4 | | | ตำนานอาถรรพ์ อาชญากรโลกไม่ลืม ฆาตกรรมบันลือโลก ประวัติศาสตร์ทั่วมุมโลก | | |

Group Blog
 
All blogs
 

เยอรมันกับแนวคิดตัวตน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ บุรุษโลกตะลึง (ตอนที่ 8)





วันที่ 21 เมษายน แนวรบโซเวียต ได้เจาะผ่านการป้องกันสุดท้ายของกองทัพเยอรมัน และรุกเข้าไปยังชานกรุงเบอร์ลิน ฮิตเลอร์สั่งการให้ทหารที่ภักดี และกองทัพเยอรมันที่ 9 ได้รับคำสั่งให้โจมตีขึ้นทางเหนือในการโจมตีแบบโอบล้อมแต่นายทหารก็แข็งข้อ ทรยศกับเขา ต่อมาประชุมทหารเมื่อวันที่ 22 เมษายน เขาได้รับบอกเล่าว่า การโจมตีนั้นไม่เคยเกิดขึ้น และรัสเซียได้ตีฝ่าเข้าไปในกรุงเบอร์ลิน ทำให้ฮิตเลอร์ขอให้ทุกคน ยกเว้นคนสนิทบางคนออกจากห้องประชุม จากนั้นเขาได้ประณามต่อการทรยศ และความไร้ความสามารถของผู้ไต้บังคับบัญชาของเขาอย่างเผ็ดร้อน เขาประกาศเป็นครั้งแรกว่า เยอรมนีแพ้สงคราม ฮิตเลอร์ประกาศว่าเขาจะอยู่ในกรุงเบอร์ลินจนถึงจุดจบ คนสนิทเขาได้ออกประกาศวันที่ 23 เมษายน กระตุ้นให้พลเมืองเบอร์ลินป้องกันนครอย่างกล้าหาญ วันเดียวกันนั้น ผู้ปกครองที่แต่งตั้งส่งโทรเลขจากรัฐบาวาเรีย ว่าตั้งแต่ฮิตเลอร์ถูกตัดขาดในกรุงเบอร์ลิน ตัวเขาควรเป็นผู้นำเยอรมนีแทน โดยบอกว่าฮิตเลอร์ไร้ความสามารถ

ฮิตเลอร์ตอบโต้ด้วยความโกรธ โดยสั่งจับกุม และเมื่อเขียนคำสั่งเสียเมื่อวันที่ 29 เมษายน เขาถอดผู้ปกครองที่แต่งตั้งออกจากตำแหน่งทั้งหมดในรัฐบาล กรุงเบอร์ลิน ถูกตัดขาดจากส่วนที่เหลือของเยอรมนีอย่างสิ้นเชิง วันที่ 28 เมษายน ฮิตเลอร์พบว่า คนสนิทกำลังพยายามเจรจาเงื่อนไขการยอมแพ้ ต่อสัมพันธมิตรตะวันตก เขาจึงสั่งจับกุมคนสนิทและสั่งยิงทิ้งทันทีในกรุงเบอร์ลิน หลังเที่ยงคืนวันที่ 29 เมษายน ฮิตเลอร์สมรสกับเอวา เบราน์ ในพิธีตามกฎหมายเล็ก ๆ ในห้องแผนที่ภายในที่พักผู้นำ หลังทานอาหารเช้างาน งานแต่งงานที่เรียบง่ายกับภรรยาใหม่ของเขา จากนั้น เขานำเลขานุการ ไปอีกห้องหนึ่งและบอกให้เขียนคำสั่งเสียสุดท้ายของเขา เหตุการณ์ดังกล่าวมีคนสนิทหลายคนเป็นพยานและลงนามเอกสาร ในช่วงบ่ายฮิตเลอร์ได้รับแจ้งข่าวถึงการลอบสังหารผู้นำเผด็จการชาวอิตาลี เบนิโต มุสโสลินี ซึ่งตั้งใจที่จะหนีการจับตั

วันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1945 หลังการสู้รบถนนต่อถนนอย่างเข้มข้น กองทัพโซเวียตอยู่ในระยะหนึ่งหรือสองช่วงตึก จากทำเนียบรัฐบาลเยอรมัน ฮิตเลอร์และภรรยาทำการฆ่าตัวตาย ภรรยากัดแคปซูลไซยาไนด์ และฮิตเลอร์ยิงตัวตายด้วยปืนพกของเขา ร่างไร้วิญญาณของฮิตเลอร์และภรรยา ถูกนำขึ้นบันได และผ่านทางออกฉุกเฉินของบังเกอร์ ไปยังสวนที่ถูกระเบิดหลังทำเนียบรัฐบาล ทั้งสองร่างถูกวางไว้ในหลุมระเบิด ราดด้วยน้ำมัน และจุดไฟ ขณะที่กองทัพโซเวียตยิงปืนใหญ่ถล่มต่อเนื่อง เยอรมันยอมจำนน เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม บันทึกในจดหมายเหตุโซเวียต ซึ่งได้มาหลังสหภาพโซเวียตล่มสลาย แสดงให้เห็นว่า ศพของฮิตเลอร์ ภรรยา ลูก ๆ ทั้งหกคน ทหารคนสนิท และสุนัขของฮิตเลอร์ ถูกฝังและขุดขึ้นมาหลายครั้

