เกม Civilization กับอีกด้านหนึ่งของบริษัท BRITISH EAST INDIA COMPANY

 

เกม civilization ผู้คิดพัฒนาคือ sid meier ฉายาเขาคือ The godfather of computer gameing แปลเป็นภาษาไทยแบบบ้าน เจ้าพ่อแห่งเกมทุกสถาบัน ซึ่ง ณ ปัจจุบันอายุ 65 ปีเป็นคนแคนาดา แต่มาจบที่ university of Michigan ทางด้าน computer science ทำงานได้สักพัก็ออกาบเปิดบริษัท ในชื่อ microProse ใน ปี 1982 ซึ่งก็เป็นช่วง apple II วางจำหน่ายเช่นเดียวกัน และใน 1987 ก็เริ่มวางจำหน่ายเกมวางแผน ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับโจรสลัดก่อน นั้นคือ Sid Meier's Pirates! แน่นอนเกมประสบความสำเร็จ แต่สิ่งที่เปลี่ยนตลอดกาล คือดินเนอร์ของสมาคมผู้จัดจำหน่ายซอฟทแวร์สหรัฐอเมริกา ตัวของ Meirer ได้มีโอกาสสนทนากับ Robin Williams ดาราดังผู้ล่วงลับและกลายเป็นแรงบันดาลใจหลังจากสนทนา “แค่เพิ่มชื่อ Pirates และ Civillzation เข้าไปสิ เกมนายดังแน่นอน” และคำทำนายก็เป็นจริง ทุกวันนี้เกม Civillzation ไม่ใช่แค่เกมวางแผนยึดเมืองสร้างประเทศ แต่กลับกลายเป็นตำราให้กับ โรงเรียนในแคนาดา และสหรัฐรวมทั้งยุโรป ก็ได้สอนให้นักเรียนได้เข้าใจประวัติศาสตร์ ในการพัฒนาประเทศต่างๆ และผู้ครองนคร ,กษํตริย์ และผู้นำ ในยุคต่างๆในเกมด้วย
ในภาพอาจจะมี 1 คน, ข้อความ
------------------------------------------------------------------------------------------

ไม่มีคำอธิบายรูปภาพ
และย้อนกลับมาถึง บริษํท ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลก ซึ่งได้หายไป และกลายเป็นตำนาน ซึ่งกลายเป็นบริษัทข้ามชาติแห่งแรกของโลก โลดแล่นตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1600 พ.ศ. 2143 ได้รับพระราชทานตราตั้งบริษัท ซึ่ง ณ ช่วงนั้น อาณาจักรอุยธยากำลังรบกับรัฐสาวดี และเป็นช่วงที่บริษํทก็เข้ามามีบทบาทในสงครามโดยการส่งอาวุธให้กับกองทัพสยาม ซึ่ง สมเด็จพระนเรศวรมหาราชก็นำปืนศิลา มาใช้ในการบ
บริษํทแห่งนี้ เป็นจุดกำเนิดของหลายๆเรื่องก็ว่าได้
1. การเริ่มใช้ระบบระดมทุน โดยให้ผู้ร่วมลงทุนต้องมีเงินมาลงทุนภายใน 4 ปี และจะได้รับผลตอบแทนจากการลงทุน ถ้าเป็นปัจจุบันก็คือบริษัท และบริษัทหมาชน
2. การทุ่มตลาด สมัยก่อนการปลูกฝ้ายก็เริ่มมีในยุโรปแต่ เมื่อมีเจ้าอี่น ที่ไปเป็ดบริษัทแข่งก็จัดการทุ่มตลาด กวาดซื้อฝ้ายมาอยุ่ในมือให้มากที่สุด และรวมทั้งชาและฝิ่น
3. การมีกองกำลังเรือรบ และอาวุธครบพร้อม ในยุคนั้น เรียกว่าพร้อมจะปะทะตั้งคนปกครองในแคว้น การได้ครอบครองเส้นทางเดินเรือ ของฮอลันดา โปรตุเกส จนถึง ฝรั่งเศส ณ ปัจจุบันคือการมีกองกำลังแบบ ทหารสหรัฐไปตั้งฐานทัพไว้ ทั่วโลก และ เรือบรรทุกเครื่องบิน
4. เป็นบริษัที่เริ่มต้นของตั้งสาขาแห่งแรกๆของโลก และเป็นบริษัทที่เริ่มต้นสงครามหลายครั้ง อันได้ สรครามปลาซี ในวันที่ 23 มิ.ย.1757 โดยโรเบริต์ ไคลฟ์ (คนนี้ถือว่าทำให้บริษัทนี้เปลี่ยนแลงหลายอย่าง) ในเบงกอล ,สงครามภูมิวันดอช ใน ค.ศ1761 สงครามบุซาร์ซึ่งทะเลาะกับข้าหลวงแห่งจักรวรรดิโมกุล ใน ค.ศ 1764 สงครามอังฤกษ พม่าครั้งที่ 1 ใน ค.ศ.1824-1826 เป็นต้น (บ้าพลังมาก)
5. เครื่องดีมและกีฬา ไม่ว่าจะเป็น คริสเกต โปโล เทนนิส เครื่องดี่มอย่าง จินผสมโทนิค หรึอสมัยนี้เรียกว่า จินโทนิค ก็ได้ถ่ายทอดกับประเทศอินเดียและประเทศรอบข้างไปด้วย (อินเดียเก่งคริตเกต และโปโลอันดับหนึ่งและสองของโลก)
-----------------------------------------

ตั้งแต่ ศ.ศ 1600 ก่อตั้งจนมาในที่สุด ก็โดนรัฐบาลอังฤษเข้ามาแทนทีใน ค.ศ. 1862 เดือนมิถุนายน

262 ปีของการดำรงอยู่บริษํทนั้นถือว่าไม่ธรรมดา มีมีทั้งช่วงขาดทุนจากสินค้าหล่นหาย โดนปล้น บางทีก็ไปปล้นเขาซะเองก็มี เอาของจากจีน ลุกน้องขโมย ลุกน้องออกไปตั้งบริษัทแข่ง ยักยอกเงิน เรียกว่าครบทุกรสชาติ จนสุดท้ายบริษัทก็เหลือเพียงแต่ชื่อและประวัติศาสตร์ให้คนทั่วโลก เล่าขานกันต่อไป
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ชอบเรื่องเกมกับประวัติศาสตร์กับเรื่องจริง ติดตามเพจของเรากันได้ที่ https://www.facebook.com/BullRunsworld

-----วิธีทำ จินโทนิค https://www.dooddot.com/3-super-quick-steps-to-make-gin-to…/

ข้อมูลอ้าง
1. https://learn.culturalindia.net/brief-history-british-east-…
2.https://interestingengineering.com/sid-meier-the-godfather-…
3.https://en.wikipedia.org/wiki/Civilization_(series)…




Create Date : 05 กุมภาพันธ์ 2563
Last Update : 5 กุมภาพันธ์ 2563 12:24:35 น.
Counter : 797 Pageviews.

0 comments
ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
 *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

สมาชิกหมายเลข 1929592
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]



Group Blog
กุมภาพันธ์ 2563

 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29