เกลียดจริง ๆ คนไม่จริงใจ
 
9. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System : ES)


มีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหา หรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น ES จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (Knowledge) มากกว่า สารสนเทศถูกออกแบบมาให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการ
ทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)




ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เป็นการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มา โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้ เป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม



แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด



Create Date : 11 มิถุนายน 2552
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 10:18:33 น. 102 comments
Counter : 9527 Pageviews.

 
1.

ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชียวชาญหรือที่เรียกว่า ES เป็นแขนงหนึ่งของ AI ที่นิยมนำมาใช้ในทางธุรกิจเนื่องจาก ES จะถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่เลียนแบบผู้เชียวชาญเฉพาะด้านได้ เช่น การวินิจฉัยโรค การวิเคราะห์หลักทรัพย์ ระบบผู้เชียวชาญ หมายถึงระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกหาที่ลองเรียนแบบกระบวนการใช้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังต่อไปนี้
1. กระจายความรู้
2. ความไม่แน่นอน
3. เตรียมการสำหรับอนาคต

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ที่มีความสะดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์

1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน

2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ

3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น

5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น



ตัวอย่าง

มหาวิทยาลัยรังสิตพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม

ผศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กล่าวว่าได้ทำการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม เพื่อใช้ในการเตือนภัยแก่ชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดน้ำท่วม โครงการนี้เป็นโครงการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งได้เข้าแข่งขันในการประกวดนวัตกรรมของกองทุนนวัตกรรม ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เข้ารอบชิงชนะเลิศทั่วประเทศ ในเดือนตุลาคมนี้ และนับเป็นผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วมระบบแรกของประเทศไทย ที่ได้ทำการพัฒนาขึ้น โดยอาศัยศาสตร์ทางด้านโครงข่ายใยประสาทเทียมที่สามารถเรียนรู้ สภาพ เหตุการณ์น้ำท่วมในอดีตของแต่ละลุ่มน้ำได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ผลการทำนายจึงมีความแม่นยำสูงมาก ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้ประยุกต์ใช้ภาษา Java เป็นภาษาหลักในการเขียนโปรแกรม และทำงานในเครื่อง PC ธรรมดา ดังนั้น ผู้ใช้จะสามารถติดต่อสื่อสารกับระบบได้ง่าย โดยไม่ต้องมีความเข้าใจในรายละเอียดการทำงาน กล่าวคือ ระบบจะสร้างผู้ใช้ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ปัจจุบันได้นำไปประยุกต์ใช้กับลุ่มน้ำต่างๆ เช่น แม่น้ำยม บริเวณจังหวัดสุโขทัย แม่น้ำปราจีนบุรี บริเวณเขตอำเภอเมือง และคลองอู่ตระเภาในเขตเทศบาลหาดใหญ่ ผลการคำนวณจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำให้ทราบว่าเมื่อไร น้ำหลากจะมาถึงและมาด้วยความรุนแรงเท่าใด จึงทำให้สามารถลดความสูญเสียทั้งทางด้านชีวิตและทรัพย์สิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ



ที่มา

//learners.in.th/blog/yoklnw/262820



โดย: นศ.ณัฐชนันท์พร ศรีบุญเรือง (หมู่08 เช้า พฤ ) IP: 172.29.85.18, 58.137.131.62 วันที่: 11 มิถุนายน 2552 เวลา:16:05:17 น.  

 

ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา

//www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pichai_l/it01/it_type_es.htm
การทำงานของระบบผู้เชี่ยวชาญ
การทำงานของระบบผู้เชี่ยวชาญ Knowledge Representation Methods
- IF - Then Rules (กฎ) คำสั่งแสดงเงื่อนไขจำนวนมากสามารถนำมาใช้เป็นกฎ (Rule) (มีจำนวน 200 ถึง 10,000 เงื่อนไข) กฎที่นำมาใช้ในโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ยังมีการเชื่อมโยง ระหว่างกันอย่างมาก เก็บความสัมพันธ์ไว้ (semiotic) Frames ตาราง ความรู้ที่เก็บแต่ละตาราง
- Knowledge Engineering วิศวกรความรู้ จัดเก็บความรู้อย่างเป็นหมวดหมู่ รู้ความลับต่างๆ ในแต่ละด้าน
- Expert System Shells เปลือกความรู้อะไรนั้น ๆ ก็ใส่เข้าไปหรือความรู้จากการเขียนโปรแกรม
- Foreword Chaining ค้นหาคำตอบได้ 2 วิธี เชื่อมต่อไปเรื่อยๆ (ได้คำตอบมา) Result - driven process
- Back word Chaining กลไกอ้างอิงย้อนกลับท้าวหลัง ตั้งสมมติฐานและถามผู้ใช้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง Goal - driven process ตั้งคำถามนำ (ได้คำตอบกลับมา) จนได้การยืนยัน เราต้องคิดว่าจะทำ ES ไหม ถ้าปัญหาเล็กน้อยก็ ไม่ควรจะทำ
- Factors Justifying the Acquisition of Expert Systems ปัญหาเล็กน้อย ไม่มีโครงสร้าง เกิดบ่อยไหม ต้องมี
ผู้เชี่ยวชาญที่จะให้ประสบการณ์
ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/115/2.html


โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:13:53:39 น.  

 
ขอบคุณมั่ก ๆ ครับ

หาอยู่พอดีเลย

มีพรีเซ้นท์อีกไม่นานนี้

ขออนุญาติเอาไปศึกษานะครับ



โดย: clubp_mark วันที่: 22 มิถุนายน 2552 เวลา:23:25:43 น.  

 

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)

ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้นๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริงๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้

-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องออกจากองค์กรหรือไม่อาจปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก


//science.rbru.ac.th/~bangkom/mies.htm


โดย: นางสาวปวีณา บรรยงค์ เรียนบ่าย-วันจันทร์ หมู่1 รหัส 50040302112 IP: 172.29.9.245, 58.137.131.62 วันที่: 29 มิถุนายน 2552 เวลา:15:13:01 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น
ที่มา//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8D


โดย: นางสาวเกศรินทร์ ไชยปัญญา หมู่( 08 พฤ เช้า) IP: 172.29.85.71, 58.137.131.62 วันที่: 29 มิถุนายน 2552 เวลา:16:31:05 น.  

 

9.1ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่ มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472


โดย: น.ส. วริศรา ทิมแดง (ม.08 พฤ. เช้า ) IP: 172.29.85.55, 202.29.5.62 วันที่: 30 มิถุนายน 2552 เวลา:18:49:14 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชียวชาญหรือที่เรียกว่า ES เป็นแขนงหนึ่งของ AI ที่นิยมนำมาใช้ในทางธุรกิจเนื่องจาก ES จะถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่เลียนแบบผู้เชียวชาญเฉพาะด้านได้ เช่น การวินิจฉัยโรค การวิเคราะห์หลักทรัพย์ ระบบผู้เชียวชาญ หมายถึงระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกหาที่ลองเรียนแบบกระบวนการใช้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังต่อไปนี้
1. กระจายความรู้
2. ความไม่แน่นอน
3. เตรียมการสำหรับอนาคต

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ที่มีความสะดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์

1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน

2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ

3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น

5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น

//learners.in.th/blog/yoklnw/262820



โดย: นางสาวเบญจมาศ โคตรเพชร (หมู่08 พฤหัสเช้า) IP: 172.29.9.61, 202.29.5.62 วันที่: 2 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:19:06 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)

ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้นๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริงๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้

-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องออกจากองค์กรหรือไม่อาจปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก


//science.rbru.ac.th/~bangkom/mies.htm


นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1




โดย: นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1 IP: 58.147.38.208 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:34:02 น.  

 
9.1

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น เนื่องจากระบบนี้คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างต่างกว่าระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องการออกจากองค์กรหรืออาจไม่ปฏิบัติงานได้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทะผลให้กับผู้ตัดสินใจได้อย่างมาก
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตักสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่มีความขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
ระบบผูเชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนเป็นอย่างมาก

ที่มา //pirun.ku.ac.th/~b5055088/page5.html


โดย: นางสาวเจนจิรา จุตตะโน หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) รหัส 52040302126 IP: 1.1.1.236, 58.137.131.62 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:19:22:21 น.  

 
ข้อ 1 ระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system)
โปรแกรมที่บรรจุความรู้อย่างมากมายที่ใช้โดยผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาเฉพาะเพื่อช่วยให้บุคคลอื่นๆนำไปใช้ในการแก้ปัญหาได้ ระบบผู้เชี่ยวชาญประกอบด้วยฐานความรู้ที่แสดงอยู่ในชุดกฎของ IF/THEN และวิธีการเพื่อนำไปสู่ข้อวินิจฉัยจากฐานความรู้นั้น ระบบนี้จะช่วยบอกข้อมูลที่จำเป็นเพื่อหาทางแก้ปัญหาและนำไปสู่ข้อสรุปในที่สุด ระบบผู้เชี่ยวชาญส่วนมากจะมีข้อสรุปด้วยปัจจัยที่เชื่อถือได้ ด้วยการพิจารณาจากหลักการทางด้านความรู้การวิเคราะห์ต่างๆ เพื่อยืนยันข้อสรุปนั้น




ตัวอย่าง Expert System Applications
diagnosis of faults and diseases
automobile diagnosis
interpretation of data (เช่น sonar signals)
mineral exploration
personnel scheduling
computer network management
weather forecasting
stock market prediction
consumer buying advice
diet advice
วัตถุประสงค์หลักของระบบผู้เชี่ยวชาญ
การช่วยในการตัดสินใจ การให้ความรู้ คำแนะนำ หรือคำปรึกษา อย่างที่เราต้องการจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ระบบผู้เชี่ยวชาญ (EXPERT SYSTEM AND ARTIFICIAL INTELLIGENCE)




ส่วนประกอบของ Expert System
1.ฐานความรู้ (knowledge base)
2.เครื่องอนุมาน (inference engine)
3.ส่วนดึงความรู้ (knowledge acquisition subsystem)
4.ส่วนอธิบาย (explanation subsystem)
5.การติดต่อกับผู้ใช้ (user interface)
ประโยชน์
1.ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
2.ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
3.การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
4.ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่า งแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
5.ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น

ที่มา //cp101km.swu.ac.th/index.php/51102010538_%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8D


โดย: นางสาว ปาริสา แคนหนอง 52040332140 หมู่ 15 ศุกร์ (เช้า) IP: 125.26.233.224 วันที่: 6 กรกฎาคม 2552 เวลา:2:19:35 น.  

 
ข้อ 1 ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)

เป็นระบบที่ช่วยในการแก้ปัญหาหรือช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์



องค์ประกอบของผู้เชี่ยวชาญ

1. ฐานความรู้ (Knowledge Base) เป็นส่วนของความรู้ของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด ซึ่งจะเก็บไว้ในฐานข้อมูลของระบบ

2. โปรแกรมของระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System Software หรือ Software Resources) แบ่งออกได้ 2 ส่วน

1) ส่วนที่ใช้ในการประมวลผลความรู้จากฐานความรู้

2) ส่วนที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้



ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ

1. ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านหนึ่งด้านใดโดยเฉพาะไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้และสามารถนำความรู้มาใช้งานได้ตลอดเวลา

2. ช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจ

3. สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ใช้ระบบในการตัดสินใจ

4. ช่วยให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน

5. ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

ที่มา //macky.blogth.com/8727/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%209%20%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0


โดย: นางสาว อนุสรา แคนหนอง 52040332139 หมู่เรียน 15 ศุกร์ เช้า IP: 125.26.233.224 วันที่: 6 กรกฎาคม 2552 เวลา:2:22:25 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

คำตอบคือ...

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ที่มา...
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pichai_l/it01/it_type_es.htm


โดย: นางสาวศศิวิมล ภาณุพงศ์ภูสิทธิ์ หมู่ 8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.229, 58.137.131.62 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:04:27 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)

ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้นๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริงๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้

-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องออกจากองค์กรหรือไม่อาจปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก

ที่มา..//learners.in.th/blog/yoklnw/262820


โดย: น.ส.วิภาดา นาสิงห์ขันธ์ หมู่8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.141, 202.29.5.62 วันที่: 12 กรกฎาคม 2552 เวลา:0:04:45 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน


[แก้] ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่า งแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น
th.wikipedia.org/wiki


โดย: นางสาวอรนิดา วรินทรา ม. 15 ศ.เช้า IP: 192.168.1.103, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:57:21 น.  

 
1.

ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชียวชาญหรือที่เรียกว่า ES เป็นแขนงหนึ่งของ AI ที่นิยมนำมาใช้ในทางธุรกิจเนื่องจาก ES จะถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่เลียนแบบผู้เชียวชาญเฉพาะด้านได้ เช่น การวินิจฉัยโรค การวิเคราะห์หลักทรัพย์ ระบบผู้เชียวชาญ หมายถึงระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกหาที่ลองเรียนแบบกระบวนการใช้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังต่อไปนี้
1. กระจายความรู้
2. ความไม่แน่นอน
3. เตรียมการสำหรับอนาคต

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ที่มีความสะดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์

1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน

2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ

3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น

5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น



ตัวอย่าง

มหาวิทยาลัยรังสิตพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม

ผศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กล่าวว่าได้ทำการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม เพื่อใช้ในการเตือนภัยแก่ชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดน้ำท่วม โครงการนี้เป็นโครงการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งได้เข้าแข่งขันในการประกวดนวัตกรรมของกองทุนนวัตกรรม ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เข้ารอบชิงชนะเลิศทั่วประเทศ ในเดือนตุลาคมนี้ และนับเป็นผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วมระบบแรกของประเทศไทย ที่ได้ทำการพัฒนาขึ้น โดยอาศัยศาสตร์ทางด้านโครงข่ายใยประสาทเทียมที่สามารถเรียนรู้ สภาพ เหตุการณ์น้ำท่วมในอดีตของแต่ละลุ่มน้ำได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ผลการทำนายจึงมีความแม่นยำสูงมาก ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้ประยุกต์ใช้ภาษา Java เป็นภาษาหลักในการเขียนโปรแกรม และทำงานในเครื่อง PC ธรรมดา ดังนั้น ผู้ใช้จะสามารถติดต่อสื่อสารกับระบบได้ง่าย โดยไม่ต้องมีความเข้าใจในรายละเอียดการทำงาน กล่าวคือ ระบบจะสร้างผู้ใช้ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ปัจจุบันได้นำไปประยุกต์ใช้กับลุ่มน้ำต่างๆ เช่น แม่น้ำยม บริเวณจังหวัดสุโขทัย แม่น้ำปราจีนบุรี บริเวณเขตอำเภอเมือง และคลองอู่ตระเภาในเขตเทศบาลหาดใหญ่ ผลการคำนวณจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำให้ทราบว่าเมื่อไร น้ำหลากจะมาถึงและมาด้วยความรุนแรงเท่าใด จึงทำให้สามารถลดความสูญเสียทั้งทางด้านชีวิตและทรัพย์สิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ



ที่มา

//learners.in.th/blog/yoklnw/262820


โดย: นางสาววิภายี กลางหล้า ม. 15 ศุกร์เช้า IP: 192.168.1.102, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:18:34 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินได้ดีขึ้น ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดี่ยวกับผู้เชี่ยวชาญที่มนุษย์เป็น โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น เนื่องจากระบบนี้คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างต่างกว่าระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องการออกจากองค์กรหรืออาจไม่ปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทะผลให้กับผู้ตัดสินใจได้อย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตักสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่มีความขัดแย้งกัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผูเชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนเป็นอย่างมาก


//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm



โดย: นส.บลสิการ ดอนโสภา หมู่15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151217 IP: 192.168.1.115, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:27:46 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชียวชาญหรือที่เรียกว่า ES เป็นแขนงหนึ่งของ AI ที่นิยมนำมาใช้ในทางธุรกิจเนื่องจาก ES จะถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่เลียนแบบผู้เชียวชาญเฉพาะด้านได้ เช่น การวินิจฉัยโรค การวิเคราะห์หลักทรัพย์ ระบบผู้เชียวชาญ หมายถึงระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกหาที่ลองเรียนแบบกระบวนการใช้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังต่อไปนี้
1. กระจายความรู้
2. ความไม่แน่นอน
3. เตรียมการสำหรับอนาคต

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ที่มีความสะดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์

1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน

2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ

3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น

5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น



ตัวอย่าง

มหาวิทยาลัยรังสิตพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม

ผศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กล่าวว่าได้ทำการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม เพื่อใช้ในการเตือนภัยแก่ชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดน้ำท่วม โครงการนี้เป็นโครงการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งได้เข้าแข่งขันในการประกวดนวัตกรรมของกองทุนนวัตกรรม ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เข้ารอบชิงชนะเลิศทั่วประเทศ ในเดือนตุลาคมนี้ และนับเป็นผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วมระบบแรกของประเทศไทย ที่ได้ทำการพัฒนาขึ้น โดยอาศัยศาสตร์ทางด้านโครงข่ายใยประสาทเทียมที่สามารถเรียนรู้ สภาพ เหตุการณ์น้ำท่วมในอดีตของแต่ละลุ่มน้ำได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ผลการทำนายจึงมีความแม่นยำสูงมาก ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้ประยุกต์ใช้ภาษา Java เป็นภาษาหลักในการเขียนโปรแกรม และทำงานในเครื่อง PC ธรรมดา ดังนั้น ผู้ใช้จะสามารถติดต่อสื่อสารกับระบบได้ง่าย โดยไม่ต้องมีความเข้าใจในรายละเอียดการทำงาน กล่าวคือ ระบบจะสร้างผู้ใช้ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ปัจจุบันได้นำไปประยุกต์ใช้กับลุ่มน้ำต่างๆ เช่น แม่น้ำยม บริเวณจังหวัดสุโขทัย แม่น้ำปราจีนบุรี บริเวณเขตอำเภอเมือง และคลองอู่ตระเภาในเขตเทศบาลหาดใหญ่ ผลการคำนวณจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำให้ทราบว่าเมื่อไร น้ำหลากจะมาถึงและมาด้วยความรุนแรงเท่าใด จึงทำให้สามารถลดความสูญเสียทั้งทางด้านชีวิตและทรัพย์สิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ที่มา

//learners.in.th/blog/yoklnw/262820




โดย: นางสาว ธัญธิตา แก้วมีศรี ม. 15 ศุกร์เช้า 52041151239 IP: 192.168.1.104, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:34:21 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบข้อ9.1
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชียวชาญหรือที่เรียกว่า ES เป็นแขนงหนึ่งของ AI ที่นิยมนำมาใช้ในทางธุรกิจเนื่องจาก ES จะถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่เลียนแบบผู้เชียวชาญเฉพาะด้านได้ เช่น การวินิจฉัยโรค การวิเคราะห์หลักทรัพย์ ระบบผู้เชียวชาญ หมายถึงระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกหาที่ลองเรียนแบบกระบวนการใช้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังต่อไปนี้
1. กระจายความรู้
2. ความไม่แน่นอน
3. เตรียมการสำหรับอนาคต

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ที่มีความสะดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์

1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน

2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ

3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น

5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น

ที่มา//learners.in.th/blog/yoklnw/262820




โดย: นสายบดินทร์ แก้วมีศรี หมู่ 01 (พเศษ) 52240210214 สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.83.148 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:20:41:41 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)

ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้นๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริงๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้

-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องออกจากองค์กรหรือไม่อาจปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก

ที่มา..//learners.in.th


โดย: นางสาววิภาวี พลวี ( 08 พฤ เช้า ) IP: 125.26.169.73 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:24:56 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินได้ดีขึ้น ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดี่ยวกับผู้เชี่ยวชาญที่มนุษย์เป็น โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น เนื่องจากระบบนี้คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างต่างกว่าระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องการออกจากองค์กรหรืออาจไม่ปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทะผลให้กับผู้ตัดสินใจได้อย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตักสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่มีความขัดแย้งกัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผูเชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนเป็นอย่างมาก


ที่มา//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm


โดย: โดยน.ส อังคณา สุทธิแพทย์52240210209หมู่01(พิเศษ)พฤ.ค่ำสาขา สาธารณศาสตร์ IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:19:48 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่ มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472






โดย: นางสาว สุทธิดา ยาโย 52240210217 วัน พฤหัสฯ หมู่ 1 IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:39:06 น.  

