access Method : ISAM) หมาถึงการเข้าถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ โดยอาศัยตารางดัชนีช่วยหาเลขที่อยู่ของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก ตารางดัชนีเป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างจากแฟ้มข้อมูลหลัก โดยให้ระบุเลขที่อยู่ของระเบียนข้อมูลที่ต้องการโดยตรงเลยก็ได้ หรือจะสร้างเป็นตารางดัชนีช่วง(Rang Index) เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น การเข้าถึงโดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับแฟ้ม ข้อมูลที่จัดระเบียบ แฟ้มแบบดัชนีเท่านั้น

3) การเข้าถึงแบบโดยตรง(Direct Acess Method)

ข้อมูลที่นำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีการทำงานที่ซับซ้อน การเข้าถึงข้อมูลแบบ ตามลำดับ หรือแบบามลำดับเชิงดัชนีจะต้องมีการอ่านผ่านข้อมูลระเบียนอื่นมาเป็นจำนวนมากซึ่งต้องทำให้ ต้องใช้เวลา ในการทำงาน และทรัพยากรมากขึ้น ดังนั้นอาจเลี่ยงการเสียเวลาในส่วนนี้ได้โดยการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรงโดย ไม่ต้องผ่านระเบียนอื่ ที่ไม่ใช่ระเบียนที่ต้องการ เรียกว่าการเข้าถึงข้อมูลแบบโดยตรง ซึ่งการที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ระเบียนที่ต้องการได้โดยตรงโดยไม่มีการผ่านระเบียนอื่นนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างค่าของคีย์ที่ใช้กับตำแหน ่ง ที่ข้อมูลระเบียนนั้นถูกบันทึกในแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะเห็นว่าการที่คีย์กับตำแหน่งที่บันทึกมีความสัมพัธ์กันแล้ว ก็ไม่มีความ จำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล เรียงตามลำดับคีย์ก็ได้ เนื่องจากการที่จะเข้าถึงข้อมูลระเบียนใดระเบียนหนึ่ง นั้นไม่มีความ สัมพัธ์กับระเบียนอื่นๆ การเข้าถึงข้อมูลในลักษณะนี้นั้นเลขที่ตำแหน่งระเบียนต้องได้จากการคำนวณเลขที่ตำแหน่ง เลขที่อยู่ก่อนการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูล


ที่มา //www.geocities.com/metar_ngamwilai/untitled14.htm

ข้อที่ 2

การอธิบายการประมวลผล (Process Description)


การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้โดยการใช้แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) โดยการเขียนสัญลักษณ์การประมวลผลนั้นจะเขียนเพียงหัวข้อในการประมวลผลเท่านั้น ยังไม่มีการเขียนคำอธิบายโดยละเอียด ซึ่งเราสามารถเขียนอธิบายโดยละเอียดได้ด้วยการเขียนคำอธิบายการประมวลผล (Process Description) หรือ Process Specification

จุดประสงค์ของการเขียน Process Specification เพื่อใช้เป็นสื่อระหว่างผู้ใช้ระบบโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ระบบ ได้เข้าใจตรงกันในการประมวลผลนั้น โดยโปรแกรมเมอร์จะเข้าใจการประมวลผลนั้นเพื่อใช้ในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะในกรณีของการมีโปรแกรมเมอร์หลายคนในการเขียนโปรแกรมในการสื่อให้เข้าใจตรงกัน ส่วนผู้ใช้ระบบจะได้เห็นถึงผลการวิเคราะห์ของนักวิเคราะห์ระบบว่าเข้าใจถูกต้องหรือไม่

จุดมุ่งหมายในการใช้การอธิบายการประมวลผลนั้นสรุปได้ 3 ข้อคือ

1. เพื่อให้การประมวลผลนั้นชัดเจน เข้าใจง่าย

การใช้วิธีนี้จะทำให้ผู้วิเคราะห์ได้เรียนรู้รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนในการประมวลผลการทำงานในส่วนที่ไม่ชัดเจนต่างๆ จะถูกบันทึก และเขียนออกมาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจะรวมมาจากการสืบค้นข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลวิธีต่างๆ