การฆ่าตัวตายของอิตเลอร์ เป็น "คาถา" เสื่อม เมื่อปราศจากผู้นำ ลัทธิชาติสังคมนิยมก็ "ระเบิดเหมือนกับฟอง" พฤติการณ์ของฮิตเลอร์และอุดมการณ์นาซี ถูกคนเกือบทั้งโลกมองว่า ผิดศีลธรรมอย่างร้ายแรง ฮิตเลอร์ส่งเสริมภาพลักษณ์ของตนต่อสาธารณะว่า เป็นภาพลักษณ์ชายที่อยู่เป็นโสดโดยปราศจากชีวิตครอบครัว อุทิศตนทั้งหมดให้แก่ภารกิจทางการเมืองและประเทศชาติ ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1931 เกลี เราบัล หลานสาวของเขา ฆ่าตัวตายด้วยปืนของฮิตเลอร์ในอพาร์ตเมนต์ของเขา หลานของเขามีความสัมพันธ์ กับฮิตเลอร์

ความตายของเธอนั้นเป็นบ่อเกิดแห่งความทุกข์ลึกล้ำและยาวนาน เขาพบ เอวา เบราน์ ภรรยาลับของเขา ใน ค.ศ. 1929 และสมรสกับเธอในเดือน เมษายน ค.ศ. 1945 ก่อนการเสียชีวิต เขามองว่าชาวอาหรับ "เป็นเชื้อชาติต่ำกว่า" เขาเชื่อว่า ชาวเยอรมันที่เป็นเชื้อชาติสูงส่งกว่า ฮิตเลอร์ยกย่องศาสนาชินโตและวัฒนธรรมญี่ปุ่น แต่ฮิตเลอร์นั้นเน้นการปฏิบัติมากกว่า เขาทุกข์ทรมานจากอาการและโรคต่าง ๆ ได้แก่ โรคลำไส้แปรปรวน รอยโรคที่ผิวหนัง หัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคพาร์กินสัน ซิฟิลิส และมีเสียงในหู อีกด้านหนึ่ง เขาเป็นคนกินมังสวิรัติ ไม่กินเนื้อ เพราะกลัวโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคที่ทำให้มารดาของเขาเสียชีวิต เขาเป็นผู้นำต้านการทดลองในสัตว์ และเลือกทานอาหารอย่างลึกซึ้ง คนสนิทสั่งให้สร้างเรือนกระจกใกล้กับที่พักผู้นำ เพื่อให้ฮิตเลอร์มีผลไม้และผักเพียงพออย่างต่อเนื่องตลอดสงคราม เขาไม่ดื่มเหล้า และไม่สูบบุหรี่ เขาเป็นตัวตั้งตัวตีการรณรงค์งดสูบบุหรี่อย่างเข้มแข็งทั่วประเทศเยอรมนี


ขอบคุณที่มา : https://www.facebook.com/topsecretthai






 

Create Date : 10 กรกฎาคม 2557    
Last Update : 10 กรกฎาคม 2557 16:06:03 น.
Counter : 964 Pageviews.  

เยอรมันกับแนวคิดตัวตน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ บุรุษโลกตะลึง (ตอนที่ 7)





วันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ญี่ปุ่นโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร
์ รัฐฮาวาย 4 วันให้หลังการประกาศสงครามอย่างเป็นทางการต่อสหรัฐอเมริกาของฮิตเลอร์ ทำให้เยอรมนีเข้าสู่สงครามกับกำลังผสม 3 ประเทศ ซึ่งมีประเทศจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในโลก คือ จักรวรรดิอังกฤษ ประเทศอุตสาหกรรมและการเงินยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก คือ สหรัฐอเมริกา และประเทศที่มีกองทัพใหญ่ที่สุดในโลก คือ สหภาพโซเวียต

ธันวาคม ค.ศ. 1941 ฮิตเลอร์ ตัดสินใจสั่งกำจัดยิวแห่งรัสเซียเหมือนเป็นพลพรรค เป็นคำสั่งสังหารฆาตกรรมทางเผ่าพันธ์ ที่ดำเนินระหว่างการล้างชาติโดยนาซี เดือน มกราคม ค.ศ. 1942 มีการสังหารชาวยิว และผู้ถูกเนรเทศอื่นซึ่งถูกพิจารณาว่าไม่พึงปรารถนา ฮิตเลอร์กล่าวต่อเพื่อนร่วมงานว่า "สุขภาพดีของเราจะฟื้นคืนก็ด้วยการสังหารยิวเท่านั้น" มีค่ายกักกันและค่ายมรณะนาซีประมาณ 30 แห่ง ฤดูร้อน ค.ศ. 1942 สถานที่ตั้งค่ายกักกันถูกดัดแปลงให้สามารถรองรับผู้ถูกเนรเทศจำนวนมากเพื่อสังหารหรือใช้แรงงานทาส ฮิตเลอร์มีความสนใจโดยตรงในการพัฒนาห้องรมแก๊ส ระหว่าง ค.ศ. 1939 -1945 แค่ 6 ปี ตำรวจลับเอสเอส ของรัฐบาลเยอรมัน รับผิดชอบต่อการเสียชีวิตถึง 11-14 ล้านชีวิต ในจำนวนนี้เป็นชาวยิว 6 ล้านคน หรือคิดเป็น 2 ใน 3 ของประชากรยิวในยุโรป และชาวโรม 500,000 - 1,500,000 คน การเสียชีวิตเกิดขึ้นในค่ายกักกันและค่ายมรณะ ย่านชาวยิว และการประหารชีวิตหมู่