 

1.

ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชียวชาญหรือที่เรียกว่า ES เป็นแขนงหนึ่งของ AI ที่นิยมนำมาใช้ในทางธุรกิจเนื่องจาก ES จะถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่เลียนแบบผู้เชียวชาญเฉพาะด้านได้ เช่น การวินิจฉัยโรค การวิเคราะห์หลักทรัพย์ ระบบผู้เชียวชาญ หมายถึงระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกหาที่ลองเรียนแบบกระบวนการใช้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังต่อไปนี้
1. กระจายความรู้
2. ความไม่แน่นอน
3. เตรียมการสำหรับอนาคต

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ที่มีความสะดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์

1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน

2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ

3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น

5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น



ตัวอย่าง

มหาวิทยาลัยรังสิตพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม

ผศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กล่าวว่าได้ทำการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม เพื่อใช้ในการเตือนภัยแก่ชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดน้ำท่วม โครงการนี้เป็นโครงการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งได้เข้าแข่งขันในการประกวดนวัตกรรมของกองทุนนวัตกรรม ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เข้ารอบชิงชนะเลิศทั่วประเทศ ในเดือนตุลาคมนี้ และนับเป็นผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วมระบบแรกของประเทศไทย ที่ได้ทำการพัฒนาขึ้น โดยอาศัยศาสตร์ทางด้านโครงข่ายใยประสาทเทียมที่สามารถเรียนรู้ สภาพ เหตุการณ์น้ำท่วมในอดีตของแต่ละลุ่มน้ำได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ผลการทำนายจึงมีความแม่นยำสูงมาก ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้ประยุกต์ใช้ภาษา Java เป็นภาษาหลักในการเขียนโปรแกรม และทำงานในเครื่อง PC ธรรมดา ดังนั้น ผู้ใช้จะสามารถติดต่อสื่อสารกับระบบได้ง่าย โดยไม่ต้องมีความเข้าใจในรายละเอียดการทำงาน กล่าวคือ ระบบจะสร้างผู้ใช้ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ปัจจุบันได้นำไปประยุกต์ใช้กับลุ่มน้ำต่างๆ เช่น แม่น้ำยม บริเวณจังหวัดสุโขทัย แม่น้ำปราจีนบุรี บริเวณเขตอำเภอเมือง และคลองอู่ตระเภาในเขตเทศบาลหาดใหญ่ ผลการคำนวณจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำให้ทราบว่าเมื่อไร น้ำหลากจะมาถึงและมาด้วยความรุนแรงเท่าใด จึงทำให้สามารถลดความสูญเสียทั้งทางด้านชีวิตและทรัพย์สิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ



ที่มา

//learners.in.th/blog/yoklnw/262820


โดย: นายนภศักดิ์ ชาทอง ม.29 พุธเช้า IP: 119.31.110.169 วันที่: 16 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:55:43 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ที่มา; //th.wikipedia.org/wiki/


โดย: นางสาวเบญจมาศ ปวงสุข ศศ.บ ภาษาอังกฤษ 3/1 หมู่ 1 เรียน วันจันทร์-บ่าย IP: 117.47.9.217 วันที่: 19 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:17:04 น.  

 
คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ
ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่น ๆ ดังนี้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องออกจาองค์กรหรือไม่ปฏิบัติงานได้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญช่วยลดการพึ่งพาบุคลคลใดบุคคลหนึ่ง
ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก


โดย: นางสาวอรธิรา บัวลา หมู่ 29 พุธเช้า คาบ 2-5 รหัส 52040501332 เมล์ manay_manay@hotmail.com IP: 172.24.15.47, 202.29.5.62 วันที่: 22 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:14:15 น.  

 
คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ
ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่น ๆ ดังนี้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องออกจาองค์กรหรือไม่ปฏิบัติงานได้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญช่วยลดการพึ่งพาบุคลคลใดบุคคลหนึ่ง
ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก


//202.28.94.55/web/322161/2551/001/g29/IT10.html


โดย: นางสาวอรธิรา บัวลา หมู่ 29 พุธเช้า คาบ 2-5 รหัส 52040501332 เมล์ manay_manay@hotmail.com IP: 172.24.15.47, 202.29.5.62 วันที่: 22 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:15:49 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

-ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472


โดย: นายอดิศักดิ์ รักวิชา ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427132 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:6:47:50 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

-ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472


โดย: นายนิรัช วิจิตรกุล ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427117 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:6:48:47 น.  

 
ตอบแบบทดสอบที่ 9 ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)

ข้อที่ 1 ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ
คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ
ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่น ๆ ดังนี้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้อง ออกจาก องค์กรหรือไม่ปฏิบัติงานได้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญช่วยลดการพึ่งพาบุคลคลใดบุคคลหนึ่ง
ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่าง

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Tasks)
1.Engineer
Design
Fault finding
Manufacturing planing
2. Scientific analysis
3. Medical diagnosis
4. Financial analysis

การทำงานของระบบผู้เชี่ยวชาญ
การทำงานของระบบผู้เชี่ยวชาญ Knowledge Representation Methods
- IF - Then Rules (กฎ) คำสั่งแสดงเงื่อนไขจำนวนมากสามารถนำมาใช้เป็นกฎ (Rule) (มีจำนวน 200 ถึง 10,000 เงื่อนไข) กฎที่นำมาใช้ในโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ยังมีการเชื่อมโยง ระหว่างกันอย่างมาก เก็บความสัมพันธ์ไว้ (semiotic) Frames ตาราง ความรู้ที่เก็บแต่ละตาราง
- Knowledge Engineering วิศวกรความรู้ จัดเก็บความรู้อย่างเป็นหมวดหมู่ รู้ความลับต่างๆ ในแต่ละด้าน
- Expert System Shells เปลือกความรู้อะไรนั้น ๆ ก็ใส่เข้าไปหรือความรู้จากการเขียนโปรแกรม
- Foreword Chaining ค้นหาคำตอบได้ 2 วิธี เชื่อมต่อไปเรื่อยๆ (ได้คำตอบมา) Result - driven process
- Back word Chaining กลไกอ้างอิงย้อนกลับท้าวหลัง ตั้งสมมติฐานและถามผู้ใช้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง Goal - driven process ตั้งคำถามนำ (ได้คำตอบกลับมา) จนได้การยืนยัน เราต้องคิดว่าจะทำ ES ไหม ถ้าปัญหาเล็กน้อยก็ ไม่ควรจะทำ
- Factors Justifying the Acquisition of Expert Systems ปัญหาเล็กน้อย ไม่มีโครงสร้าง เกิดบ่อยไหม ต้องมี
ผู้เชี่ยวชาญที่จะให้ประสบการณ์

ที่มา //www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/115/2.html


โดย: นางสาวจิลวรรณ ปัดถาวะโร รหัส 52040281130 ม. 08 ( พฤ.เช้า ) IP: 124.157.148.182 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:53:10 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ตอบ

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้


โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน

ที่มา
th.wikipedia.org/wiki/


โดย: น.ส.ชฏาพร โสภาคำ ชีววิทยา (จุลชีววิทยา) ม.08 พฤ(เช้า) 52040281117 IP: 124.157.148.182 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:54:18 น.  

 

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems-ES)


ES ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาแก้ผู้ใช้ในการให้คำแนะนำที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ ในบางสาขา ES เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูลและกฎเกณฑ์ของความรู้ ซึ่งรวบรวมมาจากสาขาวิชาที่ต้องการความเชี่ยวชาญไว้ในฐานความรู้ (knowledge base) และโปรแกรมจะดำเนินการเมื่อมีการป้อนข้อมูลโดยผู้ใช้ ในลักษณะการถามตอบและประมวลผล คำตอบจากที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไปเพื่อหาข้อสรุปหรือคำแนะนำที่ต้องการ
ES เป็นสาขาหนึ่งของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence-AI) ซึ่งศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ การพัฒนา ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการเลียนแบบการเรียนรู้และพฤติกรรมการให้เหตุผลของมนุษย์

ES
1) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญแก่ผู้ใช้โดยทั่วไป เช่น การให้คำแนะนำสำหรับคนที่ได้รับพิษทางปากว่าควรจะปฏิบัติตัวอย่างไร
2) การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เชี่ยวชาญ ในการศึกษาสถานการณ์ โดยการรวบรวมสารสนเทศ การสังเกตหรือประเมินสถานการณ์ รวมทั้งการแนะนำในการจัดการ การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เชี่ยวชาญนี้เป็นการตรวจสอบซ้ำ (double check) ว่าข้อมูลที่สำคัญ ไม่ได้ถูกละเลยไปในการพิจารณาปัญหาต่าง ๆ เช่น หมอใช้ ES เพื่อวินิจฉัยว่าคนไข้ป่วย ด้วยโรคหัวใจ หรือเป็นเพราะปัญหา Cardiac malfunction
3) ทดแทนผู้เชี่ยวชาญ โดยการใช้ฐานความรู้และความสามารถในการวิเคราะห์เพื่อประเมินสถานการณ์ในกรณีที่ไม่สามารถหาผู้เชี่ยวชาญได้ เช่น ผู้ช่วยหมอใช้ ES ในการตรวจสอบผลการตรวจคลื่นหัวใจ (electro-cardigram printout) เพื่อดูว่าหัวใจของคนไข้ทำงานปกติหรือไม่

ตัวอย่างของ ES ที่นำไปใช้ในงานด้านต่างๆ
1) ด้านการแพทย์ : การให้คำแนะนำแก่หมอในการสั่งยาปฏิชีวนะให้คนไข้ซึ่งต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ หลายประการ เช่น ประวัติการเจ็บป่วยของคนไข้ แหล่งติดเชื้อ ราคาของยา
2) ด้านการผลิต : การให้คำแนะนำแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชิ้นส่วนเครื่องบิน
3) ด้านธรณีวิทยา : ให้คำแนะนำแก่นักธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน้ำมัน เพื่อพิจารณาในการขุดเจาะน้ำมัน
4) ด้านกระบวนการผลิต : ให้คำแนะนำในการกำหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต (Expert Systems Scheduling) ซึ่งทำให้บริษัทสามารถปรับตารางเวลาการการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรือเงื่อนไขของโรงงานที่เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วดังที่บริษัท General Motors ได้นำมาใช้
5) ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตรเครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการทำงานตั้งแต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การอนุมัติเครดิต การรวมบัญชีที่ค้างชำระเกินกำหนด ES ที่ใช้ระบบนี้เรียกว่า Authorization Assistant และทำให้บริษัทประหยัดเงินได้หลายล้านดอลล่าร์ในแต่ละปี (Haag et al.,2000)
6) ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ : การออกแบบ ES มาสำหรับช่วยบริษัทที่ทำธุรกิจต่างประเทศในการทำสัญญากับประเทศต่างๆ และใช้เป็นเครื่องมืออบรมพนักงานให้มีความรู้และทักษะในความซับซ้อนของการค้าระหว่างประเทศมากขึ้น (Haag et al.,2000)
7) ด้านการค้าระหว่างประเทศ : บริษัทที่ติดต่อกับกลุ่มประเทศ NAFTA ต้องเผชิญปัญหากับภาษีและกฎระเบียบที่สลับซับซ้อนสำหรับสินค้าต่างๆ ตลอดจน ความเข้มงวดในเรื่องพิธีศุลกากร และการกำหนดโทษของการฝ่าฝืนค่อนข้างรุนแรง ดังนั้น ความเสี่ยงในการทำการค้ากลุ่มประเทศดังกล่าวจึงค่อนข้างสูง บริษัทต่างๆ จึงได้อาศัย ES สำเร็จรูปที่ชื่อว่า “Origin” เป็นเครื่องมือช่วยในการให้คำแนะนำในเรื่องกฎระเบียบต่างๆ


องค์ประกอบของ ES
องค์ประกอบที่สำคัญของ ES ได้แก่ (Stairs & Reynolds, 1999)
1) ฐานความรู้ (Knowledge base) ซึ่งเก็บรวบรวมกฎเกณฑ์ต่างๆ (rules) ที่เกี่ยวข้องกับความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน กฎเกณฑ์นี้จะช่วยให้ ES สามารถให้ข้อสรุปในเรื่องที่เกี่ยวข้องแก่ผู้ใช้
2) โปรแกรมที่จะนำฐานความรู้ไปใช้เพื่อพิจารณาเสนอแนะแก้ปัญหาหรือโครงสร้างการตัดสินใจ (Inference engine) โดย Inference engine จะทำหน้าที่ในการจัดระบบและควบคุมกฎเกณฑ์ โดยจะให้เหตุผลต่างๆ เพื่อจะนำไปสู่ข้อสรุปหรือ ข้อเสนอแนะแก่ผู้ใช้
3) อุปกรณ์ช่วยในการอธิบาย (Explanation facility) อุปกรณ์ช่วยในการอธิบายช่วยทำให้ผู้ใช้เข้าใจกฎเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจ
4) อุปกรณ์ในการหาความรู้ (Knowledge acquisition facility) เป็นอุปกรณ์ในการรวบรวมและเก็บความรู้ที่สะดวกและมีประสิทธิภาพ
5) การเชื่อมโยงกับผู้ใช้ (User interface) เป็นการทำให้การพัฒนาและการใช้ ES ทำได้ง่ายขึ้น ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ซึ่งผู้ใช้สามารถนำไปช่วยในการสร้าง ES โดยใช้รูปภาพที่ผู้ใช้ต้องการ (เช่น จะใช้เมนูฟอร์ม)

ข้อจำกัดของ ES
ES มีข้อจำกัดดังนี้ (Haag et al.,2000)
1) การนำความรู้ความเชี่ยวชาญมาใช้ใน ES ในบางครั้งอาจทำได้ยากเนื่องจากผู้เชี่ยวชาญอาจจะไม่สามารถอธิบายได้ว่าตนเองรู้อะไรบ้าง และบางครั้งก็ไม่สามารถอธิบายเหตุผลของความรู้ได้อย่างชัดเจน
2) แม้ว่าผู้เชี่ยวชาญจะสามารถอธิบายองค์ความรู้และกระบวนการการให้เหตุผลอย่างชัดเจน แต่กระบวนการในการสร้างกฎเกณฑ์อาจจะสลับซับซ้อนมากเกินไป จนไม่สามารถเสนอแนะคำตอบได้อย่างแน่ชัด
3) การใช้ ES จะใช้แก้ปัญหาที่ได้รับการออกแบบและใส่ข้อมูลในโปรแกรมแล้วเท่านั้น ดังนั้น ES จึงไม่สามารถจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ นอกจากนี้ ES ไม่สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านมาและไม่สามารถใช้ความเชี่ยวชาญที่มีอยู่เพื่อจัดการกับปัญหาใหม่ๆ แบบที่มนุษย์ทำได้
4) ES ไม่มีวิจารณญาณในการเสนอแนะ ดังนั้นในบางกรณีอาจจะนำไปสู่อันตรายได้

ลักษณะความแตกต่างระหว่าง DSS และ ES
ผู้ใช้ DSS จะต้องมีความรู้ หรือความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ที่ตนเองเผชิญอยู่และต้องจัดการกับสถานการณ์นั้น แม้ว่า DSS จะช่วยสนับสนุนในการตัดสินใจแต่ผู้ใช้ต้องทราบว่าควรจะตั้งคำถามอย่างไร เพื่อจะได้คำตอบในการช่วยการตัดสินใจ และจะหาคำตอบได้อย่างไร รวมทั้งจะต้องดำเนินการต่ออย่างไร ส่วนระบบ ES ผู้ใช้เพียงแต่ให้ข้อเท็จจริงหรืออาการของปัญหาที่ต้องการคำตอบ ส่วนความรู้และความเชี่ยวชาญที่จะช่วยในการแก้ปัญหาจะมาจากระบบ ES


โดย: นางสาวกนกอร เสริฐดิลก สารสนเทศศาสตร์ รหัส52040332133 หมู่15 ศุกร์เช้า IP: 114.128.20.18 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:21:19:46 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด


มีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหา หรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น ES จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (Knowledge) มากกว่า สารสนเทศถูกออกแบบมาให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการ
ทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)







ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เป็นการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มา โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้ เป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม


โดย: น.ส วนิดา ปัตตานี เช้าวันศุกร์ หมู่15 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 26 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:55:01 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชียวชาญหรือที่เรียกว่า ES เป็นแขนงหนึ่งของ AI ที่นิยมนำมาใช้ในทางธุรกิจเนื่องจาก ES จะถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่เลียนแบบผู้เชียวชาญเฉพาะด้านได้ เช่น การวินิจฉัยโรค การวิเคราะห์หลักทรัพย์ ระบบผู้เชียวชาญ หมายถึงระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกหาที่ลองเรียนแบบกระบวนการใช้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังต่อไปนี้
1. กระจายความรู้
2. ความไม่แน่นอน
3. เตรียมการสำหรับอนาคต

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ที่มีความสะดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้

-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องออกจากองค์กรหรือไม่อาจปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก


โดย: นางสาวสุพัตรา ธรรมสาร(หมู่15ศ.เช้า)52040302208 IP: 222.123.62.82 วันที่: 28 กรกฎาคม 2552 เวลา:1:28:45 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้
โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน

ที่มา
th.wikipedia.org/wiki/


โดย: นายนิติธรรม พฤหัส เช้า หมู่ 08 IP: 1.1.1.4, 202.29.5.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:0:49:18 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ประโยชน์
1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่า งแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น
ที่มา //th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8D


โดย: นางสาวนิตยา กลิ่นเมือง หมู่ 15 ศุกร์ (เช้า) IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:10:02:07 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ปัญญาประดิษฐ์ คือ ศาสตร์แขนงหนึ่งทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีพื้นฐานมาจากวิชา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ ชีววิทยา จิตวิทยา ภาษาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์

ลักษณะของงานปัญญาประดิษฐ์ แยกออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้

1. Cognitive Science = งานด้านนี้เน้นศึกษาว่าสมองมนุษย์ทำงานอย่างไร มนุษย์คิดและเรียนรู้อย่างไร


ประกอบด้วยระบบต่างๆ ดังต่อไปนี้


- ระบบผู้เชี่ยวชาญ หรือ ระบบงานความรู้


- ระบบเครือข่ายนิวรอน ถูกออกแบบให้เลียนแบบการทำงานของสมองมนุษย์ ระบบนี้ในปัจจุบันถูกนำมา
ใช้เป็นเครื่องมือในการให้คำแนะนำเพื่อให้มนุษย์เป็ผู้ตัดสินใจในที่สุด


- ระบบแบ๊บเน็ต ระบบนี้พัฒนาขึ้นเพื่อลดค่าใช้จ่ายในด้านของนักเซลล์วิทยาลดลง วิธีนี้สะดวกในการ
ตรวจสอบมะเร็งปากมดลูก เพราะทำให้นักเซลล์วิทยาสามารถใช้เวลากับแต่ละรายการ หรือตรวจได้มากขึ้น