2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถูกต้องในการอธิบายในรูปแบบเฉพาะของการประมวลผลนั้นระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

ในการสื่อถึงกันให้เข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์และโปรแกรมเมอร์นั้น ถ้าไม่สื่อกันให้ชัดเจนจะมีผลตามมาอย่างมากเมื่อลงรหัสโปรแกรม เนื่องจากจะต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย และอาจทำให้การบริหารโครงการไม่เป็นไปตามกำหนดเวลาอีกด้วย ดังนั้นในการอธิบายการประมวลผลจึงมีส่วนช่วยอย่างมากในการสื่อการประมวลผลให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

3. เพื่อตรวจสอบการออกแบบระบบ

โดยการประมวลผลนั้นจะถูกต้องหรือไม่ในด้านข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่อง การออกรายงานทั้งหน้าจอ และการพิมพ์รายงานนั้นจะเป็นไปตามการวิเคราะห์ตามแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) หรือไม่ จะสามารถตรวจสอบได้จากการอธิบายการประมวลผลนี้

การเขียนคำอธิบายการประมวลผลนี้จะมีเฉพาะโพรเซสในระดับล่างสุดเท่านั้น ระดับแม่เราจะไม่เขียนคำอธิบายเนื่องจากเราเขียน DFD ระดับแม่เพื่อใช้เป็นเครื่องมือเขียน DFD ระดับลูกเพื่อให้เกิดการแตกโครงสร้างแบบบน-ลง-ล่าง (Top - Down) และเมื่ออธิบายโพรเซสระดับลูกแล้วก็หมายความรวมถึงการทำงานระดับแม่โดยปริยาย


วิธีการที่ใช้อธิบายการประมวลผลที่จะกล่าวในที่นี้มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธีคือ

1. ประโยคโครงสร้าง (Structure Sentences)

2. การตัดสินใจแบบตาราง (Description Tables)


เราจะเลือกใช้วิธีการอันใดอันหนึ่งหรือใช้ปนกันก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม แต่ไม่ว่าจะเขียนด้วยวิธีใดๆ เมื่อเขียนแล้วควรจะมีคุณสมบัติ ดังนี้

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นสามารถนำมาตรวจสอบความถูกต้องกับผู้ใช้ได้ง่ายการเขียนเป็นประโยคโครงสร้างอาจจะไม่เหมาะสมถ้าต้องนำมาตรวจสอบกับผู้ใช้เพราะว่าคำอธิบายนั้นจะยาวและคำอธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไข หรือการทำงานซ้ำก็เขียนไม่สะดวก ตัวอย่างเช่น เงื่อนไขที่มี AND,OR หรือ NOT เป็นต้น

เขียนแล้วคำอธิบายนั้นควรจะใช้สื่อสารกับผู้อื่นที่เกี่ยวข้องในระบบได้ง่ายผู้อื่นที่เกี่ยวข้องอาจจะเป็นผู้ใช้ ผู้จัดการ ผู้ตรวจสอบ เป็นต้น การเขียนคำอธิบายเป็นประโยคโครงสร้าง หรือเขียนเป็นการตัดสินใจแบบตารางจะเหมาะสมกับบุคคลเหล่านั้นเพราะว่าทั้ง 2 วิธีนั้นง่ายต่อการทำความเข้าใจถึงแม้ว่าอาจจะยาวไปหน่อยก็ตาม

โดยทั่วไปแล้ววิธีการเขียนแบบประโยคโครงสร้างเป็นที่นิยมใช้กันมากที่สุด และในโครงการเดียวกันควรจะเลือกใช้วิธีเดียวกันเพื่อให้ง่ายต่อการสื่อสาร การจะเลือกใช้วิธีการมากกว่าหนึ่งวิธีก็อาจจะเป็นไปได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ

1. ความชอบของผู้ใช้

2. ความชอบของผู้เขียน (นักวิเคราะห์ระบบ)

