|
|
| 1 | 2 | 3 |
4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 |
11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 |
18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 |
25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 |
|
|
|
|
|
|
|
|
ชามคลัช
สวัสดีครับ
หายไปนานกับเรื่องราวเกี่ยวกับการบำรุงรักษามอเตอร์ไซค์
คราวนี้มานำเสนอเรื่องคลัช (Clutch) ครับ
คลัช ทำหน้าที่ ตัด และต่อ ชุดข้อเหวี่ยงเข้ากับชุดเฟืองเกียร์ เพื่อส่งผ่านกำลังและแรงบิดจากข้อเหวี่ยงไปยังชุดเกียร์ ลงสู่ล้อหลัง
ภายในชามคลัช จะประกอบด้วย แผ่นคลัช ซึ่งจะสลับกันอยู่ระหว่างแผ่นเหล็กหรือวัสดุอื่น ตามแต่ผู้ผลิตจะออกแบบ
แผ่นคลัช จะมี 2 อย่างคือ แผ่นใน และแผ่นนอก
แผ่นใน คือจะรับแรงส่งไปยังแกนเฟืองเกียร์ แผ่นนอก จากรับแรงจากชุดข้อเหวี่ยงและชามครัลส่งไปยังแผ่นใน
ในรูปคือ แผ่นใน

ส่วนภาพนี้คือ แผ่นนอก

อันนี้คือหน้าตาของชามคลัช

จากภาพ จะแสดงส่วนของชามคลัช กับส่วนที่รับแรงจากชุดข้อเหวี่ยง

ภายในชามคลัช จะมีสปริง และยางกันกระชากอยู่ ซึ่งยางและสปริงนี้ ทำหน้าที่รับแรงกระชากจากข้อเหวี่ยง เพื่อเพิ่มอายุใช้งานของชุดเฟืองต่างๆ และลดเสียงรบกวนเมื่อเฟืองขบกัน

นี่คือสปริงกันกระชาก โดยจะมียางหนุนอยุ่หัว-ท้ายสปริง

ซึ่งอุปกรณ์ทั้งหมด จะถูกย้ำปิดตายด้วยหมุด
หากใช้ไปนานๆ สปริงในชามคลัช จะล้า จะทำให้เกิดเสียง สามารถเปลี่ยนได้โดยเอาไปย้ำคลัช ซึ่งจริงๆแล้วมันแค่เป็นการเปิดและปิดชุดคลัชเข้าไปใหม่
ไม่มีผลกับตอนออกตัวแต่อย่างใด
Create Date : 24 มีนาคม 2550 |
Last Update : 24 มีนาคม 2550 21:00:32 น. |
|
0 comments
|
Counter : 5364 Pageviews. |
 |
|
|
| |
|
|
Location :
กรุงเทพ Thailand
[ดู Profile ทั้งหมด]
|
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 3 คน [?]

|
ก็แค่มนุษย์เดินดินคนหนึ่ง
ที่ชอบเที่ยว
ชอบพาหนะสองล้อ
ชอบเดินป่า
ชอบที่จะเดินทางตามความฝัน
พร้อมเสมอ แม้จะต้องเดินทางลำพังคนเดียว
===============
หากวันทำงาน คือช่วงเวลาที่ยาวนาน และเหน็ดเหนื่อย
เราก็ทำวันหยุดที่แสนสั้น ให้หนักหนาสาหัส และโหดกว่า
วันทำงาน ก็จะกลายเป็นวันพักผ่อนที่แสนสบายและยาวนาน
|
|
|
|
|
|
|
|