- ระบบการเรียนรู้ เป็นระบบที่สามารถพัฒนาพฤติกรรมของระบบเองด้วย


2. Robotics = เป็น
งานที่พัฒนาบนพื้นฐานของวิศวกรรมศาสตร์
เป็นการพยายามสร้างหุ่นยนต์ให้มีความฉลาด ถูกควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์
เคลื่อนไหวได้เหมือนมนุษย์ มีทักษะในด้าน การมองเห็น,การสัมผัส,การหยิบจับสิ่งของ,การเคลื่อนไหว,
การนำทางเพื่อไปยังที่หมาย


3. Natural Interface = เป็น
งานหลักที่สำคัญที่สุดของปัญญาประดิษฐ์ เน้นการพัฒนาเพื่อให้คอมพิวเตอร์
และเครื่องจักรกลสื่อสารกับมนุษย์ได้รู้เรื่อง ประกอบด้วยงานด้านต่างๆ
ดังนี้


- ระบบที่มีความสามารถในการเข้าใจภาษามนุษย์


- ระบบภาพเสมือนจริง





ประโยชน์ของปัญญาประดิษฐ์


1. ข้อมูลของระบบจะถูกเก็บในลักษณะที่เป็นฐานข้อมูลขององค์การ พนักงานไปสืบหา
คำตอบคำปรึกษาได้ทุกเวลา


2. ระบบช่วยเพิ่มความสามารถให้กับฐานความรู้ขององค์การด้วยการเสนอวิธีแก้ปัญหาสำหรับงานเฉพาะด้าน


3. ระบบถูกนำมาช่วยทำงานในส่วนที่เป็นงานประจำของมนุษย์


4. ระบบช่วยสร้างกลไกที่ไม่นำความรู้สึกของมนุษย์ เช่น ความลำเอียง,ความเบื่อหน่าย,ความกังวล
มาเป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจ





ระบบผู้เชี่ยวชาญ


เป็น
ระบบที่ช่วยในการแก้ไขปัญหาโดยจะเกี่ยวกับการจัดการความรู้มากกว่าสารสนเทศ
ทั่วไป
ระบบนี้จัดเป็นงานทางด้านปัญญาประดิษฐ์ที่มีการปฏิบัติและติดตั้งใช้งานมาก
ที่สุด ระบบจะมีการโต้ตอบกับผู้ใช้ ให้ข้อแนะนำช่วยเหลือ
ระบบนี้เป็นการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญมาไว้ในคอมพิวเตอร์


องค์ประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญ ประกอบด้วย2 องค์ประกอบหลักๆดังนี้


1. ฐานความรู้ ความรู้ในส่วนนี้จะรวมถึง ข้อเท็จจริงที่เป็นความรู้ทั้งหมด กฎของผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการตัดสินใจ


2. โปรแกรมของระบบผู้เชี่ยวชาญ แบ่งเป็น 2 ส่วนที่สำคัญ คือ ส่วนที่ใช้ในการประมวลผลความรู้ และส่วนที่ใช้
ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้





ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ


1. ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญด้านหนึ่งด้านใดโดยเฉพาะไว้ สามารถนำความรู้มาใช้
เมื่อผู้เชี่ยวชาญออกจากองค์การไปแล้ว


2. ช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้ผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆกัน


3. เพิ่มประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลให้กับผู้ใช้ระบบในการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก


4. ช่วยในการตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงไม่ขัดแย้งกัน


5. ระบบนี้ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง


ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System)


กระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กำหนดข้อมูล และสารสนเทศ
ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในแผนที่ GIS เป็นระบบข้อมูลข่าวสารที่เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์
แต่สามารถแปลความหมายเชื่อมโยงกับสภาพภูมิศาสตร์อื่นๆ สภาพท้องที่ สภาพการทำงานของระบบสัมพันธ์
กับสัดส่วนระยะทางและพื้นที่จริงบนแผนที่ ข้อมูลที่เก็บในGIS ลักษณะเป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ ที่แสดงในรูปของภาพ
แผนที่ที่เชื่อมโยงกับข้อมูลเชิงบรรยาย หรือฐานข้อมูล
http:ball0530.exteen.com/20090211/entry-3




โดย: สุจิตรา มหาฤทธิ์ 51040305111 ภาษาอังกฤษธุรกิจ หมู่ 01 จันทร์บ่าย IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:18:50 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ปัญญาประดิษฐ์ คือ ศาสตร์แขนงหนึ่งทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีพื้นฐานมาจากวิชา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ ชีววิทยา จิตวิทยา ภาษาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์

ลักษณะของงานปัญญาประดิษฐ์ แยกออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้

1. Cognitive Science = งานด้านนี้เน้นศึกษาว่าสมองมนุษย์ทำงานอย่างไร มนุษย์คิดและเรียนรู้อย่างไร


ประกอบด้วยระบบต่างๆ ดังต่อไปนี้


- ระบบผู้เชี่ยวชาญ หรือ ระบบงานความรู้


- ระบบเครือข่ายนิวรอน ถูกออกแบบให้เลียนแบบการทำงานของสมองมนุษย์ ระบบนี้ในปัจจุบันถูกนำมา
ใช้เป็นเครื่องมือในการให้คำแนะนำเพื่อให้มนุษย์เป็ผู้ตัดสินใจในที่สุด


- ระบบแบ๊บเน็ต ระบบนี้พัฒนาขึ้นเพื่อลดค่าใช้จ่ายในด้านของนักเซลล์วิทยาลดลง วิธีนี้สะดวกในการ
ตรวจสอบมะเร็งปากมดลูก เพราะทำให้นักเซลล์วิทยาสามารถใช้เวลากับแต่ละรายการ หรือตรวจได้มากขึ้น


- ระบบการเรียนรู้ เป็นระบบที่สามารถพัฒนาพฤติกรรมของระบบเองด้วย


2. Robotics = เป็น
งานที่พัฒนาบนพื้นฐานของวิศวกรรมศาสตร์
เป็นการพยายามสร้างหุ่นยนต์ให้มีความฉลาด ถูกควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์
เคลื่อนไหวได้เหมือนมนุษย์ มีทักษะในด้าน การมองเห็น,การสัมผัส,การหยิบจับสิ่งของ,การเคลื่อนไหว,
การนำทางเพื่อไปยังที่หมาย


3. Natural Interface = เป็น
งานหลักที่สำคัญที่สุดของปัญญาประดิษฐ์ เน้นการพัฒนาเพื่อให้คอมพิวเตอร์
และเครื่องจักรกลสื่อสารกับมนุษย์ได้รู้เรื่อง ประกอบด้วยงานด้านต่างๆ
ดังนี้


- ระบบที่มีความสามารถในการเข้าใจภาษามนุษย์


- ระบบภาพเสมือนจริง





ประโยชน์ของปัญญาประดิษฐ์


1. ข้อมูลของระบบจะถูกเก็บในลักษณะที่เป็นฐานข้อมูลขององค์การ พนักงานไปสืบหา
คำตอบคำปรึกษาได้ทุกเวลา


2. ระบบช่วยเพิ่มความสามารถให้กับฐานความรู้ขององค์การด้วยการเสนอวิธีแก้ปัญหาสำหรับงานเฉพาะด้าน


3. ระบบถูกนำมาช่วยทำงานในส่วนที่เป็นงานประจำของมนุษย์


4. ระบบช่วยสร้างกลไกที่ไม่นำความรู้สึกของมนุษย์ เช่น ความลำเอียง,ความเบื่อหน่าย,ความกังวล
มาเป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจ





ระบบผู้เชี่ยวชาญ


เป็น
ระบบที่ช่วยในการแก้ไขปัญหาโดยจะเกี่ยวกับการจัดการความรู้มากกว่าสารสนเทศ
ทั่วไป
ระบบนี้จัดเป็นงานทางด้านปัญญาประดิษฐ์ที่มีการปฏิบัติและติดตั้งใช้งานมาก
ที่สุด ระบบจะมีการโต้ตอบกับผู้ใช้ ให้ข้อแนะนำช่วยเหลือ
ระบบนี้เป็นการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญมาไว้ในคอมพิวเตอร์


องค์ประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญ ประกอบด้วย2 องค์ประกอบหลักๆดังนี้


1. ฐานความรู้ ความรู้ในส่วนนี้จะรวมถึง ข้อเท็จจริงที่เป็นความรู้ทั้งหมด กฎของผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการตัดสินใจ


2. โปรแกรมของระบบผู้เชี่ยวชาญ แบ่งเป็น 2 ส่วนที่สำคัญ คือ ส่วนที่ใช้ในการประมวลผลความรู้ และส่วนที่ใช้
ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้





ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ


1. ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญด้านหนึ่งด้านใดโดยเฉพาะไว้ สามารถนำความรู้มาใช้
เมื่อผู้เชี่ยวชาญออกจากองค์การไปแล้ว


2. ช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้ผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆกัน


3. เพิ่มประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลให้กับผู้ใช้ระบบในการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก


4. ช่วยในการตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงไม่ขัดแย้งกัน


5. ระบบนี้ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง


ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System)


กระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กำหนดข้อมูล และสารสนเทศ
ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในแผนที่ GIS เป็นระบบข้อมูลข่าวสารที่เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์
แต่สามารถแปลความหมายเชื่อมโยงกับสภาพภูมิศาสตร์อื่นๆ สภาพท้องที่ สภาพการทำงานของระบบสัมพันธ์
กับสัดส่วนระยะทางและพื้นที่จริงบนแผนที่ ข้อมูลที่เก็บในGIS ลักษณะเป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ ที่แสดงในรูปของภาพ
แผนที่ที่เชื่อมโยงกับข้อมูลเชิงบรรยาย หรือฐานข้อมูล
http:ball0530.exteen.com/20090211/entry-3




โดย: สุจิตรา มหาฤทธิ์ 51040305111 ภาษาอังกฤษธุรกิจ หมู่ 01 จันทร์บ่าย IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:29:58 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems-ES)
ES ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาแก้ผู้ใช้ในการให้คำแนะนำที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ ในบางสาขา ES เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูลและกฎเกณฑ์ของความรู้ ซึ่งรวบรวมมาจากสาขาวิชาที่ต้องการความเชี่ยวชาญไว้ในฐานความรู้ (knowledge base) และโปรแกรมจะดำเนินการเมื่อมีการป้อนข้อมูลโดยผู้ใช้ ในลักษณะการถามตอบและประมวลผล คำตอบจากที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไปเพื่อหาข้อสรุปหรือคำแนะนำที่ต้องการ
ES เป็นสาขาหนึ่งของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence-AI) ซึ่งศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ การพัฒนา ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการเลียนแบบการเรียนรู้และพฤติกรรมการให้เหตุผลของมนุษย์

ES
1) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญแก่ผู้ใช้โดยทั่วไป เช่น การให้คำแนะนำสำหรับคนที่ได้รับพิษทางปากว่าควรจะปฏิบัติตัวอย่างไร
2) การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เชี่ยวชาญ ในการศึกษาสถานการณ์ โดยการรวบรวมสารสนเทศ การสังเกตหรือประเมินสถานการณ์ รวมทั้งการแนะนำในการจัดการ การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เชี่ยวชาญนี้เป็นการตรวจสอบซ้ำ (double check) ว่าข้อมูลที่สำคัญ ไม่ได้ถูกละเลยไปในการพิจารณาปัญหาต่าง ๆ เช่น หมอใช้ ES เพื่อวินิจฉัยว่าคนไข้ป่วย ด้วยโรคหัวใจ หรือเป็นเพราะปัญหา Cardiac malfunction
3) ทดแทนผู้เชี่ยวชาญ โดยการใช้ฐานความรู้และความสามารถในการวิเคราะห์เพื่อประเมินสถานการณ์ในกรณีที่ไม่สามารถหาผู้เชี่ยวชาญได้ เช่น ผู้ช่วยหมอใช้ ES ในการตรวจสอบผลการตรวจคลื่นหัวใจ (electro-cardigram printout) เพื่อดูว่าหัวใจของคนไข้ทำงานปกติหรือไม่

ตัวอย่างของ ES ที่นำไปใช้ในงานด้านต่างๆ
1) ด้านการแพทย์ : การให้คำแนะนำแก่หมอในการสั่งยาปฏิชีวนะให้คนไข้ซึ่งต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ หลายประการ เช่น ประวัติการเจ็บป่วยของคนไข้ แหล่งติดเชื้อ ราคาของยา
2) ด้านการผลิต : การให้คำแนะนำแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชิ้นส่วนเครื่องบิน
3) ด้านธรณีวิทยา : ให้คำแนะนำแก่นักธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน้ำมัน เพื่อพิจารณาในการขุดเจาะน้ำมัน
4) ด้านกระบวนการผลิต : ให้คำแนะนำในการกำหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต (Expert Systems Scheduling) ซึ่งทำให้บริษัทสามารถปรับตารางเวลาการการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรือเงื่อนไขของโรงงานที่เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วดังที่บริษัท General Motors ได้นำมาใช้
5) ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตรเครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการทำงานตั้งแต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การอนุมัติเครดิต การรวมบัญชีที่ค้างชำระเกินกำหนด ES ที่ใช้ระบบนี้เรียกว่า Authorization Assistant และทำให้บริษัทประหยัดเงินได้หลายล้านดอลล่าร์ในแต่ละปี (Haag et al.,2000)
6) ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ : การออกแบบ ES มาสำหรับช่วยบริษัทที่ทำธุรกิจต่างประเทศในการทำสัญญากับประเทศต่างๆ และใช้เป็นเครื่องมืออบรมพนักงานให้มีความรู้และทักษะในความซับซ้อนของการค้าระหว่างประเทศมากขึ้น (Haag et al.,2000)
7) ด้านการค้าระหว่างประเทศ : บริษัทที่ติดต่อกับกลุ่มประเทศ NAFTA ต้องเผชิญปัญหากับภาษีและกฎระเบียบที่สลับซับซ้อนสำหรับสินค้าต่างๆ ตลอดจน ความเข้มงวดในเรื่องพิธีศุลกากร และการกำหนดโทษของการฝ่าฝืนค่อนข้างรุนแรง ดังนั้น ความเสี่ยงในการทำการค้ากลุ่มประเทศดังกล่าวจึงค่อนข้างสูง บริษัทต่างๆ จึงได้อาศัย ES สำเร็จรูปที่ชื่อว่า “Origin” เป็นเครื่องมือช่วยในการให้คำแนะนำในเรื่องกฎระเบียบต่างๆ


องค์ประกอบของ ES
องค์ประกอบที่สำคัญของ ES ได้แก่ (Stairs & Reynolds, 1999)
1) ฐานความรู้ (Knowledge base) ซึ่งเก็บรวบรวมกฎเกณฑ์ต่างๆ (rules) ที่เกี่ยวข้องกับความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน กฎเกณฑ์นี้จะช่วยให้ ES สามารถให้ข้อสรุปในเรื่องที่เกี่ยวข้องแก่ผู้ใช้
2) โปรแกรมที่จะนำฐานความรู้ไปใช้เพื่อพิจารณาเสนอแนะแก้ปัญหาหรือโครงสร้างการตัดสินใจ (Inference engine) โดย Inference engine จะทำหน้าที่ในการจัดระบบและควบคุมกฎเกณฑ์ โดยจะให้เหตุผลต่างๆ เพื่อจะนำไปสู่ข้อสรุปหรือ ข้อเสนอแนะแก่ผู้ใช้
3) อุปกรณ์ช่วยในการอธิบาย (Explanation facility) อุปกรณ์ช่วยในการอธิบายช่วยทำให้ผู้ใช้เข้าใจกฎเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจ
4) อุปกรณ์ในการหาความรู้ (Knowledge acquisition facility) เป็นอุปกรณ์ในการรวบรวมและเก็บความรู้ที่สะดวกและมีประสิทธิภาพ
5) การเชื่อมโยงกับผู้ใช้ (User interface) เป็นการทำให้การพัฒนาและการใช้ ES ทำได้ง่ายขึ้น ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ซึ่งผู้ใช้สามารถนำไปช่วยในการสร้าง ES โดยใช้รูปภาพที่ผู้ใช้ต้องการ (เช่น จะใช้เมนูฟอร์ม)

ข้อจำกัดของ ES
ES มีข้อจำกัดดังนี้ (Haag et al.,2000)
1) การนำความรู้ความเชี่ยวชาญมาใช้ใน ES ในบางครั้งอาจทำได้ยากเนื่องจากผู้เชี่ยวชาญอาจจะไม่สามารถอธิบายได้ว่าตนเองรู้อะไรบ้าง และบางครั้งก็ไม่สามารถอธิบายเหตุผลของความรู้ได้อย่างชัดเจน
2) แม้ว่าผู้เชี่ยวชาญจะสามารถอธิบายองค์ความรู้และกระบวนการการให้เหตุผลอย่างชัดเจน แต่กระบวนการในการสร้างกฎเกณฑ์อาจจะสลับซับซ้อนมากเกินไป จนไม่สามารถเสนอแนะคำตอบได้อย่างแน่ชัด
3) การใช้ ES จะใช้แก้ปัญหาที่ได้รับการออกแบบและใส่ข้อมูลในโปรแกรมแล้วเท่านั้น ดังนั้น ES จึงไม่สามารถจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ นอกจากนี้ ES ไม่สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านมาและไม่สามารถใช้ความเชี่ยวชาญที่มีอยู่เพื่อจัดการกับปัญหาใหม่ๆ แบบที่มนุษย์ทำได้
4) ES ไม่มีวิจารณญาณในการเสนอแนะ ดังนั้นในบางกรณีอาจจะนำไปสู่อันตรายได้

ลักษณะความแตกต่างระหว่าง DSS และ ES
ผู้ใช้ DSS จะต้องมีความรู้ หรือความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ที่ตนเองเผชิญอยู่และต้องจัดการกับสถานการณ์นั้น แม้ว่า DSS จะช่วยสนับสนุนในการตัดสินใจแต่ผู้ใช้ต้องทราบว่าควรจะตั้งคำถามอย่างไร เพื่อจะได้คำตอบในการช่วยการตัดสินใจ และจะหาคำตอบได้อย่างไร รวมทั้งจะต้องดำเนินการต่ออย่างไร ส่วนระบบ ES ผู้ใช้เพียงแต่ให้ข้อเท็จจริงหรืออาการของปัญหาที่ต้องการคำตอบ ส่วนความรู้และความเชี่ยวชาญที่จะช่วยในการแก้ปัญหาจะมาจากระบบ ES


//elearning.northcm.ac.th/mis/content.asp?ContentID=76&LessonID=11


โดย: น.ส ผกาพรรณ หงษ์ทอง หมู่ 1 จันทร์-บ่าย IP: 124.157.146.209 วันที่: 3 สิงหาคม 2552 เวลา:16:13:47 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบสารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการสารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดยผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่าฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุดด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบ ES หรือระบบผู้เชี่ยวชาญ
จัดเป็นระบบสารสนเทศประเภทหนึ่งที่นำวิทยาการของปัญหาประดิษฐ์เข้ามาใช้จัดการสารสนเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารสนเทศที่เป็น องค์ความรู้ (knowledge) ในเฉพาะสาขาหรือเฉพาะด้าน ดังนั้นระบบผู้เชี่ยวชาญจึงเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สร้างฐานความรู้ (knowledge base) และ กลไกในการตั้งคำถาม และหาคำตอบ (จาก knowledge base) ทำให้ผู้ใช้ได้รับความสะดวกในการถามและตอบสิ่งที่ถามเสมือนหนึ่งคุยกับผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ ทั้งนี้ระบบผู้เชี่ยวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือเฉพาะด้านที่ขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น เช่น ใช้ในงานเกี่ยวกับการวินิจฉัยทางการแพทย์ การขุดเจาะน้ำมัน การวางแผนการเงิน การจัดทำภาษี การวิเคราะห์ทางเคมี การผ่าตัด การซ่อมเครื่องยนต์ การพยากรณ์อากาศ การซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ การส่งสัญญาณดาวเทียม ปฏิบัติการเกี่ยวกับอาวุธนิวเคลียร์ การวางรูปแบบหนังสือพิมพ์ การตีความกฎหมาย เป็นต้น อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าระบบผู้เชี่ยวชาญ จะได้รับการพัฒนา ให้ใช้งานได้สะดวก และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น แต่ระบบสารสนเทศประเภทนี้ก็ไม่สามารถมาแทนที่มนุษย์ได้

วัตถุประสงค์หลักของระบบผู้เชี่ยวชาญ
การช่วยในการตัดสินใจ การให้ความรู้ คำแนะนำ หรือคำปรึกษา อย่างที่เราต้องการจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ระบบผู้เชี่ยวชาญ (EXPERT SYSTEM AND ARTIFICIAL INTELLIGENCE)
ประโยชน์
- ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
- ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
- การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
- ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่า งแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
- ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น

ที่มา:
www.thaigoodview.com/library/.../pichai.../it_type_es.htm




โดย: นางสาวสุภาพร รัตนา 50240210102 วท.บ.สาธารณสุขศาสตร์ (เรียน พฤ-ค่ำ เวลา 17.00-21.00 น. ) IP: 114.128.22.96 วันที่: 5 สิงหาคม 2552 เวลา:12:55:47 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1.ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472



โดย: นาย สุระทิน ใจใส หมู่ 15 รหัส 52041151202 ศุกร์เช้า IP: 58.137.131.62 วันที่: 5 สิงหาคม 2552 เวลา:18:28:52 น.  