3. ลักษณะการทำงานของโพรเซส


ที่มา //www.geocities.com/S_Analysis/FlowChart2_new.html


โดย: ปรีชา กลมเกลียว หมู่8 พฤหัสบดีเช้า รหัส 52040901222 IP: 124.157.139.201 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:15:52:10 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ตอบ
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
ตัวอย่าง

-คนหนึ่งคนมีโทรศัพท์หนึ่งเครื่อง
-คอมฯหนึ่งตัวมีเมาล์หนึ่งอัน
-ตู้เย็นหึนึ่งหลังมีปลั๊กหนึ่งตัว

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
ตัวอย่าง
-คนหนึ่งคนมีเพื่อนหลายคน
-TV หนึ่งเครื่อง ดูได้หลายช่อง
-รถโดยสารหนึ่งคันมีผู้โดยใช้บริการสารหลายคน

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

ตัวอย่าง
-กลุ่มนักศึกษามีการลงทะเบียนเรียน Look วิชาต่างๆ
-กลุ่มนักท่องเที่ยวเข้าพักในโรงแรมหลายแห่ง
-กลุ่มเกษตรกรร่วมเข้าประชุมหลายอำเภอ

ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


นายเจริญชัย ผ่ามดิน หมู่ 22 (อ.เช้า)


โดย: นายเจริญชัย ผ่ามดิน IP: 58.147.7.66 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:10:38:52 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)


ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่งเช่น
คนหนึ่งคนมีโทรศัพท์หนึ่งเครื่อง
คอมฯหนึ่งตัวมีเมาล์หนึ่งอัน
ตู้เย็นหึนึ่งหลังมีปลั๊กหนึ่งตัว

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ (1:m) ตัวอย่างเช่น
คนหนึ่งคนมีเพื่อนหลายคน
TV หนึ่งเครื่อง ดูได้หลายช่อง
รถโดยสารหนึ่งคันมีผู้โดยใช้บริการสารหลายคน

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n)
เช่น
กลุ่มนักศึกษามีการลงทะเบียนเรียน Look วิชาต่างๆ
กลุ่มนักท่องเที่ยวเข้าพักในโรงแรมหลายแห่ง
กลุ่มเกษตรกรร่วมเข้าประชุมหลายอำเภอ

ที่มา//www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it04/page01.html





โดย: นางสาวปาริฉัตร สาริมุ้ย หมู่ 1จันทร์บ่าย IP: 119.42.110.112 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:17:23:54 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
-1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


ภาพประกอบที่ 25 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา


ภาพประกอบที่ 26 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)
tsl.tsu.ac.th


