สุขกับสิ่งที่มีและเป็น...


<<
มกราคม 2554
 
 1
2345678
9101112131415
16171819202122
23242526272829
3031 
 
16 มกราคม 2554
 

การเลือกขนาดกลุ่มตัวอย่าง(2)



สวัสดีค่ะ พบกันอีกวันแล้วนะคะ


    วันนี้รู้สึกดีใจที่มีเพื่อนมาช่วยกันแสดงความคิดเห็นค่ะ ต้องขอขอบคุณทุกท่านนะคะ


คราวที่แล้วเราพูดถึงการหาขนาดกลุ่มตัวอย่างว่ามีหลายวิธี และยกตัวอย่าง วิธีการของทาโร ยามาเน และแน่นอนค่ะวิธีการหาขนาดกลุ่มตัวอย่างต้องเข้าใจธรรมชาติของแต่ละวิธีเพื่อให้เลือกใช้สถิติในการวิจัยได้ถูกต้อง (ถ้าเพื่อน ๆ สงสัยกลับไปอ่านตอนที่ 1 นะคะ)


  เหมือนที่เพื่อน ๆ ได้แสดงความคิดเห็นเพิ่มว่าแบบของทาโร ยามาเนก็มีจุดอ่อน แต่ส่วนใหญ่จะนิยมใช้กับการวิจัยเชิงสำรวจ มีการแจกแบบสอบถามแบบสุ่ม ทีนี้เรามารู้จักวิธีที่ 2 นะคะ


  การหาขนาดตัวอย่างแบบ ตาราง Krejcie & Morgan


           วิธีนี้ก็สะดวกค่ะ สำหรับคนไม่ชอบคำนวณ และเชื่อมั่นว่าเป็นการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง (Sample Size) ที่เชื่อมั่นว่าทุกหน่วยประชากรได้มีโอกาสรับเลือกเป็นตัวแทนของประชากร ค่ะ วิธีการก็คือ เปิดตารางแสดงจำนวนประชากรและจำนวนกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie and Morgan  ดูว่าจำนวนประชากรเท่าไร แล้วดูขนาดกลุ่มตัวอย่าง ตรงนี้ตารางบอกไว้ชัดเจนค่ะ



























จำนวนประชากร



กลุ่ม


ตัวอย่าง



จำนวนประชากร



กลุ่ม


ตัวอย่าง



จำนวนประชากร



กลุ่ม


ตัวอย่าง



จำนวนประชากร



กลุ่ม


ตัวอย่าง



10


15


20


25


30


35


40


45


50


55


60


65


70


75


80


85


90


95


100


110


120


130


140



10


14


19


24


28


32


36


40


44


48


52


56


59


63


66


70


73


76


80


86


92


97


103



150


160


170


180


190


200


210


220


230


240


250


260


270


280


290


300


320


340


360


380


400


420


440



108


113


118


123


127


132


136


140


144


148


152


155


159


162


165


169


175


181


186


191


196


201


205



460


480


500


550


600


650


700


750


800


850


900


950


1,000


1,100


1,200


1,300


1,400


1,500


1,600


1,700


1,800


1,900


2,000



210


214


217


226


234


242


248


254


260


265


269


274


278


285


291


297


302


306


310


313


317


320


322



2,200


2,400


2,600


2,800


3,000


3,500


4,000


4,500


5,000


6,000


7,000


8,000


9,000


10,000


15,000


20,000


30,000


40,000


50,000


75,000


100,000



327


331


335


338


341


346


351


354


357


361


364


367


368


370


375


377


379


380


381


382


384




(ที่มา : Robert V. Krejcie and Earyle W. Morgan. Educational and Psychological Measurement, 1970 : 608-609)


    เอาไว้คราวหน้าเรามาดูต่อว่ามีวิธีไหนอีก แล้วหากเราไม่ทราบจำนวนประชากรเราจะกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างอย่างไร แล้วหากเราจะต้องใช้สถิติชั้นสูงขึ้นไปเรามีวิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง อย่างไร


ราตรีสวัสนะคะ Smiley






Free TextEditor




 

Create Date : 16 มกราคม 2554
3 comments
Last Update : 16 มกราคม 2554 21:08:53 น.
Counter : 3303 Pageviews.

 
 
 
 
เกิดประโยชน์มากขอบคุณค่ะ คนดี
 
 

โดย: ครูเหมียว IP: 113.53.157.107 วันที่: 17 มิถุนายน 2554 เวลา:6:15:05 น.  

 
 
 
กำลังสนใจ การสุ่มกลุ่มตัวอย่างคะอาจารย์
ขอชมว่าเยี่ยมจริง ๆๆๆ



Sutida_hongsrimon@hotmail.com ฝากเมล์ไว้ถ้าอาจารย์จะกรุณางานที่เนื้อหามาก
 
 

โดย: สุธิดา หงษ์ศรีหม่น ป.เอก หลักสูตร รุ่น 2 IP: 125.26.224.243 วันที่: 19 มิถุนายน 2554 เวลา:19:26:08 น.  

 
 
 
กำลังสนใจ การสุ่มกลุ่มตัวอย่างคะอาจารย์
ขอชมว่าเยี่ยมจริง ๆๆๆ



Sutida_hongsrimon@hotmail.com ฝากเมล์ไว้ถ้าอาจารย์จะกรุณางานที่เนื้อหามาก
 
 

โดย: สุธิดา หงษ์ศรีหม่น ป.เอก หลักสูตร รุ่น 2 IP: 125.26.224.243 วันที่: 19 มิถุนายน 2554 เวลา:19:26:44 น.  

Name
Opinion
*ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก

Rjaantick
 
Location :
มหาสารคาม Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 6 คน [?]




ชีวิต คือการแสวงหาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่จะอยู่และเป็นอย่างเป็นสุขบนสิ่งที่มีและเป็น
[Add Rjaantick's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com