 
1.ตอบ ประโยชน์ของ ES
ปัจจุบันการพัฒนา ES ในแต่ละสาขามีวัตถุประสงค์ที่จะใช้งานตามหน้าที่เป็นสำคัญ แต่หลังจากการนำ ES มาใช้งานเราสามารถ สรุปประโยชน์ที่ธุรกิจจะได้รับจาก ES ดังต่อไปนี้
1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
2. ES จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบ สนอง ต่อปัญญาในทันทีที่เกิดความต้องการ
3. การออกแบบ ES มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญอย่างมีประสิทธิภาพ
4. ES จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอน เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์ เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
5. ES เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modem Organization )ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น


หลักการทำงานของES

การพัฒนา ES จะมีขั้นตอนการดำเนินงานใกล้เคียงกับการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ แต่ ES จะถูกพัฒนาขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ให้ทำหน้าที่ มากกว่าการ วิเคราะห์ การประมวลผลและการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์เท่านั้น การพัฒนา ES เป็นกระบวนการต่อเนื่องที่มีความละเอียดอ่อนและซับซ้อน ซึ่ง ผู้พัฒนาระบบต้องใช้ความรู้ ทักษะ ความสามารถ ความเข้าใจ และประสบการณ์อย่างสูง เราสามารถแบ่งกระบวนการพัฒนา ES ออกเป็น 5 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
1. การวิเคราะห์ปัญหา ผู้พัฒนาระบบความฉลาดจะดำเนินการพิจารณาถึงความต้องการความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของการนำระบบไปใช้งานในสถานการณ์
ES มิใช่ระบบสารสนเทศที่สามารถนำมาไข้แก้ปัญหาได้ทุกประเภท โดย ES จะถูกพัฒนาให้เหมาะสมกับปัญหาเฉพาะรูปแบบใดแบบหนึ่ง แต่ไม่สามารถนำไปใช้งานกับปัญหาในลักษณะอื่น นอกจากนี้ ES ยังมีความเหมาะสมกับปัญหาซึ่งมีคุณสมบัติเฉพาะ ซึ่งมีผู้ให้คำแนะนำว่า ES มีความเหมาะสมกับปัญหา ในลักษณะ ต่อไปนี้
1.1 ปัญหาที่มีโครงสร้างน้อยหรือไม่มีโครงสร้าง ซึ่งไม่สามารถวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยสูตรสำเร็จทางคณิตศาสตร์
1.2 เหมาะสำหรับการวิเคราะห์หรือวิจัยโดยวิธีการอนุมาน
1.3 การวิเคราะห์ปัญหาจะมีความสัมพันธ์กับความไม่แน่นอน หรือลักษณะ " Heuristic "
1.4 สามารถแก้ปัญหาภายใต้กำหนดของความรู้หรือตรรกะที่มีภายในระยะเวลาที่แน่นอน
1.5 ระบบถูกพัฒนาให้แก้ปัญหาที่มีโครงสร้างแบบ " ถ้า….แล้ว….( If…then… ) "
2. การเลือกอุปกรณ์ ผู้พัฒนาระบบต้องพิจารณาเลือกอุปกรณ์ที่ใช้เป็นส่วนประกอบของ ES ซึ่งแต่ละส่วนจะมีความต้องการอุปกรณ์ที่มีความเหมาะสมแตกต่างกัน โดยพิจารณาความเหมาะสม ของส่วนประกอบที่สำคัญดังต่อไปนี้
2.1 การแสดงความรู้ นอกจากความเข้าใจในความหมายและประเภทความรู้แล้ว การแสดงความรู้เป็นเรื่องสำคัญในการพัฒนาความฉลาด เครื่องแสดงความรู้จะถูก ออกแบบ ให้การแสดวความรู้นั้นง่ายและครบถ้วนตามลักษณะของงาน โดยที่การแสดงความรู้ที่มีประสิทธิภาพสมควรต้องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้
1. โครงสร้าง ( Structure ) มีโครงสร้างที่เหมาะสมสามารถแสดงความรู้ที่เกี่ยวข้องทั้งความรู้ในลักษณะที่มีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง โดยจัดเรียงความสัมพันธ์อย่างสอดคล้องง่ายต่อการทำความเข้าใจ และใช้งาน
2. เป็นสัดส่วน ( Modularity ) ระบบแสดงความรู้สึกที่ดีต้องจัดกลุ่มความรู้เป็นหมวดหมู่ โดยความรู้สามารถแยกออกเป็นส่วน (Module) หรือ มีความเป็นส่วนย่อย เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นและสะดวกในการนำไปใช้งาน การแก้ไข หรือเพิ่มเติมข้อมูลในฐานความรู้
3. สะดวก ( Convenience ) ระบบแสดงความรู้สึกที่มีประสิทธิภาพต้องสะดวกต่อการจัดการและการควบคุม เพื่อลดปัญหาความผิดพลาด ความซ้ำซ้อน และความขัด แย้งกันของข้อมูล
4. เข้าใจง่าย ( Easy to Understand ) การแสดงความรู้สึกต้องจัดอยู่ในรูปแบบที่ ผู้ใช้สามารถเข้าใจง่าย ทำให้ผู้ใช้สนใจที่จะใช้งาน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความชำชาญ และก่อให้เกิดการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ
5. เหมาะสม ( Appropriate ) การจัดเรียงความรู้ต้องสอดคล้องกันกระบวนการอนุมานและลักษณะของการใช้งาน เพื่อให้สามารถดำเนินการอย่างถูกต้องตามกฎเกณฑ์ตรรกะและมีประสิทธิภาพ
2.2 เครื่องอนุมาน ผู้พัฒนาระบบความฉลาดต้องคำนึงถึงวิธีการอนุมาน การค้าหาและตรวจ-สอบกฎข้อที่เหมาะสม การคำนวณคณิตศาสตร์ การประมวลผลทางตรรกะ และ การเชื่อมโยงกับชุดคำสั่งอื่นอย่างสะดวกและเหมาะสม เพื่อที่จะนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เข้ามาในระบบ
2.3 การติดต่อกับผู้ใช้ ES ที่ถูกพัฒนาอย่างรอบคอบจะมีที่ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสารกับระบบได้ง่าย ระบบมีการโต้ตอบและแสดงผลที่ชัดเจนและง่ายต่อการเข้าใจและการใช้งาน ดังนั้นผู้พัฒนาระบบต้องพิจารณาในเรื่องของวิธีการโต้ตอบระหว่างระบบกับผู้ใช้ การเก็บรวบรวมความรู้ และการแสดงผลโดยรูปภาพ ( Graphic )
2.4 ชุดคำสั่ง ลักษณะของชุดคำสั่งจะบ่งชี้ธรรมชาติและคุณสมบัติของ ES ว่ามีข้อดีหรือข้อจำกัดอย่างไร สิ่งสำคัญที่ผู้พัฒนาระบบต้องพิจารณาสำหรับการสร้างชุดคำสั่งคือ ภาษาคอมพิวเตอร์ ( Computer Language ) ซึ่งถูกสร้างขึ้นให้มีความเหมาะสมกับงานต่างกัน โดยภาษาคอมพิวเตอร์ที่นิยมนำมาใช้ในการพัฒนาระบบความฉลาด ได้แก่ โปรลอก ( PROLOG) และลิปส์ ( LIPS)
ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาระบบกึ่งสำเร็จรูปสำหรับการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญที่เรียกว่า Expert System Shell ซึ่งเป็นระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อไว้สำหรับสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญในด้าน ต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น
2.5 การธำรงรักษาและการพัฒนาระบบ ผู้พัฒนาระบบต้องคำนึงถึงการธำรงรักษาและการปรับปรุงให้ระบบมีประสิทธิภาพสูงขึ้นในอนาคต โดยคำนึงถึงปัจจัยต่อไปนี้ ความ สามารถในการติดต่อกับ ผู้พัฒนาระบบ วิธีการสร้างและพัฒนาฐานความรู้ เครื่องที่ช่วยในการแก้ไขฐานความรู้ความสามารถในการสร้างส่วนควบคุมการอนุมาน และสร้างส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้
3. การถอดความรู้ การถอดความรู้เป็นกระบวนการสำคัญในการพัฒนา ES ซึ่งเราสามารถกล่าวว่าเป็น " หัวใจของการพัฒนาระบบความฉลาด " โดยที่ผู้พัฒนาระบบต้องทำการสังเกตศึกษา และทำความเข้าใจกับความรู้ที่จะนำมาพัฒนาเป็น ES จากแหล่งอ้างอิงหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้น เพื่อการกำหนดขอบเขตที่เหมาะสมของระบบ โดยที่เราเรียกกระบวนการนี้เรียกว่า " วิศวกรรมความรู้ ( Knowledge Engineering )" ซึ่งอาศัย " วิศวกรความรู้ ( Knowledge Engineer ) " ซึ่งมีความแตกต่างจาก " นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst and Designer ) " อยู่พอสมควร เนื่องจากวิศวกรความรู้จะใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลของการวิเคราะห์และตัดสินใจในปัญหาทั้งจากเอกสารและผู้เชี่ยวชาญ
4. การสร้างต้นแบบ ผู้พัฒนา ES จะนำเอาส่วนประกอบต่าง ๆ ที่กล่าวมา ประกอบการสร้างต้นแบบ ของ ES โดยผู้พัฒนาระบบจะเริ่ม ต้นจากการ นำแนวความ คิดทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับระบบ ที่ต้องการพัฒนามาจัดเรียงลำดับ โดยเริ่มจากเป้าหมาย หรือคำตอบของการประมวลผล การไหลเวียนทางตรรกะของปัญญา ขั้น แสดงความรู้ การจัดลำดับของขั้นตอนที่จำเป็น พร้อมทั้งการ ทดสอบการทำงานของต้นแบบที่สร้างขึ้นว่าสามารถทำงานได้ตามที่วางแผนไว้หรือไม่
5. การขยาย การทดสอบ และบำรุงรักษา หลังจากที่ต้นแบบได้ถูกสร้างขึ้นและสามารถผ่านการทดสอบการทำงานแล้ว เพื่อที่จะให้ระบบสามารถนำไปใช้ในสภาวการณ์จริงได้ ก็จะต้องทำการขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นจากต้นแบบ โดยเฉพาะส่วนที่เป็นฐานความรู้ เป็นส่วนที่ใช้อธิบายส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้ และตกแต่งหน้าจอให้มีความเหมาะสมในการใช้งานมาก


//www.tru.ac.th/it/duangthip/M%20I%20S/u7.doc




โดย: 52040281122 นางสาวณัฐติยา โกศิลา (หมู่08 วันพฤหัสเช้า) สาขาชีววิทยา (จุลชีววิทยา) IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 6 สิงหาคม 2552 เวลา:11:00:51 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน


[แก้] ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่า งแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น
//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9


โดย: นายนารายณ์ แก้วภักดี ม.15 ศ เช้า IP: 124.157.129.16 วันที่: 10 สิงหาคม 2552 เวลา:17:38:22 น.  

 
ตรวจแล้ว (ครั้งที่ 1)


โดย: อ.น้ำผึ้ง (neaup ) วันที่: 13 สิงหาคม 2552 เวลา:15:18:45 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวอย่างของ ES ที่นำไปใช้ในงานด้านต่างๆ
1) ด้านการแพทย์ : การให้คำแนะนำแก่หมอในการสั่งยาปฏิชีวนะให้คนไข้ซึ่งต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ หลายประการ เช่น ประวัติการเจ็บป่วยของคนไข้ แหล่งติดเชื้อ ราคาของยา
2) ด้านการผลิต : การให้คำแนะนำแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชิ้นส่วนเครื่องบิน
3) ด้านธรณีวิทยา : ให้คำแนะนำแก่นักธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน้ำมัน เพื่อพิจารณาในการขุดเจาะน้ำมัน
4) ด้านกระบวนการผลิต : ให้คำแนะนำในการกำหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต (Expert Systems Scheduling) ซึ่งทำให้บริษัทสามารถปรับตารางเวลาการการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรือเงื่อนไขของโรงงานที่เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วดังที่บริษัท General Motors ได้นำมาใช้
5) ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตรเครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการทำงานตั้งแต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การอนุมัติเครดิต การรวมบัญชีที่ค้างชำระเกินกำหนด ES ที่ใช้ระบบนี้เรียกว่า Authorization Assistant และทำให้บริษัทประหยัดเงินได้หลายล้านดอลล่าร์ในแต่ละปี (Haag et al.,2000)
6) ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ : การออกแบบ ES มาสำหรับช่วยบริษัทที่ทำธุรกิจต่างประเทศในการทำสัญญากับประเทศต่างๆ และใช้เป็นเครื่องมืออบรมพนักงานให้มีความรู้และทักษะในความซับซ้อนของการค้าระหว่างประเทศมากขึ้น (Haag et al.,2000)
7) ด้านการค้าระหว่างประเทศ : บริษัทที่ติดต่อกับกลุ่มประเทศ NAFTA ต้องเผชิญปัญหากับภาษีและกฎระเบียบที่สลับซับซ้อนสำหรับสินค้าต่างๆ ตลอดจน ความเข้มงวดในเรื่องพิธีศุลกากร และการกำหนดโทษของการฝ่าฝืนค่อนข้างรุนแรง ดังนั้น ความเสี่ยงในการทำการค้ากลุ่มประเทศดังกล่าวจึงค่อนข้างสูง บริษัทต่างๆ จึงได้อาศัย ES สำเร็จรูปที่ชื่อว่า “Origin” เป็นเครื่องมือช่วยในการให้คำแนะนำในเรื่องกฎระเบียบต่างๆ

ที่มา //202.28.94.55/web/322161/2551/001/g29/IT10.html




โดย: นางสาวชลดา บุญรุ่ง (หมู่8 พฤหัส เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 15 สิงหาคม 2552 เวลา:14:18:47 น.  

 
1.ตอบ
มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ลักษณะของงานปัญญาประดิษฐ์ แยกออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้

1. Cognitive Science = งานด้านนี้เน้นศึกษาว่าสมองมนุษย์ทำงานอย่างไร มนุษย์คิดและเรียนรู้อย่างไร

ประกอบด้วยระบบต่างๆ ดังต่อไปนี้

- ระบบผู้เชี่ยวชาญ หรือ ระบบงานความรู้

- ระบบเครือข่ายนิวรอน ถูกออกแบบให้เลียนแบบการทำงานของสมองมนุษย์ ระบบนี้ในปัจจุบันถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการให้คำแนะนำเพื่อให้มนุษย์เป็ผู้ตัดสินใจในที่สุด

- ระบบแบ๊บเน็ต ระบบนี้พัฒนาขึ้นเพื่อลดค่าใช้จ่ายในด้านของนักเซลล์วิทยาลดลง วิธีนี้สะดวกในการตรวจสอบมะเร็งปากมดลูก เพราะทำให้นักเซลล์วิทยาสามารถใช้เวลากับแต่ละรายการ หรือตรวจได้มากขึ้น

- ระบบการเรียนรู้ เป็นระบบที่สามารถพัฒนาพฤติกรรมของระบบเองด้วย

2. Robotics = เป็นงานที่พัฒนาบนพื้นฐานของวิศวกรรมศาสตร์ เป็นการพยายามสร้างหุ่นยนต์ให้มีความฉลาด ถูกควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ เคลื่อนไหวได้เหมือนมนุษย์ มีทักษะในด้าน การมองเห็น,การสัมผัส,การหยิบจับสิ่งของ,การเคลื่อนไหว,การนำทางเพื่อไปยังที่หมาย

3. Natural Interface = เป็นงานหลักที่สำคัญที่สุดของปัญญาประดิษฐ์ เน้นการพัฒนาเพื่อให้คอมพิวเตอร์ และเครื่องจักรกลสื่อสารกับมนุษย์ได้รู้เรื่อง ประกอบด้วยงานด้านต่างๆ ดังนี้

- ระบบที่มีความสามารถในการเข้าใจภาษามนุษย์

- ระบบภาพเสมือนจริง

ประโยชน์ของปัญญาประดิษฐ์

1. ข้อมูลของระบบจะถูกเก็บในลักษณะที่เป็นฐานข้อมูลขององค์การ พนักงานไปสืบหาคำตอบคำปรึกษาได้ทุกเวลา

2. ระบบช่วยเพิ่มความสามารถให้กับฐานความรู้ขององค์การด้วยการเสนอวิธีแก้ปัญหาสำหรับงานเฉพาะด้าน

3. ระบบถูกนำมาช่วยทำงานในส่วนที่เป็นงานประจำของมนุษย์

4. ระบบช่วยสร้างกลไกที่ไม่นำความรู้สึกของมนุษย์ เช่น ความลำเอียง,ความเบื่อหน่าย,ความกังวล มาเป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจ


ที่มา://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pichai_l/it01/it_type_es.htm



โดย: 52040281122 น.ส. ณัฐติยา โกสิลา สาขาชีววิทยา (จุลชีววิทยา) หมู่ 08 วันพฤหัสเช้า IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 16 สิงหาคม 2552 เวลา:14:08:54 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Artificial Intelligence / Expert System : AI/ES)
ระบบผู้เชี่ยวชาญ หมายถึง ระบบที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่งคล้ายกับมนุษย์ ระบบนี้ได้รับความรู้จากมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่งเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถวิเคราะห์เหตุผล เพื่อตัดสินใจ ความรู้ที่เก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์นี้ประกอบด้วย ฐานความรู้ (Knowledge Bass) และกฎข้อวินิจฉัย (Inference Rule) ซึ่งเป็นความสามารถเฉพาะที่ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถตัดสินใจได้เอง เช่น การวินิจฉัยความผิดพลาดของรถจักรดีเซลไฟฟ้าโดยใช้คอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของผู้เชี่ยวชาญ
1. ฐานความรู้ (Knowledge Base) เป็นส่วนของความรู้ของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด ซึ่งจะเก็บไว้ในฐานข้อมูลของระบบ
2. โปรแกรมของระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System Software หรือ Software Resources) แบ่งออกได้ 2 ส่วน
1) ส่วนที่ใช้ในการประมวลผลความรู้จากฐานความรู้
2) ส่วนที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้

ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ
1. ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านหนึ่งด้านใดโดยเฉพาะไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้และสามารถนำความรู้มาใช้งานได้ตลอดเวลา
2. ช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจ
3. สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ใช้ระบบในการตัดสินใจ
4. ช่วยให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
5. ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

ที่มา:
learners.in.th/blog/somchok-bcom2210/153610


โดย: 52040263105 ชื่อ น.ส. อรวรรณ ไชยยงค์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หมู๋22 (อังคารเช้า) IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 16 สิงหาคม 2552 เวลา:16:15:47 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชียวชาญหรือที่เรียกว่า ES เป็นแขนงหนึ่งของ AI ที่นิยมนำมาใช้ในทางธุรกิจเนื่องจาก ES จะถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่เลียนแบบผู้เชียวชาญเฉพาะด้านได้ เช่น การวินิจฉัยโรค การวิเคราะห์หลักทรัพย์ ระบบผู้เชียวชาญ หมายถึงระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกหาที่ลองเรียนแบบกระบวนการใช้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังต่อไปนี้
1. กระจายความรู้
2. ความไม่แน่นอน
3. เตรียมการสำหรับอนาคต

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ที่มีความสะดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์

1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน

2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ

3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น

5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น



ตัวอย่าง

มหาวิทยาลัยรังสิตพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม

ผศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กล่าวว่าได้ทำการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม เพื่อใช้ในการเตือนภัยแก่ชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดน้ำท่วม โครงการนี้เป็นโครงการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งได้เข้าแข่งขันในการประกวดนวัตกรรมของกองทุนนวัตกรรม ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เข้ารอบชิงชนะเลิศทั่วประเทศ ในเดือนตุลาคมนี้ และนับเป็นผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วมระบบแรกของประเทศไทย ที่ได้ทำการพัฒนาขึ้น โดยอาศัยศาสตร์ทางด้านโครงข่ายใยประสาทเทียมที่สามารถเรียนรู้ สภาพ เหตุการณ์น้ำท่วมในอดีตของแต่ละลุ่มน้ำได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ผลการทำนายจึงมีความแม่นยำสูงมาก ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้ประยุกต์ใช้ภาษา Java เป็นภาษาหลักในการเขียนโปรแกรม และทำงานในเครื่อง PC ธรรมดา ดังนั้น ผู้ใช้จะสามารถติดต่อสื่อสารกับระบบได้ง่าย โดยไม่ต้องมีความเข้าใจในรายละเอียดการทำงาน กล่าวคือ ระบบจะสร้างผู้ใช้ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ปัจจุบันได้นำไปประยุกต์ใช้กับลุ่มน้ำต่างๆ เช่น แม่น้ำยม บริเวณจังหวัดสุโขทัย แม่น้ำปราจีนบุรี บริเวณเขตอำเภอเมือง และคลองอู่ตระเภาในเขตเทศบาลหาดใหญ่ ผลการคำนวณจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำให้ทราบว่าเมื่อไร น้ำหลากจะมาถึงและมาด้วยความรุนแรงเท่าใด จึงทำให้สามารถลดความสูญเสียทั้งทางด้านชีวิตและทรัพย์สิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ



ที่มา

//learners.in.th/blog/yoklnw/262820



โดย: นางสาวคนึงนิจ ผิวบาง ม.22 IP: 124.157.148.178 วันที่: 17 สิงหาคม 2552 เวลา:19:36:18 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา

//www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pichai_l/it01/it_type_es.htm
การทำงานของระบบผู้เชี่ยวชาญ
การทำงานของระบบผู้เชี่ยวชาญ Knowledge Representation Methods
- IF - Then Rules (กฎ) คำสั่งแสดงเงื่อนไขจำนวนมากสามารถนำมาใช้เป็นกฎ (Rule) (มีจำนวน 200 ถึง 10,000 เงื่อนไข) กฎที่นำมาใช้ในโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ยังมีการเชื่อมโยง ระหว่างกันอย่างมาก เก็บความสัมพันธ์ไว้ (semiotic) Frames ตาราง ความรู้ที่เก็บแต่ละตาราง
- Knowledge Engineering วิศวกรความรู้ จัดเก็บความรู้อย่างเป็นหมวดหมู่ รู้ความลับต่างๆ ในแต่ละด้าน
- Expert System Shells เปลือกความรู้อะไรนั้น ๆ ก็ใส่เข้าไปหรือความรู้จากการเขียนโปรแกรม
- Foreword Chaining ค้นหาคำตอบได้ 2 วิธี เชื่อมต่อไปเรื่อยๆ (ได้คำตอบมา) Result - driven process
- Back word Chaining กลไกอ้างอิงย้อนกลับท้าวหลัง ตั้งสมมติฐานและถามผู้ใช้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง Goal - driven process ตั้งคำถามนำ (ได้คำตอบกลับมา) จนได้การยืนยัน เราต้องคิดว่าจะทำ ES ไหม ถ้าปัญหาเล็กน้อยก็ ไม่ควรจะทำ
- Factors Justifying the Acquisition of Expert Systems ปัญหาเล็กน้อย ไม่มีโครงสร้าง เกิดบ่อยไหม ต้องมี
ผู้เชี่ยวชาญที่จะให้ประสบการณ์
ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/115/2.html


โดย: นางสาว นงนุช นาเจริญ 52040258129 หมู่22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.182, 58.147.7.66 วันที่: 20 สิงหาคม 2552 เวลา:19:31:32 น.  

 
9.1ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่ มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472


โดย: นางสาว นฤมล หมู่หาญ 52040263122 หมู่22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.182, 58.147.7.66 วันที่: 20 สิงหาคม 2552 เวลา:19:40:40 น.  

 
9.1ระบบผู้เชี่ยวชาญ(Expert Systems) เป็นระบบที่ช่วยในการแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจ โดยจะเกี่ยวข้องกับการจัดความรู้ มากกว่าสารสนเทศทั่วไป และจะถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ เป็นการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญมาไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบผู้เชี่ยวชาญจัดเป็นงานทางด้านปัญญาประดิษฐ์ที่มีการปฏิบัติและติดตั้งใช้งานมากที่สุด ระบบจะทำการโต้ตอบกับผู้ใช้ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ แต่ระบบนี้จะมีความสามารถเฉพาะด้านต่อปัญหาเฉพาะทางที่ไม่สามารถแก้ไขดัดแปลงไปใช้แก้ปัญหาอื่นได้โดยง่าย



องค์ประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญ



ระบบผู้เชี่ยวชาญประกอบไปด้วย 2 องค์ประกอบหลัก ดังนี้

1. ฐานความรู้ (Knowledge Base) เป็นส่วนของความรู้ของผู้เชี่ยวชาญทั้งข้อเท็จจริงที่เป็นความรู้ทั้งหมดและกฎที่ผู้เชี่ยวชาญใช้ในการตัดสินใจ

2. โปรแกรมของระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System Software หรือ Software Resources) แบ่งเป็น 2ส่วน คือ ส่วนที่ใช้ในการประมวลผลความรู้จากฐานความรู้และส่วนที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้



ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ



1. ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านหนึ่งด้านใดโดยเฉพาะไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้และ

สามารถนำความรู้มาใช้งานได้ตลอดเวลา

2. ช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจ

3. สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ใช้ระบบในการตัดสินใจ

4. ช่วยให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน

5. ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

ที่มา//armka2518.exteen.com/20090218/entry
โดยน.สอภิญญา อุ้ยปะโค 52041278104ศ.เช้า ม.15


โดย: อภิญญา อุ้ยปะโค IP: 124.157.148.9 วันที่: 22 สิงหาคม 2552 เวลา:14:24:31 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวอย่างของ ES ที่นำไปใช้ในงานด้านต่างๆ
1) ด้านการแพทย์ : การให้คำแนะนำแก่หมอในการสั่งยาปฏิชีวนะให้คนไข้ซึ่งต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ หลายประการ เช่น ประวัติการเจ็บป่วยของคนไข้ แหล่งติดเชื้อ ราคาของยา
2) ด้านการผลิต : การให้คำแนะนำแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชิ้นส่วนเครื่องบิน
3) ด้านธรณีวิทยา : ให้คำแนะนำแก่นักธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน้ำมัน เพื่อพิจารณาในการขุดเจาะน้ำมัน
4) ด้านกระบวนการผลิต : ให้คำแนะนำในการกำหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต (Expert Systems Scheduling) ซึ่งทำให้บริษัทสามารถปรับตารางเวลาการการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรือเงื่อนไขของโรงงานที่เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วดังที่บริษัท General Motors ได้นำมาใช้
5) ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตรเครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการทำงานตั้งแต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การอนุมัติเครดิต การรวมบัญชีที่ค้างชำระเกินกำหนด ES ที่ใช้ระบบนี้เรียกว่า Authorization Assistant และทำให้บริษัทประหยัดเงินได้หลายล้านดอลล่าร์ในแต่ละปี (Haag et al.,2000)
6) ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ : การออกแบบ ES มาสำหรับช่วยบริษัทที่ทำธุรกิจต่างประเทศในการทำสัญญากับประเทศต่างๆ และใช้เป็นเครื่องมืออบรมพนักงานให้มีความรู้และทักษะในความซับซ้อนของการค้าระหว่างประเทศมากขึ้น (Haag et al.,2000)
7) ด้านการค้าระหว่างประเทศ : บริษัทที่ติดต่อกับกลุ่มประเทศ NAFTA ต้องเผชิญปัญหากับภาษีและกฎระเบียบที่สลับซับซ้อนสำหรับสินค้าต่างๆ ตลอดจน ความเข้มงวดในเรื่องพิธีศุลกากร และการกำหนดโทษของการฝ่าฝืนค่อนข้างรุนแรง ดังนั้น ความเสี่ยงในการทำการค้ากลุ่มประเทศดังกล่าวจึงค่อนข้างสูง บริษัทต่างๆ จึงได้อาศัย ES สำเร็จรูปที่ชื่อว่า “Origin” เป็นเครื่องมือช่วยในการให้คำแนะนำในเรื่องกฎระเบียบต่างๆ

ที่มา //202.28.94.55/web/322161/2551/001/g29/IT10.html


โดย: นางสาวสุจิตรา อินทสร้อย 52040258139 หมู่22 อังคารเช้า IP: 124.157.144.104 วันที่: 22 สิงหาคม 2552 เวลา:15:41:15 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)

ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้นๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริงๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้

-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องออกจากองค์กรหรือไม่อาจปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก


//science.rbru.ac.th/~bangkom/mies.htm





โดย: นางสาววินภา พินิจมนตรี รหัส 51241151116 รูปแบบพิเศษหมู่ 5 วันเสาร์บ่ายโมง IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:26:54 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น
ที่มา//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8D






โดย: นายอัศวิน บัวน้ำอ้อม 51241151118 รูปแบบพิเศษหมู่ 5 วันเสาร์บ่ายโมง IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:27:50 น.  

 
1.

ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชียวชาญหรือที่เรียกว่า ES เป็นแขนงหนึ่งของ AI ที่นิยมนำมาใช้ในทางธุรกิจเนื่องจาก ES จะถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่เลียนแบบผู้เชียวชาญเฉพาะด้านได้ เช่น การวินิจฉัยโรค การวิเคราะห์หลักทรัพย์ ระบบผู้เชียวชาญ หมายถึงระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกหาที่ลองเรียนแบบกระบวนการใช้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังต่อไปนี้
1. กระจายความรู้
2. ความไม่แน่นอน
3. เตรียมการสำหรับอนาคต

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ที่มีความสะดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์

1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน

2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ

3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น

5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น



ตัวอย่าง

มหาวิทยาลัยรังสิตพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม

ผศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กล่าวว่าได้ทำการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม เพื่อใช้ในการเตือนภัยแก่ชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดน้ำท่วม โครงการนี้เป็นโครงการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งได้เข้าแข่งขันในการประกวดนวัตกรรมของกองทุนนวัตกรรม ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เข้ารอบชิงชนะเลิศทั่วประเทศ ในเดือนตุลาคมนี้ และนับเป็นผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วมระบบแรกของประเทศไทย ที่ได้ทำการพัฒนาขึ้น โดยอาศัยศาสตร์ทางด้านโครงข่ายใยประสาทเทียมที่สามารถเรียนรู้ สภาพ เหตุการณ์น้ำท่วมในอดีตของแต่ละลุ่มน้ำได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ผลการทำนายจึงมีความแม่นยำสูงมาก ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้ประยุกต์ใช้ภาษา Java เป็นภาษาหลักในการเขียนโปรแกรม และทำงานในเครื่อง PC ธรรมดา ดังนั้น ผู้ใช้จะสามารถติดต่อสื่อสารกับระบบได้ง่าย โดยไม่ต้องมีความเข้าใจในรายละเอียดการทำงาน กล่าวคือ ระบบจะสร้างผู้ใช้ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ปัจจุบันได้นำไปประยุกต์ใช้กับลุ่มน้ำต่างๆ เช่น แม่น้ำยม บริเวณจังหวัดสุโขทัย แม่น้ำปราจีนบุรี บริเวณเขตอำเภอเมือง และคลองอู่ตระเภาในเขตเทศบาลหาดใหญ่ ผลการคำนวณจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำให้ทราบว่าเมื่อไร น้ำหลากจะมาถึงและมาด้วยความรุนแรงเท่าใด จึงทำให้สามารถลดความสูญเสียทั้งทางด้านชีวิตและทรัพย์สิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ



ที่มา

//learners.in.th/blog/yoklnw/262820


โดย: นาย ปิยะ ศรีกุลวงศ์ เสาร์บ่าย 51241151204 IP: 222.123.59.23 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:13:47:15 น.  

 

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)

ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้นๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริงๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้

-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องออกจากองค์กรหรือไม่อาจปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก


//science.rbru.ac.th/~bangkom/mies.htm


โดย: นางาสาว สมร นาแพงหมื่น เสาร์บ่าย 51241151220 IP: 222.123.59.23 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:13:59:21 น.  

 
9.1

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น เนื่องจากระบบนี้คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างต่างกว่าระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องการออกจากองค์กรหรืออาจไม่ปฏิบัติงานได้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทะผลให้กับผู้ตัดสินใจได้อย่างมาก
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตักสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่มีความขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
ระบบผูเชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนเป็นอย่างมาก

ที่มา //pirun.ku.ac.th/~b5055088/page5.html





โดย: นางาสาว สมร นาแพงหมื่น เสาร์บ่าย 51241151220 IP: 114.128.133.6 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:16:28:11 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ มีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหา หรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น ES จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (Knowledge) มากกว่า สารสนเทศถูกออกแบบมาให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่ เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการ
ทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
ระบบ ผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เป็นการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มา โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้ เป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม


โดย: นางฉวีวรรณ แสงเลิศ 51241151132 รูปแบบพิเศษ รปศ. เรียนเวลา บ่ายโมงวันเสาร์ IP: 117.47.14.74 วันที่: 1 กันยายน 2552 เวลา:19:39:27 น.  

 

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Artificial Intelligence / Expert System : AI/ES)
ระบบผู้เชี่ยวชาญ หมายถึง ระบบที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่งคล้ายกับมนุษย์ ระบบนี้ได้รับความรู้จากมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่งเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถวิเคราะห์เหตุผล เพื่อตัดสินใจ ความรู้ที่เก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์นี้ประกอบด้วย ฐานความรู้ (Knowledge Bass) และกฎข้อวินิจฉัย (Inference Rule) ซึ่งเป็นความสามารถเฉพาะที่ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถตัดสินใจได้เอง เช่น การวินิจฉัยความผิดพลาดของรถจักรดีเซลไฟฟ้าโดยใช้คอมพิวเตอร์ ระบบปัญญาประดิษฐ์


โดย: นางสาวลำไพ พูลเกษม (ศุกร์ เช้า หมู่เรียนที่ 15) IP: 1.1.1.40, 202.29.5.62 วันที่: 1 กันยายน 2552 เวลา:21:30:04 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)
ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่ มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472







โดย: นาย สุระทิน ใจใส หมู่ 15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151202 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 4 กันยายน 2552 เวลา:11:58:37 น.  

 
9.1ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่ มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472


โดย: นางสาวเกษร อัครฮาด รหัสนักศึกษา 52040003135 หมู่ 29 เรียนพุธเช้า IP: 125.26.172.40 วันที่: 7 กันยายน 2552 เวลา:20:33:12 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินได้ดีขึ้น ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดี่ยวกับผู้เชี่ยวชาญที่มนุษย์เป็น โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น เนื่องจากระบบนี้คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างต่างกว่าระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องการออกจากองค์กรหรืออาจไม่ปฏิบัติงานได้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทะผลให้กับผู้ตัดสินใจได้อย่างมาก
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตักสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่มีความขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
ระบบผูเชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนเป็นอย่างมาก

ที่มา : //cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm


โดย: นางสาวกฤติยา เหล่าผักสาร รหัสนักศึกษา 52040263134 หมู่ 22 อังคารเช้า คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 8 กันยายน 2552 เวลา:9:14:44 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ 9.1

ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินได้ดีขึ้น ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดี่ยวกับผู้เชี่ยวชาญที่มนุษย์เป็น โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น เนื่องจากระบบนี้คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างต่างกว่าระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องการออกจากองค์กรหรืออาจไม่ปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทะผลให้กับผู้ตัดสินใจได้อย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตักสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่มีความขัดแย้งกัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผูเชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนเป็นอย่างมาก


//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm





โดย: ชื่อ นายวัชระพงศ์ โคตรชมภู รหัสนักศึกษา 51040901205 หมู่ที่1จันทร์(บ่าย)สาขาวิชานิติศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 11 กันยายน 2552 เวลา:12:59:32 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น


โดย: นายจักรกริช โพธิวงษ์ หมู่ 15 ศุกรเช้า IP: 192.168.1.103, 119.42.83.235 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:20:32:50 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น


โดย: น.สชไมพร ตะโคตร ม.29 พุธ(ช้า) 520404103 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:11:45:17 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินได้ดีขึ้น ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดี่ยวกับผู้เชี่ยวชาญที่มนุษย์เป็น โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น เนื่องจากระบบนี้คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างต่างกว่าระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องการออกจากองค์กรหรืออาจไม่ปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทะผลให้กับผู้ตัดสินใจได้อย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตักสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่มีความขัดแย้งกัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผูเชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนเป็นอย่างมาก


//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm






โดย: นางสาว ศิริพร คมกล้า 51040901250 สาขา นิติศาสตร์ หมู่ 01 (จันทร์-บ่าย) IP: 222.123.14.135 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:12:08:05 น.  

 
1.

ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชียวชาญหรือที่เรียกว่า ES เป็นแขนงหนึ่งของ AI ที่นิยมนำมาใช้ในทางธุรกิจเนื่องจาก ES จะถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่เลียนแบบผู้เชียวชาญเฉพาะด้านได้ เช่น การวินิจฉัยโรค การวิเคราะห์หลักทรัพย์ ระบบผู้เชียวชาญ หมายถึงระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกหาที่ลองเรียนแบบกระบวนการใช้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังต่อไปนี้
1. กระจายความรู้
2. ความไม่แน่นอน
3. เตรียมการสำหรับอนาคต

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ที่มีความสะดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์

1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน

2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ

3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น

5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น



ตัวอย่าง

มหาวิทยาลัยรังสิตพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม

ผศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กล่าวว่าได้ทำการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม เพื่อใช้ในการเตือนภัยแก่ชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดน้ำท่วม โครงการนี้เป็นโครงการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งได้เข้าแข่งขันในการประกวดนวัตกรรมของกองทุนนวัตกรรม ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เข้ารอบชิงชนะเลิศทั่วประเทศ ในเดือนตุลาคมนี้ และนับเป็นผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วมระบบแรกของประเทศไทย ที่ได้ทำการพัฒนาขึ้น โดยอาศัยศาสตร์ทางด้านโครงข่ายใยประสาทเทียมที่สามารถเรียนรู้ สภาพ เหตุการณ์น้ำท่วมในอดีตของแต่ละลุ่มน้ำได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ผลการทำนายจึงมีความแม่นยำสูงมาก ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้ประยุกต์ใช้ภาษา Java เป็นภาษาหลักในการเขียนโปรแกรม และทำงานในเครื่อง PC ธรรมดา ดังนั้น ผู้ใช้จะสามารถติดต่อสื่อสารกับระบบได้ง่าย โดยไม่ต้องมีความเข้าใจในรายละเอียดการทำงาน กล่าวคือ ระบบจะสร้างผู้ใช้ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ปัจจุบันได้นำไปประยุกต์ใช้กับลุ่มน้ำต่างๆ เช่น แม่น้ำยม บริเวณจังหวัดสุโขทัย แม่น้ำปราจีนบุรี บริเวณเขตอำเภอเมือง และคลองอู่ตระเภาในเขตเทศบาลหาดใหญ่ ผลการคำนวณจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำให้ทราบว่าเมื่อไร น้ำหลากจะมาถึงและมาด้วยความรุนแรงเท่าใด จึงทำให้สามารถลดความสูญเสียทั้งทางด้านชีวิตและทรัพย์สิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ



ที่มา

//learners.in.th/blog/yoklnw/262820



โดย: ส.ต.ต.หญิงพิพิทย์ชยานันต์ สีลาเวช 05 รูปแบบพิเศษ 51241151133 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:11:59:38 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา

//www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pichai_l/it01/it_type_es.htm
การทำงานของระบบผู้เชี่ยวชาญ
การทำงานของระบบผู้เชี่ยวชาญ Knowledge Representation Methods
- IF - Then Rules (กฎ) คำสั่งแสดงเงื่อนไขจำนวนมากสามารถนำมาใช้เป็นกฎ (Rule) (มีจำนวน 200 ถึง 10,000 เงื่อนไข) กฎที่นำมาใช้ในโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ยังมีการเชื่อมโยง ระหว่างกันอย่างมาก เก็บความสัมพันธ์ไว้ (semiotic) Frames ตาราง ความรู้ที่เก็บแต่ละตาราง
- Knowledge Engineering วิศวกรความรู้ จัดเก็บความรู้อย่างเป็นหมวดหมู่ รู้ความลับต่างๆ ในแต่ละด้าน
- Expert System Shells เปลือกความรู้อะไรนั้น ๆ ก็ใส่เข้าไปหรือความรู้จากการเขียนโปรแกรม
- Foreword Chaining ค้นหาคำตอบได้ 2 วิธี เชื่อมต่อไปเรื่อยๆ (ได้คำตอบมา) Result - driven process
- Back word Chaining กลไกอ้างอิงย้อนกลับท้าวหลัง ตั้งสมมติฐานและถามผู้ใช้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง Goal - driven process ตั้งคำถามนำ (ได้คำตอบกลับมา) จนได้การยืนยัน เราต้องคิดว่าจะทำ ES ไหม ถ้าปัญหาเล็กน้อยก็ ไม่ควรจะทำ
- Factors Justifying the Acquisition of Expert Systems ปัญหาเล็กน้อย ไม่มีโครงสร้าง เกิดบ่อยไหม ต้องมี
ผู้เชี่ยวชาญที่จะให้ประสบการณ์
ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/115/2.html


โดย: นายสุรพล อินทร์ธิราช หมู่ 05 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:12:00:26 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)

ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้นๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริงๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้

-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องออกจากองค์กรหรือไม่อาจปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก


//science.rbru.ac.th/~bangkom/mies.htm


โดย: นายสันทัด คูหานา 51241151128 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:12:01:07 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น
ที่มา//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8D



โดย: พ.อ.อ.ปิยะ หอมชื่น 51241151144 หมู่ 05 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:12:02:21 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น



ที่มา//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8D






โดย: นายวิทวัฒน์ พากุล รหัสนักศึกษา 52042055102 หมู่ 29 ( พุธ เช้า ) IP: 192.168.1.103, 119.42.82.83 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:20:10:37 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)

ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้นๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริงๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้

-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องออกจากองค์กรหรือไม่อาจปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก


//science.rbru.ac.th/~bangkom/mies.htm


โดย: จ.ส.อ. อาสา โสมประยูร 51241151211 เสาร์บ่าย หมู่05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:15:21:17 น.  

 
9.1ระบบผู้เชี่ยวชาญ(Expert Systems) เป็นระบบที่ช่วยในการแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจ โดยจะเกี่ยวข้องกับการจัดความรู้ มากกว่าสารสนเทศทั่วไป และจะถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ เป็นการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญมาไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบผู้เชี่ยวชาญจัดเป็นงานทางด้านปัญญาประดิษฐ์ที่มีการปฏิบัติและติดตั้งใช้งานมากที่สุด ระบบจะทำการโต้ตอบกับผู้ใช้ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ แต่ระบบนี้จะมีความสามารถเฉพาะด้านต่อปัญหาเฉพาะทางที่ไม่สามารถแก้ไขดัดแปลงไปใช้แก้ปัญหาอื่นได้โดยง่าย



องค์ประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญ



ระบบผู้เชี่ยวชาญประกอบไปด้วย 2 องค์ประกอบหลัก ดังนี้

1. ฐานความรู้ (Knowledge Base) เป็นส่วนของความรู้ของผู้เชี่ยวชาญทั้งข้อเท็จจริงที่เป็นความรู้ทั้งหมดและกฎที่ผู้เชี่ยวชาญใช้ในการตัดสินใจ

2. โปรแกรมของระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System Software หรือ Software Resources) แบ่งเป็น 2ส่วน คือ ส่วนที่ใช้ในการประมวลผลความรู้จากฐานความรู้และส่วนที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้



ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ



1. ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านหนึ่งด้านใดโดยเฉพาะไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้และ

สามารถนำความรู้มาใช้งานได้ตลอดเวลา

2. ช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจ

3. สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ใช้ระบบในการตัดสินใจ

4. ช่วยให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน

5. ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

ที่มา//armka2518.exteen.com/20090218/entry


โดย: จ.ส.ต.หญิง พรรสุภา ชิตเกษร 51241151125 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:15:24:08 น.  

 
9.1ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่ มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472





โดย: จ.ส.ต.เสกสิท วงศรีรักษา 51241151128 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:15:26:14 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน

ที่มา; //th.wikipedia.org/wiki/










โดย: น.ส.จิตราภรณ์ ภุเกตุ หมู่ 8 พฤหัสเช้า IP: 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:16:54:31 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

คำตอบ
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472


โดย: นางสาวจุรีพร โดคตชมภุ รหัส 52040332125 พฤหัส (เช้า) หมู่ 8 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:00:26 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Artificial Intelligence / Expert System : AI/ES)
ระบบผู้เชี่ยวชาญ หมายถึง ระบบที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่งคล้ายกับมนุษย์ ระบบนี้ได้รับความรู้จากมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่งเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถวิเคราะห์เหตุผล เพื่อตัดสินใจ ความรู้ที่เก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์นี้ประกอบด้วย ฐานความรู้ (Knowledge Bass) และกฎข้อวินิจฉัย (Inference Rule) ซึ่งเป็นความสามารถเฉพาะที่ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถตัดสินใจได้เอง เช่น การวินิจฉัยความผิดพลาดของรถจักรดีเซลไฟฟ้าโดยใช้คอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของผู้เชี่ยวชาญ
1. ฐานความรู้ (Knowledge Base) เป็นส่วนของความรู้ของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด ซึ่งจะเก็บไว้ในฐานข้อมูลของระบบ
2. โปรแกรมของระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System Software หรือ Software Resources) แบ่งออกได้ 2 ส่วน
1) ส่วนที่ใช้ในการประมวลผลความรู้จากฐานความรู้
2) ส่วนที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้

ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ
1. ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านหนึ่งด้านใดโดยเฉพาะไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้และสามารถนำความรู้มาใช้งานได้ตลอดเวลา
2. ช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจ
3. สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ใช้ระบบในการตัดสินใจ
4. ช่วยให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
5. ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

ที่มา:
learners.in.th/blog/somchok-bcom2210/153610





โดย: นายอภิเชษฐ์ หาคำ ม.8 พฤหัส (เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:29:56 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems-ES)
ES ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาแก้ผู้ใช้ในการให้คำแนะนำที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ ในบางสาขา ES เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูลและกฎเกณฑ์ของความรู้ ซึ่งรวบรวมมาจากสาขาวิชาที่ต้องการความเชี่ยวชาญไว้ในฐานความรู้ (knowledge base) และโปรแกรมจะดำเนินการเมื่อมีการป้อนข้อมูลโดยผู้ใช้ ในลักษณะการถามตอบและประมวลผล คำตอบจากที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไปเพื่อหาข้อสรุปหรือคำแนะนำที่ต้องการ
ES เป็นสาขาหนึ่งของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence-AI) ซึ่งศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ การพัฒนา ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการเลียนแบบการเรียนรู้และพฤติกรรมการให้เหตุผลของมนุษย์

ES
1) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญแก่ผู้ใช้โดยทั่วไป เช่น การให้คำแนะนำสำหรับคนที่ได้รับพิษทางปากว่าควรจะปฏิบัติตัวอย่างไร
2) การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เชี่ยวชาญ ในการศึกษาสถานการณ์ โดยการรวบรวมสารสนเทศ การสังเกตหรือประเมินสถานการณ์ รวมทั้งการแนะนำในการจัดการ การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เชี่ยวชาญนี้เป็นการตรวจสอบซ้ำ (double check) ว่าข้อมูลที่สำคัญ ไม่ได้ถูกละเลยไปในการพิจารณาปัญหาต่าง ๆ เช่น หมอใช้ ES เพื่อวินิจฉัยว่าคนไข้ป่วย ด้วยโรคหัวใจ หรือเป็นเพราะปัญหา Cardiac malfunction
3) ทดแทนผู้เชี่ยวชาญ โดยการใช้ฐานความรู้และความสามารถในการวิเคราะห์เพื่อประเมินสถานการณ์ในกรณีที่ไม่สามารถหาผู้เชี่ยวชาญได้ เช่น ผู้ช่วยหมอใช้ ES ในการตรวจสอบผลการตรวจคลื่นหัวใจ (electro-cardigram printout) เพื่อดูว่าหัวใจของคนไข้ทำงานปกติหรือไม่

ตัวอย่างของ ES ที่นำไปใช้ในงานด้านต่างๆ
1) ด้านการแพทย์ : การให้คำแนะนำแก่หมอในการสั่งยาปฏิชีวนะให้คนไข้ซึ่งต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ หลายประการ เช่น ประวัติการเจ็บป่วยของคนไข้ แหล่งติดเชื้อ ราคาของยา
2) ด้านการผลิต : การให้คำแนะนำแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชิ้นส่วนเครื่องบิน
3) ด้านธรณีวิทยา : ให้คำแนะนำแก่นักธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน้ำมัน เพื่อพิจารณาในการขุดเจาะน้ำมัน
4) ด้านกระบวนการผลิต : ให้คำแนะนำในการกำหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต (Expert Systems Scheduling) ซึ่งทำให้บริษัทสามารถปรับตารางเวลาการการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรือเงื่อนไขของโรงงานที่เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วดังที่บริษัท General Motors ได้นำมาใช้
5) ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตรเครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการทำงานตั้งแต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การอนุมัติเครดิต การรวมบัญชีที่ค้างชำระเกินกำหนด ES ที่ใช้ระบบนี้เรียกว่า Authorization Assistant และทำให้บริษัทประหยัดเงินได้หลายล้านดอลล่าร์ในแต่ละปี (Haag et al.,2000)
6) ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ : การออกแบบ ES มาสำหรับช่วยบริษัทที่ทำธุรกิจต่างประเทศในการทำสัญญากับประเทศต่างๆ และใช้เป็นเครื่องมืออบรมพนักงานให้มีความรู้และทักษะในความซับซ้อนของการค้าระหว่างประเทศมากขึ้น (Haag et al.,2000)
7) ด้านการค้าระหว่างประเทศ : บริษัทที่ติดต่อกับกลุ่มประเทศ NAFTA ต้องเผชิญปัญหากับภาษีและกฎระเบียบที่สลับซับซ้อนสำหรับสินค้าต่างๆ ตลอดจน ความเข้มงวดในเรื่องพิธีศุลกากร และการกำหนดโทษของการฝ่าฝืนค่อนข้างรุนแรง ดังนั้น ความเสี่ยงในการทำการค้ากลุ่มประเทศดังกล่าวจึงค่อนข้างสูง บริษัทต่างๆ จึงได้อาศัย ES สำเร็จรูปที่ชื่อว่า “Origin” เป็นเครื่องมือช่วยในการให้คำแนะนำในเรื่องกฎระเบียบต่างๆ


องค์ประกอบของ ES
องค์ประกอบที่สำคัญของ ES ได้แก่ (Stairs & Reynolds, 1999)
1) ฐานความรู้ (Knowledge base) ซึ่งเก็บรวบรวมกฎเกณฑ์ต่างๆ (rules) ที่เกี่ยวข้องกับความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน กฎเกณฑ์นี้จะช่วยให้ ES สามารถให้ข้อสรุปในเรื่องที่เกี่ยวข้องแก่ผู้ใช้
2) โปรแกรมที่จะนำฐานความรู้ไปใช้เพื่อพิจารณาเสนอแนะแก้ปัญหาหรือโครงสร้างการตัดสินใจ (Inference engine) โดย Inference engine จะทำหน้าที่ในการจัดระบบและควบคุมกฎเกณฑ์ โดยจะให้เหตุผลต่างๆ เพื่อจะนำไปสู่ข้อสรุปหรือ ข้อเสนอแนะแก่ผู้ใช้
3) อุปกรณ์ช่วยในการอธิบาย (Explanation facility) อุปกรณ์ช่วยในการอธิบายช่วยทำให้ผู้ใช้เข้าใจกฎเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจ
4) อุปกรณ์ในการหาความรู้ (Knowledge acquisition facility) เป็นอุปกรณ์ในการรวบรวมและเก็บความรู้ที่สะดวกและมีประสิทธิภาพ
5) การเชื่อมโยงกับผู้ใช้ (User interface) เป็นการทำให้การพัฒนาและการใช้ ES ทำได้ง่ายขึ้น ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ซึ่งผู้ใช้สามารถนำไปช่วยในการสร้าง ES โดยใช้รูปภาพที่ผู้ใช้ต้องการ (เช่น จะใช้เมนูฟอร์ม)

ข้อจำกัดของ ES
ES มีข้อจำกัดดังนี้ (Haag et al.,2000)
1) การนำความรู้ความเชี่ยวชาญมาใช้ใน ES ในบางครั้งอาจทำได้ยากเนื่องจากผู้เชี่ยวชาญอาจจะไม่สามารถอธิบายได้ว่าตนเองรู้อะไรบ้าง และบางครั้งก็ไม่สามารถอธิบายเหตุผลของความรู้ได้อย่างชัดเจน
2) แม้ว่าผู้เชี่ยวชาญจะสามารถอธิบายองค์ความรู้และกระบวนการการให้เหตุผลอย่างชัดเจน แต่กระบวนการในการสร้างกฎเกณฑ์อาจจะสลับซับซ้อนมากเกินไป จนไม่สามารถเสนอแนะคำตอบได้อย่างแน่ชัด
3) การใช้ ES จะใช้แก้ปัญหาที่ได้รับการออกแบบและใส่ข้อมูลในโปรแกรมแล้วเท่านั้น ดังนั้น ES จึงไม่สามารถจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ นอกจากนี้ ES ไม่สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านมาและไม่สามารถใช้ความเชี่ยวชาญที่มีอยู่เพื่อจัดการกับปัญหาใหม่ๆ แบบที่มนุษย์ทำได้
4) ES ไม่มีวิจารณญาณในการเสนอแนะ ดังนั้นในบางกรณีอาจจะนำไปสู่อันตรายได้

ลักษณะความแตกต่างระหว่าง DSS และ ES
ผู้ใช้ DSS จะต้องมีความรู้ หรือความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ที่ตนเองเผชิญอยู่และต้องจัดการกับสถานการณ์นั้น แม้ว่า DSS จะช่วยสนับสนุนในการตัดสินใจแต่ผู้ใช้ต้องทราบว่าควรจะตั้งคำถามอย่างไร เพื่อจะได้คำตอบในการช่วยการตัดสินใจ และจะหาคำตอบได้อย่างไร รวมทั้งจะต้องดำเนินการต่ออย่างไร ส่วนระบบ ES ผู้ใช้เพียงแต่ให้ข้อเท็จจริงหรืออาการของปัญหาที่ต้องการคำตอบ ส่วนความรู้และความเชี่ยวชาญที่จะช่วยในการแก้ปัญหาจะมาจากระบบ ES


//elearning.northcm.ac.th/mis/content.asp?ContentID=76&LessonID=11





โดย: นายอภิเชษฐ์ หาคำ ม.8 พฤหัส (เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:39:51 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวอย่างของ ES ที่นำไปใช้ในงานด้านต่างๆ
1) ด้านการแพทย์ : การให้คำแนะนำแก่หมอในการสั่งยาปฏิชีวนะให้คนไข้ซึ่งต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ หลายประการ เช่น ประวัติการเจ็บป่วยของคนไข้ แหล่งติดเชื้อ ราคาของยา
2) ด้านการผลิต : การให้คำแนะนำแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชิ้นส่วนเครื่องบิน
3) ด้านธรณีวิทยา : ให้คำแนะนำแก่นักธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน้ำมัน เพื่อพิจารณาในการขุดเจาะน้ำมัน
4) ด้านกระบวนการผลิต : ให้คำแนะนำในการกำหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต (Expert Systems Scheduling) ซึ่งทำให้บริษัทสามารถปรับตารางเวลาการการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรือเงื่อนไขของโรงงานที่เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วดังที่บริษัท General Motors ได้นำมาใช้
5) ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตรเครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการทำงานตั้งแต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การอนุมัติเครดิต การรวมบัญชีที่ค้างชำระเกินกำหนด ES ที่ใช้ระบบนี้เรียกว่า Authorization Assistant และทำให้บริษัทประหยัดเงินได้หลายล้านดอลล่าร์ในแต่ละปี (Haag et al.,2000)
6) ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ : การออกแบบ ES มาสำหรับช่วยบริษัทที่ทำธุรกิจต่างประเทศในการทำสัญญากับประเทศต่างๆ และใช้เป็นเครื่องมืออบรมพนักงานให้มีความรู้และทักษะในความซับซ้อนของการค้าระหว่างประเทศมากขึ้น (Haag et al.,2000)
7) ด้านการค้าระหว่างประเทศ : บริษัทที่ติดต่อกับกลุ่มประเทศ NAFTA ต้องเผชิญปัญหากับภาษีและกฎระเบียบที่สลับซับซ้อนสำหรับสินค้าต่างๆ ตลอดจน ความเข้มงวดในเรื่องพิธีศุลกากร และการกำหนดโทษของการฝ่าฝืนค่อนข้างรุนแรง ดังนั้น ความเสี่ยงในการทำการค้ากลุ่มประเทศดังกล่าวจึงค่อนข้างสูง บริษัทต่างๆ จึงได้อาศัย ES สำเร็จรูปที่ชื่อว่า “Origin” เป็นเครื่องมือช่วยในการให้คำแนะนำในเรื่องกฎระเบียบต่างๆ

ที่มา //202.28.94.55/web/322161/2551/001/g29/IT10.html





โดย: นางสาวปิยนุช แสงจันทร์ (หมู่01 วันจันทร์-บ่าย) IP: 125.26.192.37 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:21:19:03 น.  