โดย: นางสาววันวิสาข์ ศรีทอง หมู่ 1เรียนจันทร์บ่าย IP: 119.42.110.112 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:17:58:25 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ 1.แปลงเอนทิตี้ที่มีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One Relationships) ไปเป็นตาราง โดยแทนที่หนึ่งเอนทิตี้เป็นหนึ่งตาราง Attribute แต่ละเอนทิตี้เป็นฟิลด์หรือคอลัมน์แต่ละตาราง
2.แปลงเอนทิตี้ที่มีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One to Many Relationships) ไปเป็นตาราง โดยด้านเอนทิตี้ที่เป็นตัวเลข 1 นั้นสามารถแปลงเป็นตารางได้ทันที Attribute ของเอนทิตี้นั้นจะเป็นฟิลด์ของตารางทันที ส่วนด้านเอนทิตี้ที่เป็นตัวอักษร M ให้แผลงเอนทิตี้เป็นตารางโดยมี Attribute ของเอนทิตี้ตัวมันเอง และนำคีย์หลักของเอนทิตี้ที่เป็นเลข 1 มาใส่ฟิลด์ของตารางนั้นด้วย
3.แปลงเอนทิตี้ที่มีความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many to Many Relationships) ไปเป็นตารางโดยสร้างเอนทิตี้กลาง (Composite Entity) เอนทิตี้กลางจะนำคีย์หลักของทั้งสองตารางมาเป็นคีย์หลักของเอนทิตี้กลางด้วย ส่วนเอนทิตี้ทั้งสองที่อยู่ระหว่างเอนทิตี้กลางก็แปลงเป็นตารางได้ โดยนำเอา Attribute ของแต่ละเอนทิตี้ไปเป็นฟิลด์ (ทำตามกฎของความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง)
การระบุตำแหน่งความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Connectivity) ว่าเป็นแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One Relationships) , แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One to Many Relationships) หรือ แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many to Many Relationships) นั้นจะใช้ Connectivity เพื่อระบุตำแหน่ง 1, M หรือ N ไว้ข้างใดของเอนทิตี้
ภาพที่ 10.2 แสดงความสัมพันธ์แบบ One to One Relationships
จากตัวอย่างนี้ จะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับสัญญาเงินกู้ โดยที่นักศึกษาหนึ่งคนทำสัญญาเงินกู้ได้เพียงครั้งเดียว สัญญาการกู้เงินแต่ละฉบับถูกลงชื่อกู้ได้จากหนักศึกษาเพียงคนเดียวเท่านั้น ความสัมพันธ์การกู้เงินที่เชื่อมระหว่างนักศึกษาและสัญญากู้เงินจึงเป็นแบบ 1-1 ภาพที่ 10.3 แสดงความสัมพันธ์แบบ One to Many Relationships
จากตัวอย่างนี้ จะประกอบด้วยเอนทิตี้อาจารย์กับเอนทิตี้กลุ่มเรียน มีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม หมายความว่า อาจารย์จะสอนได้หลายกลุ่มเรียน แต่ละกลุ่มเรียนจะมีอาจารย์สอนได้เพียงคนเดียวไว้ด้านเอนทิตี้อาจารย์และตัวอักษร M ไว้ด้านเอนทิตี้กลุ่มเรียน
ภาพที่ 10.4 แสดงความสัมพันธ์แบบ Many to Many Relationships
จากตัวอย่างนี้ ประกอบด้วยเอนทิตี้นักเรียนกับเอนทิตี้วิชาเรียน โดยที่นักศึกษาแต่ละคนลงทะเบียนเรียนวิชาได้มากกว่า 1 วิชา แต่ละวิชามีนักศึกษาได้มากกว่า 1 คน ความสัมพันธ์ขอลการลงทะเบียนของนักศึกษากับวิชาเป็นแบบ N: M

ที่มา //itd.htc.ac.th/st_it50/it5012/P_3/System%20Analysis%20and%20Design/B10.htm



โดย: นางสาวปัทมาวดี ไชยลา หมู่1 เรียนวันจันทร์บ่าย IP: 119.42.110.3 วันที่: 29 กันยายน 2552 เวลา:14:38:36 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
1. เพื่อให้การประมวลผลนั้นชัดเจน เข้าใจง่าย

การใช้วิธีนี้จะทำให้ผู้วิเคราะห์ได้เรียนรู้รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนในการประมวลผลการทำงานในส่วนที่ไม่ชัดเจนต่างๆ จะถูกบันทึก และเขียนออกมาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจะรวมมาจากการสืบค้นข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลวิธีต่างๆ

2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถูกต้องในการอธิบายในรูปแบบเฉพาะของการประมวลผลนั้นระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

ในการสื่อถึงกันให้เข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์และโปรแกรมเมอร์นั้น ถ้าไม่สื่อกันให้ชัดเจนจะมีผลตามมาอย่างมากเมื่อลงรหัสโปรแกรม เนื่องจากจะต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย และอาจทำให้การบริหารโครงการไม่เป็นไปตามกำหนดเวลาอีกด้วย ดังนั้นในการอธิบายการประมวลผลจึงมีส่วนช่วยอย่างมากในการสื่อการประมวลผลให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์

3. เพื่อตรวจสอบการออกแบบระบบ

โดยการประมวลผลนั้นจะถูกต้องหรือไม่ในด้านข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่อง การออกรายงานทั้งหน้าจอ และการพิมพ์รายงานนั้นจะเป็นไปตามการวิเคราะห์ตามแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) หรือไม่ จะสามารถตรวจสอบได้จากการอธิบายการประมวลผลนี้