เหยื่อการล้างชาติ หลายคนถูกรมแก๊สจนเสียชีวิต ขณะที่บางคนเสียชีวิตเพราะหิวโหย หรือป่วยขณะใช้แรงงานทาส นโยบายของฮิตเลอร์ยังส่งผลให้มีการสังหารชาวโปแลนด์ และเชลยศึกโซเวียต พวกคอมมิวนิสต์และศัตรูการเมืองอื่น พวกรักร่วมเพศ ผู้พิการทางกายหรือใจ ผู้นับถือลัทธิพระยะโฮวาห์ นิกายแอดเวนติสต์ และผู้นำสหภาพแรงงาน ฮิตเลอร์ ไม่เคยปรากฏว่าเยือนค่ายกักกันและมิได้พูดถึงการสังหารอย่างเปิดเผย ปลาย ค.ศ. 1942 กองทัพเยอรมันพ่ายแพ้ในยุทธการครั้งที่สอง ทำให้แผนการของฮิตเลอร์ในการยึดคลองสุเอซและตะวันออกกลางสะดุด ค.ศ. 1943 ยุทธการสตาลินกราดในรัสเซีย สิ้นสุดลงด้วยความพ่ายแพ้ของกองทัพเยอรมัน ถูกทำลายลงอย่างสิ้นเชิง ตามด้วยความพ่ายแพ้เด็ดขาดในยุทธการเคิสก์ ในตะวันออกกลาง

การตัดสินใจทางทหารของฮิตเลอร์เริ่มไม่มั่นคงเพิ่มขึ้น และฐานะทางทหารและเศรษฐกิจของเยอรมนีบั่นทอนลงไป พร้อมกับสุขภาพของฮิตเลอร์ คนใกล้ชิดและคนอื่นๆ เชื่อว่า ฮิตเลอร์อาจป่วยเป็นโรคพาร์กินสัน ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรรุกรานอิตาลี จนมุสโสลินีถูกปลด ยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตร ช่วง ค.ศ. 1943 - 1944 สหภาพโซเวียตค่อย ๆ บีบให้กองทัพของฮิตเลอร์ ล่าถอยตามแนวรบด้านตะวันออก วันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1944 กองทัพสัมพันธมิตรตะวันตกขึ้นฝั่งทางตอนเหนือของฝรั่งเศส ในหนึ่งในปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบกที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด ด้วยเหตุความเสื่อมถอยของกองทัพเยอรมัน โอกาสที่เยอรมนีจะแพ้สงครามเพิ่มขึ้น นายทหารหลายคนจึงสรุปว่า ความพ่ายแพ้หลีกเลี่ยงไม่ได้ และการตัดสินใจผิดพลาดหรือการปฏิเสธของฮิตเลอร์ จะยืดสงครามออกไปและส่งผลให้ประเทศชาติพังพินาศย่อยยับ ระหว่าง ค.ศ. 1939 และ 1945 มีหลายแผนในการลอบสังหารฮิตเลอร์ ความพยายามลอบสังหารหลายครั้งต่อฮิตเลอร์จึงเกิดขึ้นระหว่างช่วงนี้

กรกฎาคม ค.ศ. 1944 แผนที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดมาจากภายในเยอรมนี คือ เดือน แผนลับ ส่วนหนึ่งของติดตั้งระเบิดไว้ในกองบัญชาการแห่งหนึ่งของฮิตเลอร์ (รังหมาป่า) ฮิตเลอร์รอดชีวิตอย่างหวุดหวิด เพราะบางคนผลักกระเป๋าเอกสารที่บรรจุระเบิดไปหลังขาโต๊ะประชุมที่หนักอย่างไม่รู้ เมื่อเกิดระเบิดขึ้น โต๊ะสะท้อนแรงระเบิดส่วนมากไปจากฮิตเลอร์ ภายหลัง ฮิตเลอร์สั่งการตอบโต้อย่างโหดร้าย ซึ่งส่งผลให้มีการประหารชีวิตคนกว่า 4,900 คน จนถึงปลาย ค.ศ. 1944 กองทัพโซเวียตได้ขับไล่ กองทัพเยอรมันถอยกลับไปยังยุโรปตะวันตก และสัมพันธมิตรตะวันตก รุกคืบเข้าไปในเยอรมนี

หลังได้รับแจ้งความล้มเหลวของการรุกของเยอรมัน ฮิตเลอร์จึงตระหนักว่าเยอรมนีกำลังแพ้สงคราม ความหวังของเขา จึงขึ้นอยู่กับการถึงแก่อสัญกรรมของประธานาธิบดีอเมริกา แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งอเมริกา ดังนั้นเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1945 มีการเจรจาสันติภาพกับอเมริกาและอังกฤษ ฮิตเลอร์จึงสั่งการให้ทำลายโครงสร้างพื้นฐานทางอุตสาหกรรมทั้งหมดของเยอรมนี ก่อนที่จะตกอยู่ในมือฝ่ายสัมพันธมิตร มุมมองของเขา คือ ความล้มเหลวทางทหารของเยอรมนีเสียสิทธิ์ในการอยู่รอดเป็นชาติ การดำเนินการแผนการเผาทุกสิ่งทุกอย่างนี้ ถูกมอบหมายไปยังรัฐมนตรีทางอาวุธ ผู้ขัดคำสั่งเขาอย่างเงียบ ๆ วันที่ 20 เมษายน วันเกิดปีที่ 56 ฮิตเลอร์เดินทางครั้งสุดท้ายจากที่พักของผู้นำไปยังสวนที่ถูกทำลายของทำเนียบรัฐบาลไรช์ เขามอบกางเขนเหล็กให้ทหารเด็กแห่งยุวชนฮิตเลอร์



ขอบคุณที่มา : https://www.facebook.com/topsecretthai









 

Create Date : 10 กรกฎาคม 2557    
Last Update : 10 กรกฎาคม 2557 16:03:21 น.
Counter : 1407 Pageviews.  