 
9.1ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่ มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472


โดย: นางสาวประสิทธิ์พร เพ็งสอน (หมู่01 วันจันทร์-บ่าย) IP: 125.26.192.37 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:21:20:05 น.  

 
9.1ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่ มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472



โดย: นางสาวกาญจนา อุปวันดี (หมู่01วันจันทร์-บ่าย) IP: 125.26.192.37 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:21:21:25 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems-ES)


ES ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาแก้ผู้ใช้ในการให้คำแนะนำที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ ในบางสาขา ES เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูลและกฎเกณฑ์ของความรู้ ซึ่งรวบรวมมาจากสาขาวิชาที่ต้องการความเชี่ยวชาญไว้ในฐานความรู้ (knowledge base) และโปรแกรมจะดำเนินการเมื่อมีการป้อนข้อมูลโดยผู้ใช้ ในลักษณะการถามตอบและประมวลผล คำตอบจากที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไปเพื่อหาข้อสรุปหรือคำแนะนำที่ต้องการ
ES เป็นสาขาหนึ่งของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence-AI) ซึ่งศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ การพัฒนา ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการเลียนแบบการเรียนรู้และพฤติกรรมการให้เหตุผลของมนุษย์

ES
1) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญแก่ผู้ใช้โดยทั่วไป เช่น การให้คำแนะนำสำหรับคนที่ได้รับพิษทางปากว่าควรจะปฏิบัติตัวอย่างไร
2) การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เชี่ยวชาญ ในการศึกษาสถานการณ์ โดยการรวบรวมสารสนเทศ การสังเกตหรือประเมินสถานการณ์ รวมทั้งการแนะนำในการจัดการ การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เชี่ยวชาญนี้เป็นการตรวจสอบซ้ำ (double check) ว่าข้อมูลที่สำคัญ ไม่ได้ถูกละเลยไปในการพิจารณาปัญหาต่าง ๆ เช่น หมอใช้ ES เพื่อวินิจฉัยว่าคนไข้ป่วย ด้วยโรคหัวใจ หรือเป็นเพราะปัญหา Cardiac malfunction
3) ทดแทนผู้เชี่ยวชาญ โดยการใช้ฐานความรู้และความสามารถในการวิเคราะห์เพื่อประเมินสถานการณ์ในกรณีที่ไม่สามารถหาผู้เชี่ยวชาญได้ เช่น ผู้ช่วยหมอใช้ ES ในการตรวจสอบผลการตรวจคลื่นหัวใจ (electro-cardigram printout) เพื่อดูว่าหัวใจของคนไข้ทำงานปกติหรือไม่

ตัวอย่างของ ES ที่นำไปใช้ในงานด้านต่างๆ
1) ด้านการแพทย์ : การให้คำแนะนำแก่หมอในการสั่งยาปฏิชีวนะให้คนไข้ซึ่งต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ หลายประการ เช่น ประวัติการเจ็บป่วยของคนไข้ แหล่งติดเชื้อ ราคาของยา
2) ด้านการผลิต : การให้คำแนะนำแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชิ้นส่วนเครื่องบิน
3) ด้านธรณีวิทยา : ให้คำแนะนำแก่นักธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน้ำมัน เพื่อพิจารณาในการขุดเจาะน้ำมัน
4) ด้านกระบวนการผลิต : ให้คำแนะนำในการกำหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต (Expert Systems Scheduling) ซึ่งทำให้บริษัทสามารถปรับตารางเวลาการการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรือเงื่อนไขของโรงงานที่เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วดังที่บริษัท General Motors ได้นำมาใช้
5) ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตรเครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการทำงานตั้งแต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การอนุมัติเครดิต การรวมบัญชีที่ค้างชำระเกินกำหนด ES ที่ใช้ระบบนี้เรียกว่า Authorization Assistant และทำให้บริษัทประหยัดเงินได้หลายล้านดอลล่าร์ในแต่ละปี (Haag et al.,2000)
6) ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ : การออกแบบ ES มาสำหรับช่วยบริษัทที่ทำธุรกิจต่างประเทศในการทำสัญญากับประเทศต่างๆ และใช้เป็นเครื่องมืออบรมพนักงานให้มีความรู้และทักษะในความซับซ้อนของการค้าระหว่างประเทศมากขึ้น (Haag et al.,2000)
7) ด้านการค้าระหว่างประเทศ : บริษัทที่ติดต่อกับกลุ่มประเทศ NAFTA ต้องเผชิญปัญหากับภาษีและกฎระเบียบที่สลับซับซ้อนสำหรับสินค้าต่างๆ ตลอดจน ความเข้มงวดในเรื่องพิธีศุลกากร และการกำหนดโทษของการฝ่าฝืนค่อนข้างรุนแรง ดังนั้น ความเสี่ยงในการทำการค้ากลุ่มประเทศดังกล่าวจึงค่อนข้างสูง บริษัทต่างๆ จึงได้อาศัย ES สำเร็จรูปที่ชื่อว่า “Origin” เป็นเครื่องมือช่วยในการให้คำแนะนำในเรื่องกฎระเบียบต่างๆ


องค์ประกอบของ ES
องค์ประกอบที่สำคัญของ ES ได้แก่ (Stairs & Reynolds, 1999)
1) ฐานความรู้ (Knowledge base) ซึ่งเก็บรวบรวมกฎเกณฑ์ต่างๆ (rules) ที่เกี่ยวข้องกับความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน กฎเกณฑ์นี้จะช่วยให้ ES สามารถให้ข้อสรุปในเรื่องที่เกี่ยวข้องแก่ผู้ใช้
2) โปรแกรมที่จะนำฐานความรู้ไปใช้เพื่อพิจารณาเสนอแนะแก้ปัญหาหรือโครงสร้างการตัดสินใจ (Inference engine) โดย Inference engine จะทำหน้าที่ในการจัดระบบและควบคุมกฎเกณฑ์ โดยจะให้เหตุผลต่างๆ เพื่อจะนำไปสู่ข้อสรุปหรือ ข้อเสนอแนะแก่ผู้ใช้
3) อุปกรณ์ช่วยในการอธิบาย (Explanation facility) อุปกรณ์ช่วยในการอธิบายช่วยทำให้ผู้ใช้เข้าใจกฎเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจ
4) อุปกรณ์ในการหาความรู้ (Knowledge acquisition facility) เป็นอุปกรณ์ในการรวบรวมและเก็บความรู้ที่สะดวกและมีประสิทธิภาพ
5) การเชื่อมโยงกับผู้ใช้ (User interface) เป็นการทำให้การพัฒนาและการใช้ ES ทำได้ง่ายขึ้น ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ซึ่งผู้ใช้สามารถนำไปช่วยในการสร้าง ES โดยใช้รูปภาพที่ผู้ใช้ต้องการ (เช่น จะใช้เมนูฟอร์ม)

ข้อจำกัดของ ES
ES มีข้อจำกัดดังนี้ (Haag et al.,2000)
1) การนำความรู้ความเชี่ยวชาญมาใช้ใน ES ในบางครั้งอาจทำได้ยากเนื่องจากผู้เชี่ยวชาญอาจจะไม่สามารถอธิบายได้ว่าตนเองรู้อะไรบ้าง และบางครั้งก็ไม่สามารถอธิบายเหตุผลของความรู้ได้อย่างชัดเจน
2) แม้ว่าผู้เชี่ยวชาญจะสามารถอธิบายองค์ความรู้และกระบวนการการให้เหตุผลอย่างชัดเจน แต่กระบวนการในการสร้างกฎเกณฑ์อาจจะสลับซับซ้อนมากเกินไป จนไม่สามารถเสนอแนะคำตอบได้อย่างแน่ชัด
3) การใช้ ES จะใช้แก้ปัญหาที่ได้รับการออกแบบและใส่ข้อมูลในโปรแกรมแล้วเท่านั้น ดังนั้น ES จึงไม่สามารถจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ นอกจากนี้ ES ไม่สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านมาและไม่สามารถใช้ความเชี่ยวชาญที่มีอยู่เพื่อจัดการกับปัญหาใหม่ๆ แบบที่มนุษย์ทำได้
4) ES ไม่มีวิจารณญาณในการเสนอแนะ ดังนั้นในบางกรณีอาจจะนำไปสู่อันตรายได้

ลักษณะความแตกต่างระหว่าง DSS และ ES
ผู้ใช้ DSS จะต้องมีความรู้ หรือความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ที่ตนเองเผชิญอยู่และต้องจัดการกับสถานการณ์นั้น แม้ว่า DSS จะช่วยสนับสนุนในการตัดสินใจแต่ผู้ใช้ต้องทราบว่าควรจะตั้งคำถามอย่างไร เพื่อจะได้คำตอบในการช่วยการตัดสินใจ และจะหาคำตอบได้อย่างไร รวมทั้งจะต้องดำเนินการต่ออย่างไร ส่วนระบบ ES ผู้ใช้เพียงแต่ให้ข้อเท็จจริงหรืออาการของปัญหาที่ต้องการคำตอบ ส่วนความรู้และความเชี่ยวชาญที่จะช่วยในการแก้ปัญหาจะมาจากระบบ ES




โดย: นางสาวนฤมล ภูหนองโอง รหัสนักศึกษา 52040264108 หมู่ 29 (พุธ-เช้า) IP: 125.26.177.195 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:13:55:48 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชียวชาญหรือที่เรียกว่า ES เป็นแขนงหนึ่งของ AI ที่นิยมนำมาใช้ในทางธุรกิจเนื่องจาก ES จะถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่เลียนแบบผู้เชียวชาญเฉพาะด้านได้ เช่น การวินิจฉัยโรค การวิเคราะห์หลักทรัพย์ ระบบผู้เชียวชาญ หมายถึงระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกหาที่ลองเรียนแบบกระบวนการใช้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังต่อไปนี้
1. กระจายความรู้
2. ความไม่แน่นอน
3. เตรียมการสำหรับอนาคต

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ที่มีความสะดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์

1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน

2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ

3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น

5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น



ตัวอย่าง

มหาวิทยาลัยรังสิตพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม

ผศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กล่าวว่าได้ทำการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม เพื่อใช้ในการเตือนภัยแก่ชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดน้ำท่วม โครงการนี้เป็นโครงการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งได้เข้าแข่งขันในการประกวดนวัตกรรมของกองทุนนวัตกรรม ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เข้ารอบชิงชนะเลิศทั่วประเทศ ในเดือนตุลาคมนี้ และนับเป็นผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วมระบบแรกของประเทศไทย ที่ได้ทำการพัฒนาขึ้น โดยอาศัยศาสตร์ทางด้านโครงข่ายใยประสาทเทียมที่สามารถเรียนรู้ สภาพ เหตุการณ์น้ำท่วมในอดีตของแต่ละลุ่มน้ำได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ผลการทำนายจึงมีความแม่นยำสูงมาก ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้ประยุกต์ใช้ภาษา Java เป็นภาษาหลักในการเขียนโปรแกรม และทำงานในเครื่อง PC ธรรมดา ดังนั้น ผู้ใช้จะสามารถติดต่อสื่อสารกับระบบได้ง่าย โดยไม่ต้องมีความเข้าใจในรายละเอียดการทำงาน กล่าวคือ ระบบจะสร้างผู้ใช้ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ปัจจุบันได้นำไปประยุกต์ใช้กับลุ่มน้ำต่างๆ เช่น แม่น้ำยม บริเวณจังหวัดสุโขทัย แม่น้ำปราจีนบุรี บริเวณเขตอำเภอเมือง และคลองอู่ตระเภาในเขตเทศบาลหาดใหญ่ ผลการคำนวณจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำให้ทราบว่าเมื่อไร น้ำหลากจะมาถึงและมาด้วยความรุนแรงเท่าใด จึงทำให้สามารถลดความสูญเสียทั้งทางด้านชีวิตและทรัพย์สิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ



ที่มา

//learners.in.th/blog/yoklnw/262820

นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115


โดย: นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115 IP: 192.168.1.124, 124.157.149.201 วันที่: 20 กันยายน 2552 เวลา:12:18:04 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด



ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) คือ ศาสตร์แขนงหนึ่งทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีพื้นฐานมาจากวิชาวิทยา การคอมพิวเตอร์ ชีววิทยา จิตวิทยา ภาษาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้มีพฤติกรรมเลียนแบบมนุษย์ รวมทั้งเลียนแบบความเป็นอัจฉริยะของมนุษย์



ลักษณะงานของปัญญาประดิษฐ์

1. Cognitive Science

งาน ด้านนี้เน้นงานวิจัยเพื่อศึกษาว่าสมองของมนุษย์ทำงานอย่างไร และมนุษย์คิดและเรียนรู้อย่างไร จึงมีพื้นฐานที่การประมวลผลสารสนเทศในรูปแบบของมนุษย์ประกอบด้วยระบบต่างๆ

- ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems) ระบบนี้จะพยายามลอกเลียนแบบความสามารถของผู้เชียวชาญที่เป็นมนุษย์ในการแก้ปัญหาต่างๆ

- ระบบเครือข่ายนิวรอน (Neural Network) ถูกออกแบบให้เลียนแบบการทำงานของสมองมนุษย์ ทั้งในส่วนของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

- ระบบแบ๊บแน็ต (Papnet) เป็นระบบที่ใช้ในการแยกความแตกต่าง เช่น แยกความแตกต่างของเซลล์มนุษย์

- ฟัสซี่โลจิก (Fuzzy Logic) เป็น ระบบที่เกี่ยวข้องกับการใช้กฎพื้นฐาน และสามารถทำงานกับข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์ หรือกำกวม หรือค่าไม่เที่ยงตรง หรือไม่แน่นอนได้ ซึ่งระบบจะพยายามหาคำตอบให้กับปัญหาที่ไม่มีโครงสร้าง ด้ายการพิจารณากาข้อมูลเท่าที่มีเท่านั้น ระบบนี้ใช้วิธีการหาคำตอบได้แบบมนุษย์มากกว่าระบบงานทั่วไปซึ่งใช้เพียง ประโยคเงื่อนไขธรรมดา

- เจนเนติกอัลกอริทึม (Genetic Algorithm) หรือ อัลกอริทึมพันธุกรรม ใช้หลักการด้านพันธุกรรมของชาร์ล ดาร์วิน การสุ่ม และฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ในการสร้างกระบวนการวิวัฒนาการด้วยตนเองของระบบใน การหาคำตอบที่ดียิ่งขึ้นโดยใช้แนวทางการแก้ปัญหาแนวเดียวกับที่สิ่งมีชีวิต ปรับตัวเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อม

- เอเยนต์ชาญฉลาด (Intelligent Agents) ใช้ระบบผู้เชี่ยวชาญหรือเทคนิคของปัญญาประดิษฐ์อื่นๆ เพื่อพัฒนาเป็นโปรแกรมประยุกต์ให้กับผู้ใช้ปลายทาง

- ระบบการเรียนรู้ (Learning Systems) เป็นระบบที่สามารถพัฒนาพฤติกรรมของระบบเองด้วยการพัฒนาจากข้อมูลที่ระบบได้รับในระหว่างการประมวลผล


ที่มา : //www.islaminside.com/blog/entry.php?w=annur&e_id=2872


โดย: น.ส. นาริณี อินทร์ดี IP: 113.53.169.216 วันที่: 21 กันยายน 2552 เวลา:15:04:32 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินได้ดีขึ้น ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดี่ยวกับผู้เชี่ยวชาญที่มนุษย์เป็น โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น เนื่องจากระบบนี้คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างต่างกว่าระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องการออกจากองค์กรหรืออาจไม่ปฏิบัติงานได้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทะผลให้กับผู้ตัดสินใจได้อย่างมาก
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตักสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่มีความขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
ระบบผูเชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนเป็นอย่างมาก

ที่มา : //cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm






โดย: นางสาวหนึ่งฤทัย มังคละแสน คณะมนุษศษสตร์และสังคมศาสตร์ สาขานิติศาสตร์หมู่01 จ.บ่าย IP: 124.157.147.100 วันที่: 23 กันยายน 2552 เวลา:20:00:21 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น
ที่มา//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8D



โดย: ส.อ.ชาคร ทานินนท์ หมู่ 05 5124151208 IP: 125.26.164.16 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:11:32:16 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Artificial Intelligence / Expert System : AI/ES)
ระบบผู้เชี่ยวชาญ หมายถึง ระบบที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่งคล้ายกับมนุษย์ ระบบนี้ได้รับความรู้จากมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่งเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถวิเคราะห์เหตุผล เพื่อตัดสินใจ ความรู้ที่เก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์นี้ประกอบด้วย ฐานความรู้ (Knowledge Bass) และกฎข้อวินิจฉัย (Inference Rule) ซึ่งเป็นความสามารถเฉพาะที่ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถตัดสินใจได้เอง เช่น การวินิจฉัยความผิดพลาดของรถจักรดีเซลไฟฟ้าโดยใช้คอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของผู้เชี่ยวชาญ
1. ฐานความรู้ (Knowledge Base) เป็นส่วนของความรู้ของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด ซึ่งจะเก็บไว้ในฐานข้อมูลของระบบ
2. โปรแกรมของระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System Software หรือ Software Resources) แบ่งออกได้ 2 ส่วน
1) ส่วนที่ใช้ในการประมวลผลความรู้จากฐานความรู้
2) ส่วนที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้

ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ
1. ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านหนึ่งด้านใดโดยเฉพาะไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้และสามารถนำความรู้มาใช้งานได้ตลอดเวลา
2. ช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจ
3. สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ใช้ระบบในการตัดสินใจ
4. ช่วยให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
5. ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

ที่มา:
learners.in.th/blog/somchok-bcom2210/153610

นายตง ประดิชญากาญจน์ หมู่ 22 อังคารเช้า


โดย: นายตง ประดิชญากาญจน์ IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:13:40:12 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)

ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้นๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริงๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างแตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้

-ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องออกจากองค์กรหรือไม่อาจปฏิบัติงานได้
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก


//science.rbru.ac.th/~bangkom/mies.htm


โดย: นายอายุวัฒฯ นามมาลา หมู่.29 พุธเช้า IP: 172.23.8.231, 58.137.131.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:34:21 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวอย่างของ ES ที่นำไปใช้ในงานด้านต่างๆ
1) ด้านการแพทย์ : การให้คำแนะนำแก่หมอในการสั่งยาปฏิชีวนะให้คนไข้ซึ่งต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ หลายประการ เช่น ประวัติการเจ็บป่วยของคนไข้ แหล่งติดเชื้อ ราคาของยา
2) ด้านการผลิต : การให้คำแนะนำแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชิ้นส่วนเครื่องบิน
3) ด้านธรณีวิทยา : ให้คำแนะนำแก่นักธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน้ำมัน เพื่อพิจารณาในการขุดเจาะน้ำมัน
4) ด้านกระบวนการผลิต : ให้คำแนะนำในการกำหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต (Expert Systems Scheduling) ซึ่งทำให้บริษัทสามารถปรับตารางเวลาการการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรือเงื่อนไขของโรงงานที่เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วดังที่บริษัท General Motors ได้นำมาใช้
5) ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตรเครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการทำงานตั้งแต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การอนุมัติเครดิต การรวมบัญชีที่ค้างชำระเกินกำหนด ES ที่ใช้ระบบนี้เรียกว่า Authorization Assistant และทำให้บริษัทประหยัดเงินได้หลายล้านดอลล่าร์ในแต่ละปี (Haag et al.,2000)
6) ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ : การออกแบบ ES มาสำหรับช่วยบริษัทที่ทำธุรกิจต่างประเทศในการทำสัญญากับประเทศต่างๆ และใช้เป็นเครื่องมืออบรมพนักงานให้มีความรู้และทักษะในความซับซ้อนของการค้าระหว่างประเทศมากขึ้น (Haag et al.,2000)
7) ด้านการค้าระหว่างประเทศ : บริษัทที่ติดต่อกับกลุ่มประเทศ NAFTA ต้องเผชิญปัญหากับภาษีและกฎระเบียบที่สลับซับซ้อนสำหรับสินค้าต่างๆ ตลอดจน ความเข้มงวดในเรื่องพิธีศุลกากร และการกำหนดโทษของการฝ่าฝืนค่อนข้างรุนแรง ดังนั้น ความเสี่ยงในการทำการค้ากลุ่มประเทศดังกล่าวจึงค่อนข้างสูง บริษัทต่างๆ จึงได้อาศัย ES สำเร็จรูปที่ชื่อว่า “Origin” เป็นเครื่องมือช่วยในการให้คำแนะนำในเรื่องกฎระเบียบต่างๆ

ที่มา //202.28.94.55/web/322161/2551/001/g29/IT10.html
นายศราวุฒิ ทดกลาง หมู่22(อ.เช้า)


โดย: นายศราวุฒิ ทดกลาง IP: 58.137.131.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:58:40 น.  