ที่มา //itd.htc.ac.th/st_it50/it5012/P_3/System%20Analysis%20and%20Design/B10.htm


โดย: น.ส.สุกญญา พรมสวัสดิ์ (หมู่ที่ 15 ศุกร์ เช้า ) IP: 61.19.119.253 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:14:00:18 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


ภาพประกอบที่ 25 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา


ภาพประกอบที่ 26 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 139)

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: น.ส.จิราภรณ์ ศุกรักษ์(หมู่15 ศุกร์ เช้า) IP: 222.123.58.158 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:14:16:35 น.  

 
ข้อ 1 ความสัมพันธ์
foreign key แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตารางข้อมูล 2 ตาราง ตัวอย่างเช่น การเชื่อมโยงจาก Orders มาที่ Customers แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง แถวในตารางข้อมูล Order และแถวในตารางข้อมูล Customer

ชนิดพื้นฐานของความสัมพันธ์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์มี 3 ชนิด โดยจัดแยกตามจำนวนข้อมูลในแต่ละด้านความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ คือ หนึ่ง - ต่อ - หนึ่ง (one-to-one) หนึ่ง - ต่อ - หลาย (one-to-many) หลาย - ต่อ - หลาย (many-to-many)

ความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง - ต่อ - หนึ่ง (one-to-one) หมายถึง มี 1 ข้อมูลในความสัมพันธ์ ตัวอย่างเช่น ถ้าเราแยกที่อยู่ออกจากตารางข้อมูล Customers จะต้องมีความสัมพันธ์ หนึ่ง - ต่อ - หนึ่ง ระหว่างชุดข้อมูลต้องมี (foreign key จาก Addresses ไปยัง Customers)

ความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง - ต่อ - หลาย (one-to-many) หมายถึง 1 แถว ในตารางข้อมูลหนึ่ง เชื่อมกับหลายแถวในอีกตาราง ตัวอย่างเช่น ลูกค้า 1 คน สามารถมีหลายใบสั่งซื้อ ในความสัมพันธ์นี้ตารางที่เก็บหมายเลขแถวจะต้องมี forieng ไปตารางที่มี 1 แถวข้อมูล ดังนั้น จึงมี CustomerID ในตารางข้อมูล Orders เพื่อแสดงความสัมพันธ์

ความสัมพันธ์แบบ หลาย - ต่อ - หลาย (many-to-many) หมายถึง หลายแถวในตารางข้อมูลหนึ่งเชื่อมกับหลายแถวในอีกตาราง ตัวอย่างเช่น ถ้ามีตารางข้อมูล 2 ตาราง Books และ Authors อาจจะพบว่าหนังสือ 1 เล่ม เขียนโดยนักเขียน 2 คน แต่ละคนเขียนหนังสือเล่มอื่นด้วย ตามปกติความสัมพันธ์ประเภทนี้ ควรอีกตารางข้อมูลเก็บข้อมูลทั้งหมด อาจจะต้องมี Books, Authors และ Books_Authors โดยตารางที่ 3 เก็บเฉพาะคีย์ของตารางอื่นในฐานะ foriegn key เป็นคู่ เพื่อแสดงว่าผู้เขียนเกี่ยวข้องกับหนังสือเล่มใด

ที่มา //www.widebase.net/database/mysql/mysqltutorial/mysqltutor0101.shtml




โดย: นาย ณัฐพงศ์ มันทะลา IP: 124.157.129.36 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:18:45:00 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ตอบ
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
ตัวอย่าง

-คนหนึ่งคนมีโทรศัพท์หนึ่งเครื่อง
-คอมฯหนึ่งตัวมีเมาล์หนึ่งอัน
-ตู้เย็นหึนึ่งหลังมีปลั๊กหนึ่งตัว