เยอรมันกับแนวคิดตัวตน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ บุรุษโลกตะลึง (ตอนที่ 6)





คนยิวแม้ไม่ใช่ครอบครัวนายท
ุน ก็พลอยมีฐานะการเงินที่ดี ในสังคมไปตามๆ กัน ส่วนคนเยอรมันก็ต้องเป็นลูกจ้างกรรมกรในโรงงานของยิว แถมถูกกดค่าแรง การยึดครองธุรกิจของยิว ยังนำมาใช้สร้างชนชั้นวรรณะ สินค้าชั้นดีที่ผลิตได้ไม่ทันความต้องการ จะเก็บไว้ขายให้ชาวยิวเท่านั้น ส่วนของห่วยๆ ก็ค่อยขายให้คนเยอรมัน คนเยอรมันสมัยนั้นจึงคับแค้นใจเพราะถูกกดขี่ทุกทางเอามาก ๆ ปัญหาชนชั้นในเยอรมันยิ่งหนักหนา เมื่อชนชั้นคนรวย เป็นกลุ่มชนต่างชาติ และรวยขึ้นมาด้วยวิธีการผูกขาดผิดกฎหมายการค้า ส่งผลให้คนเยอรมันเจ้าของประเทศยากจน สมัยนั้นรองเท้า จำเป็นสำหรับชีวิตเอามากๆ เมื่อเกิดจลาจลทำร้ายชาวยิวตามท้องถนนในเมืองต่างๆ คนยิวนอกจากถูกทุบตีทำร้ายแล้ว จะถูกถอดแย่งเอารองเท้าไปด้วย ชาวยิวที่ตกเป็นเหยื่อ จะถูกบังคับให้เดินเท้าเปล่าไปตามถนน 

ฮิตเลอร์ เองจึงเกลียดยิวมาก เพราะยิวเป็นผู้มายึดครองเยอรมันในอดีต และขับไล่ชนชั้นอารยันออกจากประเทศเยอรมัน เมื่อยิวเข้ามายึดครองเยอรมันแล้ว ก็ได้มาแย่งที่ทำมาหากิน และแย่งอาหารของชาวเยอรมัน ทำให้ฮิตเลอร์ในวัยเด็ก ต้องมานอนอาศัยอยู่ตามกองขยะ และสถานีรถไฟ นอกจากการที่ยิวมาแย่งอาหารแล้ว ยิวยังทำอาหารไม่สะอาด เช่น การทำอาหารโดยการใช้เท้าเหยียบ ทำให้ชาวเยอรมันพากันป่วยเป็นโรคระบาดต่าง ๆ ฮิตเลอร์ จึงฝังใจแต่เด็กว่า เผ่าพันธุ์ยิว มีสติปัญญาสูงมาก มีศาสนาที่ทำให้เขาอดทน พากเพียร พยายาม และมีความชาตินิยมในเผ่าพันธุ์สูง ถ้าเผ่าพันธุ์นี้ รวมตัวเป็นปึกแผ่น และ ขยายอำนาจก็อันตรายเกินไป สำหรับเพื่อนร่วมโลก..ความโลภ และความไร้ยุติธรรม ของชาวยิวนั่นเอง ที่ฆ่าชาวยิว

แนวคิดของคนเยอรมัน กับยิวในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 นั้น เยอรมันแพ้สงคราม จึงต้องปฏิบัติตามสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ซึ่งร่างขึ้นโดยกลุ่มนายธนาคารยิวสากล และเป็นการเอารัดเอาเปรียบชาวเยอรมันเป็นอย่างมาก แต่ละประเทศ จะต้องหาเงินกู้จากนายธนาคารยิว ที่ทรงอิทธิพลการเงินอยู่ทั่วยุโรป เพื่อจัดซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์ แหล่งทรัพยากรสำคัญของประเทศจะต้องนำออกมาใช้อย่างไม่มีทางเลี่ยงชาวยิวจึงตั้งใจว่า สนธิสัญญานี้จะเป็นการบีบบังคับให้เกิดสงครามโลกขึ้นอีกครั้งหนึ่ง เพราะรู้ว่า ในที่สุดคนเยอรมันก็จะสิ้นสุดความอดทน ลุกขึ้นต่อสู้ สงครามก็จะปะทุขึ้นอีกแน่นอน 

กันยายน ค.ศ. 1939 เยอรมนีก็ได้รุกรานโปแลนด์ทางตะวันตก อังกฤษและฝรั่งเศสตอบโต้โดยประกาศสงครามต่อเยอรมนีในวันที่ 3 กันยายน ซึ่งได้สร้างความประหลาดใจแก่ฮิตเลอร์ และเมื่อวันที่ 17 กันยายน กองทัพโซเวียตรุกรานโปแลนด์จากทางตะวันออก เขาทำ"สงครามลวง" สั่งการให้โปแลนด์ตะวันตกเฉียงเหนือ โดยผู้ปกครองที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ 2 คนให้ยอมรับความขัดแย้งกับผู้ปกครองอีก 1 คน และไม่ให้พาดพิงถึงเขา การจัดการกับกรณีพิพาทแนวนี้ ได้ถูกพัฒนาเป็นตัวอย่างของทฤษฎี สั่งการอย่างคลุมเครือและคาดหวังให้ผู้ใต้บังคับบัญชาของเขา ดำเนินนโยบายนั้นเองโดยอเมริกา และ EU ในปัจจุบัน