 
1.

ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชียวชาญหรือที่เรียกว่า ES เป็นแขนงหนึ่งของ AI ที่นิยมนำมาใช้ในทางธุรกิจเนื่องจาก ES จะถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่เลียนแบบผู้เชียวชาญเฉพาะด้านได้ เช่น การวินิจฉัยโรค การวิเคราะห์หลักทรัพย์ ระบบผู้เชียวชาญ หมายถึงระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกหาที่ลองเรียนแบบกระบวนการใช้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังต่อไปนี้
1. กระจายความรู้
2. ความไม่แน่นอน
3. เตรียมการสำหรับอนาคต

มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวชาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ที่มีความสะดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์

1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน

2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ

3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น

5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น



ตัวอย่าง

มหาวิทยาลัยรังสิตพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม

ผศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กล่าวว่าได้ทำการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วม เพื่อใช้ในการเตือนภัยแก่ชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดน้ำท่วม โครงการนี้เป็นโครงการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งได้เข้าแข่งขันในการประกวดนวัตกรรมของกองทุนนวัตกรรม ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เข้ารอบชิงชนะเลิศทั่วประเทศ ในเดือนตุลาคมนี้ และนับเป็นผู้เชี่ยวชาญทำนายน้ำท่วมระบบแรกของประเทศไทย ที่ได้ทำการพัฒนาขึ้น โดยอาศัยศาสตร์ทางด้านโครงข่ายใยประสาทเทียมที่สามารถเรียนรู้ สภาพ เหตุการณ์น้ำท่วมในอดีตของแต่ละลุ่มน้ำได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ผลการทำนายจึงมีความแม่นยำสูงมาก ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้ประยุกต์ใช้ภาษา Java เป็นภาษาหลักในการเขียนโปรแกรม และทำงานในเครื่อง PC ธรรมดา ดังนั้น ผู้ใช้จะสามารถติดต่อสื่อสารกับระบบได้ง่าย โดยไม่ต้องมีความเข้าใจในรายละเอียดการทำงาน กล่าวคือ ระบบจะสร้างผู้ใช้ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ปัจจุบันได้นำไปประยุกต์ใช้กับลุ่มน้ำต่างๆ เช่น แม่น้ำยม บริเวณจังหวัดสุโขทัย แม่น้ำปราจีนบุรี บริเวณเขตอำเภอเมือง และคลองอู่ตระเภาในเขตเทศบาลหาดใหญ่ ผลการคำนวณจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำให้ทราบว่าเมื่อไร น้ำหลากจะมาถึงและมาด้วยความรุนแรงเท่าใด จึงทำให้สามารถลดความสูญเสียทั้งทางด้านชีวิตและทรัพย์สิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ



ที่มา

//learners.in.th/blog/yoklnw/262820




โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 202.29.5.62 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:12:58:10 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ มีลักษณะคล้ายระบบสารสนเทศประเภทอื่น ๆ คือ เป็นระบบคอมพิวเตอร์
ที่ช่วยผู้บริหารแก้ปัญหา หรือสนับสนุนการตัดสินใจ แต่จะแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศประเภทอื่นตรงที่ ใช้หลักการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ มากกว่าการจัดการ
สารสนเทศ ระบบผู้เชียวชาญเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
เลียนแบบขั้นตอนและวิธีการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาโดย
ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใด ๆ ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถนำไปใช้ในขั้นตอนการให้
คำปรึกษา หรือสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้่อน ณ สถานการณ์ใด ๆ
ได้ ระบบผู้เชียวฃาญจะเลือกเฉพาะสาขาหรือ เฉพาะด้านที่ขาดแคลน
ผู้เชี่ยวชาญ
การสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญต้องการข้อมูลจำนวนมากจากผูั้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านนั้น ๆ เพื่อเก็บข้อมูลอย่างละเอียดลงในฐานข้อมูล ที่เรียกว่า
ฐานความรู้ จากนั้นกลไกการวินิจฉัย ซึ่งเปรียบได้กับสมองของระบบจะทำการ
ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานความรู้ และเลือกข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด
ด้วยวิธีการในการคิดหาคำตอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมกับ
ต้องมีส่วนของการติดต่อกับผู้ใชที่มีความสะ้ดวก เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
และใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา

//www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pichai_l/it01/it_type_es.htm
การทำงานของระบบผู้เชี่ยวชาญ
การทำงานของระบบผู้เชี่ยวชาญ Knowledge Representation Methods
- IF - Then Rules (กฎ) คำสั่งแสดงเงื่อนไขจำนวนมากสามารถนำมาใช้เป็นกฎ (Rule) (มีจำนวน 200 ถึง 10,000 เงื่อนไข) กฎที่นำมาใช้ในโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ยังมีการเชื่อมโยง ระหว่างกันอย่างมาก เก็บความสัมพันธ์ไว้ (semiotic) Frames ตาราง ความรู้ที่เก็บแต่ละตาราง
- Knowledge Engineering วิศวกรความรู้ จัดเก็บความรู้อย่างเป็นหมวดหมู่ รู้ความลับต่างๆ ในแต่ละด้าน
- Expert System Shells เปลือกความรู้อะไรนั้น ๆ ก็ใส่เข้าไปหรือความรู้จากการเขียนโปรแกรม
- Foreword Chaining ค้นหาคำตอบได้ 2 วิธี เชื่อมต่อไปเรื่อยๆ (ได้คำตอบมา) Result - driven process
- Back word Chaining กลไกอ้างอิงย้อนกลับท้าวหลัง ตั้งสมมติฐานและถามผู้ใช้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง Goal - driven process ตั้งคำถามนำ (ได้คำตอบกลับมา) จนได้การยืนยัน เราต้องคิดว่าจะทำ ES ไหม ถ้าปัญหาเล็กน้อยก็ ไม่ควรจะทำ
- Factors Justifying the Acquisition of Expert Systems ปัญหาเล็กน้อย ไม่มีโครงสร้าง เกิดบ่อยไหม ต้องมี
ผู้เชี่ยวชาญที่จะให้ประสบการณ์
ที่มา

//www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS/115/2.html






โดย: นายชัยวัฒน์ ศรีอุต หมู่ 22 อังคาร(เช้) IP: 125.26.175.79 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:13:21:42 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น
ที่มา//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8D


โดย: นาย วัชฤทธิ์ มวลพิทักษ์ หมู่22 อ.เช้า IP: 125.26.175.79 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:14:10:42 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Artificial Intelligence / Expert System : AI/ES)
ระบบผู้เชี่ยวชาญ หมายถึง ระบบที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่งคล้ายกับมนุษย์ ระบบนี้ได้รับความรู้จากมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่งเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถวิเคราะห์เหตุผล เพื่อตัดสินใจ ความรู้ที่เก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์นี้ประกอบด้วย ฐานความรู้ (Knowledge Bass) และกฎข้อวินิจฉัย (Inference Rule) ซึ่งเป็นความสามารถเฉพาะที่ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถตัดสินใจได้เอง เช่น การวินิจฉัยความผิดพลาดของรถจักรดีเซลไฟฟ้าโดยใช้คอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของผู้เชี่ยวชาญ
1. ฐานความรู้ (Knowledge Base) เป็นส่วนของความรู้ของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด ซึ่งจะเก็บไว้ในฐานข้อมูลของระบบ
2. โปรแกรมของระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System Software หรือ Software Resources) แบ่งออกได้ 2 ส่วน
1) ส่วนที่ใช้ในการประมวลผลความรู้จากฐานความรู้
2) ส่วนที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้

ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ
1. ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านหนึ่งด้านใดโดยเฉพาะไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้และสามารถนำความรู้มาใช้งานได้ตลอดเวลา
2. ช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจ
3. สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ใช้ระบบในการตัดสินใจ
4. ช่วยให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
5. ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง






โดย: นาย เกรียงไกร สลับศรี จ.บ่าย หมู่1 IP: 192.168.10.115, 117.47.12.205 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:0:07:45 น.  

 
9.1ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่ มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472





โดย: เบญจมาศ โคตรเพชร หมู่ 08 รหัส 52040332107 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:12:48:21 น.  

 


9.1ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่ มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472


โดย: ปรีชา กลมเกลียว หมู่8 พฤหัสบดีเช้า รหัส 52040901222 IP: 124.157.139.201 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:16:37:40 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ประโยชน์
1. ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
3. การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่า งแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น
ที่มา //th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8D



นายเจริญชัย ผ่ามดิน หมู่ 22 (อ.เช้า)


โดย: นายเจริญชัย ผ่ามดิน IP: 58.147.7.66 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:11:41:27 น.  

 

แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด


ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)
เป็นระบบที่ช่วยในการแก้ปัญหาหรือช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์


องค์ประกอบของผู้เชี่ยวชาญ
1. ฐานความรู้ (Knowledge Base) เป็นส่วนของความรู้ของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด ซึ่งจะเก็บไว้ในฐานข้อมูลของระบบ
2. โปรแกรมของระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System Software หรือ Software Resources) แบ่งออกได้ 2 ส่วน
1) ส่วนที่ใช้ในการประมวลผลความรู้จากฐานความรู้
2) ส่วนที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้

ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ
1. ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านหนึ่งด้านใดโดยเฉพาะไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้และสามารถนำความรู้มาใช้งานได้ตลอดเวลา
2. ช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจ
3. สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ใช้ระบบในการตัดสินใจ
4. ช่วยให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
5. ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
//petro22-24.blogspot.com/2009/06/blog-post_27.html


โดย: น.ส.จิราภรณ์ ศุกรักษ์(หมู่15 ศุกร์ เช้า) IP: 192.168.100.12 IP: 222.123.58.158 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:15:08:30 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น
ที่มา//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8D






โดย: น.ส.สุกัญญา พรมสวัสดิ์ (หมุ่ที่ 15 ศุกร์ เช้า ) IP: 61.19.119.253 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:15:14:05 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน
ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่างแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น
ที่มา//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8D



โดย: นาย ณัฐพงศ์ มันทะลา IP: 124.157.129.36 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:18:50:02 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินได้ดีขึ้น ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดี่ยวกับผู้เชี่ยวชาญที่มนุษย์เป็น โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น เนื่องจากระบบนี้คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างต่างกว่าระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องการออกจากองค์กรหรืออาจไม่ปฏิบัติงานได้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทะผลให้กับผู้ตัดสินใจได้อย่างมาก
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตักสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่มีความขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
ระบบผูเชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนเป็นอย่างมาก

ที่มา : //cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm


โดย: นางสาวกฤตยา อินทร์กอ หมู่ 22 IP: 118.174.22.110 วันที่: 4 ตุลาคม 2552 เวลา:1:52:23 น.  

 
นส.เพ็ญนภา เจริญทรง
49240428132 ม.05
ส.13.00-16.00 น.

9.1ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น ๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่าง ให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เนื่องจากระบบนี้ก็คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

ที่ มา
//gotoknow.org/blog/isfpr/269472


โดย: นส.เพ็ญนภา เจริญทรง IP: 192.168.0.109, 180.183.67.230 วันที่: 6 ธันวาคม 2552 เวลา:14:51:56 น.  

 
แบบฝึกหัด
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System : ES)



มีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่น คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหา หรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น ES จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (Knowledge) มากกว่า สารสนเทศถูกออกแบบมาให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการ
ทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)


ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น ๆ เป็นการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มา โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้ เป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม


โดย: นายธีรยุทธ วันทอง คบ.ภาษาอังกฤษ รหัส 52100102145 หมู่ 08 พฤหัสเช้า IP: 202.29.5.242 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:17:03:59 น.  

 
ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด
ตอบ

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) หรือ ระบบผู้ชำนาญการ หรือระบบความรู้ (Knowledge-Based System) เป็นระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชาญฉลาด (Intelligent Program) ทำงานในลักษณะเลียนแบบกระบวนการคิดหาเหตุผลในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เชี่ยวชาญมนุษย์ได้ โดยอาศัยฐานความรู้ (Knowledge base) และกลไกการอนุมาน (Inference Engine) เป็นองค์ประกอบหลักในการทำงาน

[แก้] ประโยชน์
ป้องกันและรักษาความรู้ซึ่งอาจสูญหายไปขณะทำการเรียกข้อมูลหรือการยกเลิกการใช้ข้อมูล การใช้ข้อมูล ตลอดจนการสูญหาย เนื่องจากขาดการเก็บรักษาความรู้ อย่างเป็นระบบ และเป็นระเบียบ แบบแผน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน และมักจะถูกพัฒนาให้สามารถตอบสนอง ต่อปัญหาในทันทีที่เกิดความต้องการ
การออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System มักจะคำนึงถึงการบันทึกความรู้ในแต่ละสาขาให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ ระบบสามารถปฏิบัติงานแทนผู้เชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System จะสามารถตัดสินปัญหาอย่า งแน่นอ น เนื่องจากระบบถูกพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานโดยปราศ จากผล กระทบ ทางร่างกายและอารมณ์ที่มีอยู่ในตัวมนุษย์เช่น ความเครียด ความเจ็บ ป่วย เป็นต้น
ระบบผู้เชี่ยวชาญ Expert System เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ โดยเฉพาะองค์การสมัยใหม่ ( Modern Organization ) ที่ต้องการ สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการตลาด การลดต้นทุน การเพิ่มการผลิตภาพ เป็นต้น


โดย: **** นายสุรศักดิ์ พฤคณา 52100102101 คบ.ภาษาอังกฤษ หมู่ 8 พฤหัสบดี เช้า IP: 172.29.5.133, 202.29.5.244 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:17:45:59 น.  

 
9.1. ระบบผู้เชี่ยวชาญมีคุณสมบัติอย่างไรและใช้หลักการทำงานด้วยระบบใด

ตอบ

ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) คือ ศาสตร์แขนงหนึ่งทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีพื้นฐานมาจากวิชาวิทยา การคอมพิวเตอร์ ชีววิทยา จิตวิทยา ภาษาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้มีพฤติกรรมเลียนแบบมนุษย์ รวมทั้งเลียนแบบความเป็นอัจฉริยะของมนุษย์



ลักษณะงานของปัญญาประดิษฐ์

1. Cognitive Science

งาน ด้านนี้เน้นงานวิจัยเพื่อศึกษาว่าสมองของมนุษย์ทำงานอย่างไร และมนุษย์คิดและเรียนรู้อย่างไร จึงมีพื้นฐานที่การประมวลผลสารสนเทศในรูปแบบของมนุษย์ประกอบด้วยระบบต่างๆ

- ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems) ระบบนี้จะพยายามลอกเลียนแบบความสามารถของผู้เชียวชาญที่เป็นมนุษย์ในการแก้ปัญหาต่างๆ

- ระบบเครือข่ายนิวรอน (Neural Network) ถูกออกแบบให้เลียนแบบการทำงานของสมองมนุษย์ ทั้งในส่วนของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

- ระบบแบ๊บแน็ต (Papnet) เป็นระบบที่ใช้ในการแยกความแตกต่าง เช่น แยกความแตกต่างของเซลล์มนุษย์

- ฟัสซี่โลจิก (Fuzzy Logic) เป็น ระบบที่เกี่ยวข้องกับการใช้กฎพื้นฐาน และสามารถทำงานกับข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์ หรือกำกวม หรือค่าไม่เที่ยงตรง หรือไม่แน่นอนได้ ซึ่งระบบจะพยายามหาคำตอบให้กับปัญหาที่ไม่มีโครงสร้าง ด้ายการพิจารณากาข้อมูลเท่าที่มีเท่านั้น ระบบนี้ใช้วิธีการหาคำตอบได้แบบมนุษย์มากกว่าระบบงานทั่วไปซึ่งใช้เพียง ประโยคเงื่อนไขธรรมดา

- เจนเนติกอัลกอริทึม (Genetic Algorithm) หรือ อัลกอริทึมพันธุกรรม ใช้หลักการด้านพันธุกรรมของชาร์ล ดาร์วิน การสุ่ม และฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ในการสร้างกระบวนการวิวัฒนาการด้วยตนเองของระบบใน การหาคำตอบที่ดียิ่งขึ้นโดยใช้แนวทางการแก้ปัญหาแนวเดียวกับที่สิ่งมีชีวิต ปรับตัวเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อม

- เอเยนต์ชาญฉลาด (Intelligent Agents) ใช้ระบบผู้เชี่ยวชาญหรือเทคนิคของปัญญาประดิษฐ์อื่นๆ เพื่อพัฒนาเป็นโปรแกรมประยุกต์ให้กับผู้ใช้ปลายทาง

- ระบบการเรียนรู้ (Learning Systems) เป็นระบบที่สามารถพัฒนาพฤติกรรมของระบบเองด้วยการพัฒนาจากข้อมูลที่ระบบได้รับในระหว่างการประมวลผล


โดย: นาย นุกูลกิจ ลีทุม 52100102146 คบ.อังกฤษ หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) IP: 202.29.5.240 วันที่: 19 มกราคม 2553 เวลา:14:35:44 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 
 
 

neaup
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 35 คน [?]




มาเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้กันนะคะ
[Add neaup's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com
pantip.com pantipmarket.com pantown.com