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
ตัวอย่าง
-คนหนึ่งคนมีเพื่อนหลายคน
-TV หนึ่งเครื่อง ดูได้หลายช่อง
-รถโดยสารหนึ่งคันมีผู้โดยใช้บริการสารหลายคน

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

ตัวอย่าง
-กลุ่มนักศึกษามีการลงทะเบียนเรียน Look วิชาต่างๆ
-กลุ่มนักท่องเที่ยวเข้าพักในโรงแรมหลายแห่ง
-กลุ่มเกษตรกรร่วมเข้าประชุมหลายอำเภอ

ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.ht


โดย: นางสาวกฤตยา อินทร์กอ หมู่ 22 IP: 118.174.22.110 วันที่: 4 ตุลาคม 2552 เวลา:1:16:17 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ตอบ
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น
ตัวอย่าง

-คนหนึ่งคนมีโทรศัพท์หนึ่งเครื่อง
-คอมฯหนึ่งตัวมีเมาล์หนึ่งอัน
-ตู้เย็นหึนึ่งหลังมีปลั๊กหนึ่งตัว

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา
ตัวอย่าง
-คนหนึ่งคนมีเพื่อนหลายคน
-TV หนึ่งเครื่อง ดูได้หลายช่อง
-รถโดยสารหนึ่งคันมีผู้โดยใช้บริการสารหลายคน

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

ตัวอย่าง
-กลุ่มนักศึกษามีการลงทะเบียนเรียน Look วิชาต่างๆ
-กลุ่มนักท่องเที่ยวเข้าพักในโรงแรมหลายแห่ง
-กลุ่มเกษตรกรร่วมเข้าประชุมหลายอำเภอ

ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.ht


โดย: นางสาวกฤตยา อินทร์กอ หมู่ 22 IP: 118.174.22.110 วันที่: 4 ตุลาคม 2552 เวลา:1:16:47 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

ที่มา://tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm
โดย นงสาว สุดารัคน์ นรินทร์ เรียนพฤหัสเช้า เวลา08.00-12.00น. หมู่ 08



โดย: นางสาว สุดารัตน์ นรินทร์ IP: 125.26.164.252 วันที่: 5 ตุลาคม 2552 เวลา:9:37:48 น.  

 
นส.เพ็ญนภา เจริญทรง
49240428132 ม.05
ส.13.00-16.00 น.

แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)

ที่มา//tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/aa_2/lesson04/lesson4-5.htm


โดย: นส.เพ็ญนภา เจริญทรง IP: 192.168.0.109, 180.183.67.230 วันที่: 6 ธันวาคม 2552 เวลา:14:28:53 น.  

 
แบบฝึกหัด
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)
ตอบ

ความสัมพันธ์ (Relationship)
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา


3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships)
เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N)



โดย: นายธีรยุทธ วันทอง คบ.ภาษาอังกฤษ รหัส 52100102145 หมู่ 08 พฤหัสเช้า IP: 202.29.5.240 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:16:54:17 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)


ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)

........จากที่เราได้กล่าวมาแล้วในหัวข้อก่อนว่า ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ก็คือ การรวบรวมตารางที่มีความสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกัน ในหัวข้อนี้ เราจะกล่าวถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์ชนิดต่างๆ ดังต่อไปนี้

[แก้ไข] ความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationships)
........เป็นความสัมพันธ์ที่ทำความเข้าใจง่ายที่สุด เนื่องจากเรคอร์ด 1 เรคอร์ดในตารางหนึ่งจะมีความสัมพันธ์กับอีกเรคอร์ด 1 เรคอร์ดในอีกตารางหนึ่งเท่านั้น ไม่สามารถมีเกิน 1 ได้ เช่น ตารางราคาสินค้า และตารางจำนวนสินค้า จะมีความสัมพันธ์แบบ One-to-One

........ความสัมพันธ์แบบนี้ เราสามารถรวมเป็นตารางเดียวได้ แต่ในบางครั้งเราต้องสร้างความสัมพันธ์แบบนี้ เนื่องจากเหตุผลบางประการ เช่น ต้องการตารางที่ใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการสร้างรายงานโดยเฉพาะ เพื่อเพิ่มความเร็วในการทำงาน เป็นต้น