ฮิตเลอร์สั่งการให้เสริมสร้างกำลังทหารตามชายแดนตะวันตกของเยอรมนี และใน ค.ศ. 1940 กองทัพเยอรมัน รุกรานเดนมาร์กและนอร์เวย์ และกองทัพของฮิตเลอร์โจมตีฝรั่งเศส และพิชิตลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์และเบลเยียม ชัยชนะเหล่านี้กระตุ้นให้อิตาลี เข้าพวกกับฮิตเลอร์ และฝรั่งเศสยอมจำนนกับเยอรมันในเวลาต่อมา 
อังกฤษ ซึ่งกองทัพถูกบีบให้ออกจากฝรั่งเศสทางทะเล ยังคงสู้รบเคียงข้างเครือจักรภพอังกฤษอื่น ๆ ในยุทธนาวีทางทะเล ฮิตเลอร์เสนอแผนสันติภาพต่ออังกฤษ ซึ่งขณะนี้นำโดยนายพลวินสตัน เชอร์ชิลล์ และเมื่อการเสนอนั้นถูกปฏิเสธ ฮิตเลอร์ได้สั่งการให้เครื่องบินทิ้งระเบิดโจมตีต่อ สหราชอาณาจักรทันที  การรุกรานสหราชอาณาจักรที่วางแผนไว้ของฮิตเลอร์สำเร็จ โดยโจมตีทางอากาศต่อฐานทัพอากาศกองทัพอากาศอังกฤษ และสถานีเรดาร์ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ แต่กองทัพอากาศของเยอรมนี ยังไม่สามารถเอาชนะกองทัพอากาศอังกฤษได้

วันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1940 สนธิสัญญาไตรภาคี ลงนามในกรุงเบอร์ลิน โดยจักรวรรดิญี่ปุ่น, ฮิตเลอร์ และ อิตาลี ต่อมาขยายไปรวมถึงฮังการี โรมาเนียและบัลแกเรีย จุดประสงค์ของสนธิสัญญา คือ เพื่อขัดขวางสหรัฐอเมริกามิให้สนับสนุนอังกฤษ จนถึงปลายเดือนตุลาคม ค.ศ. 1940 ฮิตเลอร์สั่งการโจมตีทางอากาศยามกลางคืนตามนครต่าง ๆ ของอังกฤษ รวมทั้งลอนดอน และเมืองสำคัญอื่น ๆ ในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1941 กองทัพเยอรมันไปถึงลิเบีย เพื่อสนับสนุนอิตาลี แล้วเขาสั่งการรุกรานยูโกสลาเวีย และตามด้วยการรุกรานกรีซในเวลาอันรวดเร็ว กองทัพเยอรมันถูกส่งไปสนับสนุนกำลังกบฏอิรัก ที่สู้รบกับอังกฤษ และรุกรานครีต ฮิตเลอร์ออกคำสั่งรุกหน้าอย่างเดียว

ทหารโซเวียตตรงพรมแดนตะวันออกของเยอรมนีในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1941 อาจเป็นเหตุให้ฮิตเลอร์ มีความคิด "บุกไปข้างหน้า" เพื่อเผชิญหน้ากับความขัดแย้งอันหลีกเลี่ยงไม่ได้ มิถุนายน ค.ศ. 1941 ทหารเยอรมัน 3 ล้านนายโจมตีสหภาพโซเวียต การรุกรานนี้ได้ยึดพื้นที่ได้กว้างใหญ่ไพศาล รวมทั้งรัฐบอลติก เบลารุส และยูเครน การรุกรานสหภาพโซเวียตของกองทัพบกเยอรมันถึงขีดสุดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1941 เมื่อกองพลทหารราบ รุกเข้าไปภายในรัศมี 24 กิโลเมตรจากกรุงมอสโก ใกล้พอที่จะเห็นยอดแหลมของราชวังเครมลิน แต่เพราะพวกเขาไม่ได้เตรียมการสำหรับสภาพอันโหดร้ายของฤดูหนาวรัสเซีย และการต้านทานอย่างดุเดือดของกองทัพโซเวียต จึงผลักดันกองทัพเยอรมันถอยออกมาเป็นระยะทางกว่า 320 กิโลเมตร จากกรุงมอสโก


ขอบคุณที่มา : https://www.facebook.com/topsecretthai








 

Create Date : 10 กรกฎาคม 2557    
Last Update : 10 กรกฎาคม 2557 16:02:07 น.
Counter : 607 Pageviews.  

เยอรมันกับแนวคิดตัวตน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ บุรุษโลกตะลึง (ตอนที่ 5)





ก่อนชาวยิวมีธรรมเนียมการทำ
ธุรกิจแบบเอารัดเอาเปรียบ ผูกขาด แบบที่สมัยนี้หลายประเทศถือว่าผิดกฎหมาย ตัวอย่าง เช่น ชาวยิวกลุ่มหนึ่ง เป็นลูกหลานของกิจการค้าเพชรพลอยที่มั่งคั่งร่ำรวย และอิ่มตัวแล้ว จะต้องหาทางไปลงทุนในกิจการอย่างอื่น กลุ่มนายทุนชาวยิวพวกนั้นจะมาประชุมกัน สมมติว่าตกลงจะลงทุนในธุรกิจโรงงานทำขนมปัง นายทุนชาวยิวจะให้ทุนลูกหลาน คนรุ่นใหม่ ไปลงทุนทำธุรกิจโรงงานทำขนมปัง แต่เขาจะไม่ทำแค่แห่งเดียว แต่จะทำหลายๆ โรงงาน หลายๆ ชื่อ พร้อมๆ กัน เนื่องจากมีเงินทุนหนา ตอนแรกจะยอมขาดทุน โดยอาศัยเงินทุนจากกิจการเพชรพลอยมาค้ำโรงงานทำขนมปัง ไว้ ก็เพื่อกดดันให้โรงงานทำขนมปัง ของคนเยอรมันที่เป็นรายย่อยเลิกกิจการไปนั่นเอง..หลักการคล้ายโชห่วยของไทย โดนห้างใหญ่เยอร์มัน ฝรั่งเศส มาเปิด จนเจ๊งวินาศตอนนี้