[แก้ไข] ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationships)
........เป็นความสัมพันธ์แบบที่พบบ่อยที่สุดในระบบฐานข้อมูลทั่วไป ความสัมพันธ์แบบนี้เป็นความสัมพันธ์ที่เรคอร์ด 1 เรคอร์ดในตารางหนึ่ง จะสัมพันธ์กับจำนวนเรคอร์ด 2 เรคอร์ดหรือมากกว่าในอีกตารางหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ลูกค้าสามารถสั่งสินค้าได้หลายใบสั่งซื้อสินค้า แต่ใบสั่งสินค้าใบหนึ่งจะมีลูกค้าสั่งเพียงรายเดียวเท่านั้น

[แก้ไข] ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationships)
........เป็นความสัมพันธ์แบบที่ไม่สามารถแสดงให้เห็นได้ง่าย เนื่องจากเราสามารถสร้างความสัมพันธ์แบบนี้ได้ โดยสร้างตารางใหม่ที่ความสัมพันธ์แบบ Many-to-One สองตารางแทนตารางที่มีความสัมพันธ์แบบ Many-to-Many ได้ ตัวอย่างความสัมพันธ์แบบนี้เช่น ใบสั่งซื้อสินค้าจะสามารถมีสินค้าที่สั่งได้มากกว่า 1 อย่างในใบหนึ่ง และในทางกลับกันสินค้านั้นสามารถอยู่ในใบสั่งซื้อได้หลายใบเช่นกัน ความสัมพันธ์ระหว่างใบสั่งสินค้ากับสินค้าจึงเป็นแบบ Many-to-Many



โดย: **** นายสุรศักดิ์ พฤคณา 52100102101 คบ.ภาษาอังกฤษ หมู่ 8 พฤหัสบดี เช้า IP: 172.29.5.133, 61.19.118.250 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:17:18:16 น.  

 
3.1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล ทั้ง 3 ลักษณะ (ลักษณะละ 3 ตัวอย่าง)

ตอบ

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One - to - One Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ เอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต้องหนึ่ง เช่น นักศึกษาแต่ละคนสังกัด โปรแกรมวิชาได้เพียงโปรแกรมวิชาเดียวเท่านั้น


2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One - to - many Relationships) เป็น การแสดงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่ง เช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับการลงทะเบียนนักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนได้หลายสาขา

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many - to - Many Relationships) เป็ น การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่ม เช่น ในเอนทิตี้ การลงทะเบียนแต่ละครั้งสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ความสัมพันธ์ของนักศึกษาไปยังเอนทิตี้รายวิชาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: N) และแต่ละรายวิชาถูกลงทะเบียนได้จากนักศึกษาหลายคน ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ของเอนทิตี้รายวิชาไปยังเอนทิตี้นักศึกษาเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: M) ดังความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (N: M)




โดย: นาย นุกูลกิจ ลีทุม 52100102146 คบ.อังกฤษ หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) IP: 202.29.5.242 วันที่: 19 มกราคม 2553 เวลา:14:03:47 น.  

 
ดีเยี่ยม
เก่งจิงกะ


โดย: มัณฑนา จันทร์เทศ IP: 122.155.36.237 วันที่: 10 กรกฎาคม 2554 เวลา:14:28:42 น.  

 
ชอบอ่ะ


โดย: เกมชาวร็อก IP: 183.89.165.223 วันที่: 27 สิงหาคม 2556 เวลา:13:15:16 น.  

 
Wow, marvelous weblog structure! How lengthy have you been running
a blog for? you made running a blog glance easy.
The entire look of your site is wonderful, let alone the content!
You can see similar: Zabawka.shop and here Zabawka.shop


โดย: Kelly IP: 178.62.70.172 วันที่: 9 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา:9:16:55 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 
 
 

neaup
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 35 คน [?]




มาเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้กันนะคะ
[Add neaup's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com
pantip.com pantipmarket.com pantown.com