เมื่อโรงงานขนมปังอื่นเริ่มประกาศขายกิจการ ยิวก็จะเข้าไปซื้อกิจการนั้นเพิ่ม พอยิวมีส่วนแบ่งรวมในตลาดมากพอ ก็จะกดดันร้านขายขนมปัง โดยสร้างเงื่อนไขว่า ต้องซื้อขนมปังจากโรงงานของชาวยิวเท่านั้น ถ้าพบว่าร้านขายขนมปังแห่งใด ซื้อจากโรงงานของคนเยอรมัน โรงงานขนมปังของยิวทั้งหมด จะไม่ยอมขายขนมปังให้ ด้วยข้ออ้างสารพัด เช่น ผลิตไม่ทัน ฯลฯ โรงงานยิว จะขายขนมปังให้ร้านของชาวยิวในราคาถูกพิเศษ แบบไม่เอากำไร ทำให้ร้านขายขนมปังของชาวยิว สามารถขายปลีกขนมปังในราคาถูกกว่าร้านของคนเยอรมัน แล้วยิวบีบให้ร้านขายขนมปังเยอรมัน ต้องซื้อจากโรงงานของชาวยิวในราคาที่แพงกว่าเท่านั้น โรงงานขนมปังของคนเยอรมันที่เหลือ ก็เจ๊งหมด ค่อยๆทะยอยปิดกิจการลง

ยิวก็เข้าไปกดราคาบังคับซื้อร้านขายขนมปังเอาถูก ๆ อีก พอยิวได้ครอบครองโรงงานขนมปังทั้งหมด ก็เริ่มตั้งร้านขายขนมปังของตนเอง ส่วนคนงานทำขนมปังก็เริ่มถูกกดค่าแรง ไม่มีทางย้ายที่ทำงาน เพราะโรงงานทั้งหมดเป็นของยิว ในที่สุดยิวก็ครอบครองกิจการผลิต จำหน่ายขนมปังได้ทั้งหมด ครบวงจรแล้ว ยิวก็จะขึ้นราคาขนมปังตามใจชอบ ฟันกำไรชดเชยกับที่ยอมขาดทุนในตอนแรก ประชาชนเยอรมันต้องซื้อขนมปังในราคาแพง พอผ่านไปหลายปี บรรดาลูกหลานชาวยิวในธุรกิจขนมปังเริ่มเติบโต ธุรกิจขนมปังอิ่มตัวแล้ว ขาวยิวก็จะประชุมกันอีกว่าจะยึดครองการค้าชนิดใดของคนเยอรมันต่อไป เป็นวงจรแบบนี้เรื่อย ๆ ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เศรษฐกิจเยอรมันทรุดไปทั่ว ส่งผลให้เปิดโอกาสให้ยิวเข้ายึดครองธุรกิจไปหลายประเภท ลัทธิยิวนิยมทำให้ คนยิวมีโอกาสได้ตำแหน่งงานที่ดีในธุรกิจที่มีคนยิวเป็นเจ้าของ


ขอบคุณที่มา : https://www.facebook.com/topsecretthai










 

Create Date : 10 กรกฎาคม 2557    
Last Update : 10 กรกฎาคม 2557 15:50:12 น.
Counter : 966 Pageviews.  

เยอรมันกับแนวคิดตัวตน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ บุรุษโลกตะลึง (ตอนที่ 4)

สิงหาคม ค.ศ. 1934 ประธานาธิบดีถึงแก่อสัญกรรม หนึ่งวันก่อนหน้านั้น คณะรัฐมนตรีได้ผ่านกฎหมายให้มีผลใช้บังคับเมื่อประธานาธิบดีเสียชีวิต ซึ่งล้มล้างตำแหน่งประธานาธิบดีและรวมอำนาจของประธานาธิบดีกับนายกรัฐมนตรี ฮิตเลอร์จึงกลายมาเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและประมุขรัฐบาล มีชื่อทางการว่า ผู้นำและนายกรัฐมนตรี ด้วยกฎหมายนี้ จึงไม่สามารถถอดเขาออกจากตำแหน่งได้ ในฐานะประมุขแห่งรัฐ ฮิตเลอร์จึงเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดด้วย การมอบสัตย์ปฏิญาณของทหารและกะลาสีตามประเพณี ถูกเปลี่ยนเป็นการยืนยันความภักดีต่อฮิตเลอร์โดยตรง วันที่ 19 สิงหาคม การรวมตำแหน่งประธานาธิบดีกับนายกรัฐมนตรีได้รับการอนุมัติโดยการลงประชามติ ซึ่งได้รับเสียงสนับสนุน 90% ของผู้ออกมาใช้สิทธิ

ต้น ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์บีบให้รัฐมนตรีกลาโหมลาออก เมื่อสำนวนตำรวจพบว่าภรรยาใหม่ของบเขาเคยมีประวัติเป็นโสเภณี ฮิตเลอร์ถอดผู้บัญชาการทหารบก โดยสร้างข้อกล่าวหาว่าเขามีส่วนในความสัมพันธ์รักร่วมเพศ นั่นเพราะคนทั้งคู่ได้คัดค้าน ฮิตเลอร์ที่ให้ทั้งสองเตรียมกองทัพบกให้พร้อมเข้าสู่สงครามภายใน ค.ศ. 1938 เขาดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด ดังนั้น จึงสามารถบังคับบัญชากองทัพได้โดยตรง พลเอก 16 นายถูกถอดจากตำแหน่ง และ 44 นายถูกย้าย พลเอกอื่นอีก 12 นายถูกปลด ทั้งหมดถูกสงสัยว่าไม่นิยมนาซีมากพอ หลังได้เสริมสร้างอำนาจการเมืองของเขาแล้ว ฮิตเลอร์ปราบปรามหรือกำจัดคู่แข่งของเขาด้วยการ "จัดแถว" เขาพยายามหาการสนับสนุนจากสาธารณะเพิ่มเติมโดยสัญญาว่าจะพลิกฟื้นภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ และยกเลิกสนธิสัญญาแวร์ซาย

ปี ค.ศ. 1935 ฮิตเลอร์แต่งตั้งคนสนิท เป็นผู้มีอำนาจเต็มด้านเศรษ
ฐกิจสงคราม รับผิดชอบการเตรียมเศรษฐกิจเพื่อสงคราม การฟื้นฟูบูรณะและการติดอาวุธใหม่ได้รับจัดหาเงินทุน และการยึดสินทรัพย์ของผู้ที่ถูกจับกุมในข้อหาเสี้ยนหนามแผ่นดิน รวมทั้งยิว การว่างงานลดลงอย่างมาก จาก 6 ล้านคนใน ค.ศ. 1932 เหลือ 1 ล้านคนใน ค.ศ. 1936 ฮิตเลอร์เป็นผู้ดูแลหนึ่งในโครงการพัฒนาสาธารณูปโภคหนึ่งในครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์เยอรมนี ซึ่งนำไปสู่การก่อสร้างเขื่อน ทางหลวง ทางรถไฟและงานสาธารณะอื่น ๆ ค่าจ้างลดลงเล็กน้อยในช่วงปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ขณะที่ค่าครองชีพเพิ่มขึ้น 25% รัฐบาลฮิตเลอร์สนับสนุนสถาปัตยกรรมอย่างกว้างขวาง สถาปนิกแบบคลาสสิกของฮิตเลอร์นำไปปรับกับวัฒนธรรมเยอรมัน ถูกกำหนดให้รับผิดชอบการปฏิสังขรณ์สถาปัตยกรรมในเบอร์ลิน ฮิตเลอร์เปิดกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนในเบอร์ลิน เขาการปฏิเสธการจำกัดทางทหารภายใต้สนธิสัญญาแวร์ซาย 





ค.ศ. 1933 เยอรมนีถอนตัวจากสันนิบาตชาติและการประชุมปลดอาวุธโลก แล้วประกาศขยายกำลังพลทหารบกเป็น 600,000 นาย เป็น 6 เท่า ของจำนวนที่สนธิสัญญาแวร์ซายอนุญาต รวมถึงการพัฒนากองทัพอากาศ และการเพิ่มขนาดกองทัพเรือ ทำให้ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี และสันนิบาตชาติ ประณามแผนการเหล่านี้ว่าเป็นการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย มีนาคม ค.ศ. 1936 เยอรมนียึดครองเขตปลอดทหาร อีกครั้ง อันเป็นการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย ฮิตเลอร์ส่งกำลังเข้าไปในสเปนเพื่อสนับสนุนผู้นำทหาร หลังได้รับการขอความช่วยเหลือ ในขณะเดียวกัน เขาพยายามสร้างพันธมิตรอังกฤษ-กับเยอรมนีอย่างต่อเนื่อง ในการสนองต่อวิกฤตเศรษฐกิจที่ลุกลามขึ้นอันเกิดจากความพยายามสร้างเสริมอาวุธขึ้นใหม่

ฮิตเลอร์จึงสั่งคนสนิท เพื่อดำเนินการแผนการ 4 ปี เพื่อให้เยอรมนีพร้อมทำสงคราม ในอนาคต ในมุมมองของฮิตเลอร์ จำเป็นต้องมีความพยายามที่ผูกมัดในการเสริมสร้างอาวุธโดยไม่คำนึงถึงมูลค่าทางเศรษฐกิจ รัฐมนตรีต่างประเทศของรัฐบาลอิตาลี ประกาศเป็นพันธมิตรต่อกันระหว่างเยอรมนีกับอิตาลี และในวันที่ 25 พฤศจิกายน เยอรมนีลงนามในสนธิสัญญาต่อต้านองค์การคอมมิวนิสต์สากลกับญี่ปุ่น อังกฤษ จีน อิตาลี และโปแลนด์ ได้รับเชิญให้เข้าร่วมสนธิสัญญาดังกล่าวด้วย แต่มีเพียงอิตาลีเท่านั้นที่ลงนามใน ค.ศ. 1937

ฮิตเลอร์โมโหจึงทิ้งพันธมิตรอังกฤษ-เยอรมนี โดยกล่าวโทษว่าผู้นำอังกฤษ "ไม่เหมาะสม" เขาจัดการประชุมลับที่ทำเนียบรัฐบาล กับรัฐมนตรีกลาโหมและต่างประเทศ ตลอดจนหัวหน้าทหารในเดือนพฤศจิกายนปีนั้น สั่งเตรียมทำสงครามในทางตะวันออก ซึ่งจะเริ่มขึ้นไม่เกิน ค.ศ. 1943 เขารู้สึกว่าวิกฤตเศรษฐกิจเยอรมนีได้มาถึงจุดที่มาตรฐานการครองชีพในเยอรมนีถดถอยรุนแรง จนต้องใช้เฉพาะนโยบายก้าวร้าวทางทหาร คือ ยึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกีย เท่านั้น ฮิตเลอร์กระตุ้นการปฏิบัติอย่างรวดเร็ว ต้น ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์ถือสิทธิ์ควบคุมระบบนโยบายทางทหาร-ต่างประเทศ โดยปลดคนอื่นจากตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศ เขาดำเนินนโยบายต่างประเทศซึ่งมีสงครามเป็นเป้าหมายสูงสุด

มโนทัศน์หลักของนาซี คือ แนวคิดความสะอาดเชื้อชาติ ค.ศ. 1935 เขาเสนอกฎหมายสองฉบับ ห้ามการสมรสระหว่างผู้ที่มิใช่ยิว กับเยอรมันเชื้อสายยิว และห้ามการจ้างสตรีมิใช่ยิวอายุต่ำกว่า 45 ปีในครัวเรือนยิว นโยบายด้านพันธุศาสตร์ช่วงแรกของฮิตเลอร์มุ่งไปยังเด็กที่บกพร่องทางกายและการพัฒนา และภายหลังอนุมัติขยายโครงการไปยังผู้ใหญ่ที่บกพร่องทางจิตและกายอย่างร้ายแรง มุ่งการได้มาซึ่งดินแดนใหม่สำหรับการตั้งถิ่นฐานของชาวเยอรมันในยุโรป กำหนดให้ประชากรในยุโรปตะวันออกและสหภาพโซเวียตส่วนที่ถูกยึดครองถูกเนรเทศไปยังไซบีเรียตะวันตก เพื่อใช้เป็นแรงงานทาสหรือสังหารทิ้ง ดินแดนที่ถูกพิชิตจะถูกตั้งเป็นอาณานิคมของผู้ตั้งถิ่นฐานชาวเยอรมันหรือถูกทำให้เป็นเยอรมัน

เลอร์จึงยุติการเป็นพันธมิตรกับสาธารณรัฐจีน และเข้าเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นที่ทันสมัยและทรงอำนาจกว่า ฮิตเลอร์ประกาศรับรองแมนจูกัว รัฐที่ญี่ปุ่นยึดครองในแมนจูเรีย ฮิตเลอร์สั่งยุติการส่งอาวุธไปยังจีน และเรียกนายทหารเยอรมันที่ทำงานกับกองทัพจีนทั้งหมดกลับ เพื่อเป็นการตอบโต้ พลเอก เจียง ไคเช็กของจีน ยกเลิกความตกลงเศรษฐกิจจีน-เยอรมนีทั้งหมด ทำให้เยอรมนีขาดวัตถุดิบจากจีน แม้จีนจะยังขนส่งทังสเตนซึ่งเป็นโลหะสำคัญในการผลิตอาวุธต่อไป มีนาคม ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์ประกาศรวมออสเตรีย เข้ากับนาซีเยอรมนี เขามุ่งความสนใจไปยังประชากรเชื้อชาติเยอรมันในแคว้นย่อยของเชโกสโลวาเกีย

มีนาคม ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์จัดการประชุมลับขึ้นหลายครั้งในกรุงเบอร์ลิน โดยตกลงว่าผู้นำกบถของแคว้นย่อย ฯ จะเรียกร้องสิทธิปกครองตนเองเพิ่มขึ้นจากรัฐบาลเชโกสโลวาเกีย ซึ่งจะเป็นข้ออ้างสำหรับการปฏิบัติทางทหารต่อเชโกสโลวาเกีย เมษายน ค.ศ. 1938 ผู้นำกบถของแคว้นย่อย ฯ บอกรัฐมนตรีต่างประเทศฮังการีว่า ไม่ว่ารัฐบาลเช็กจะเสนออะไร เขาจะเรียกร้องสูงขึ้นเสมอ” เพราะนี่เป็นเพียงวิธีเดียวที่จะโจมตีเชโกสโลวาเกียอย่างรวดเร็ว เจตนาที่แท้จริงของเขานั้นคือสงครามพิชิตเชโกสโลวาเกีย กันยายน ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์ อังกฤษ เชโกสโลวาเกีย และผู้นำเผด็จการอิตาลี เข้าร่วมการประชุมซึ่งนำไปสู่ความตกลงมิวนิก ซึ่งได้มอบแคว้นย่อยให้แก่เยอรมนี แต่ฮิตเลอร์โกรธกับโอกาสทำสงครามที่พลาดไป เขาผิดหวัง เพราะในมุมมองของฮิตเลอร์ สันติภาพซึ่งอังกฤษเป็นนายหน้านั้น แม้จะอำนวยประโยชน์ต่อการเรียกร้องบังหน้าของเยอรมนี แต่ก็เป็นความพ่ายแพ้ทางการทูต

ในปลาย ค.ศ. 1938 และต้น ค.ศ. 1939 วิกฤตการณ์เศรษฐกิจที่ดำเนินต่อไปซึ่งเกิดขึ้นจากความพยายามสร้างเสริมอาวุธใหม่บีบให้ฮิตเลอร์ตัดงบประมาณป้องกันประเทศลงอย่างมาก ต่อมาก ฮิตเลอร์จึงสั่งให้ทหารรุกรานเมืองปราก และจากนั้นได้ประกาศให้เมืองโบฮีเมียและโมราเวียเป็นรัฐในอารักขาของเยอรมนี

ค.ศ. 1939 ฮิตเลอร์จึงตัดสินใจรุกรานโปแลนด์ ซึ่งเขาถือว่าเป็นเป้าหมายนโยบายต่างประเทศหลักของเยอรมนี ฮิตเลอร์ ขัดใจที่อังกฤษ "รับประกัน" เอกราชของโปแลนด์ สาเหตุหนึ่งที่ฮิตเลอร์เร่งทำสงคราม เพราะความกลัวผิดปกติและหมกมุ่นของเขาว่าจะตายก่อนวัยอันควร และดังนั้น จึงมีความรู้สึกว่า เขาอาจไม่มีชีวิตอยู่จนสำเร็จงานของเขาก็ได้


ขอบคุณที่มา : https://www.facebook.com/topsecretthai











 

Create Date : 10 กรกฎาคม 2557    
Last Update : 10 กรกฎาคม 2557 15:49:03 น.
Counter : 771 Pageviews.  

1  2  3  4  5  6  7  

hathairat2011
Location :
กรุงเทพฯ Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 12 คน [?]










Google

ขอบคุณที่แวะมา
อย่าลืมคอมเม้นท์นะจ้ะ

Flag Counter

ส่งอีเมล์

Facebook ของ Hathairat



New Comments
Friends' blogs
[Add hathairat2011's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.