Group Blog
 
All blogs
 

สรุปเนื้อหาอาจารย์นราธิป อ่ำเที่ยงตรง 10/09/2007

สรุปเนื้อหาอาจารย์นราธิป อ่ำเที่ยงตรง 10/09/2007
Make Up Class


บทที่ 5 ดุลการชำระเงิน
เนื้อหาส่วนใหญ่ที่เอามาให้ให้เพื่อนๆไปเพิ่มเติมเองใน slide นะ
Slide 1 เหมือนเดิม
Slide 2 เพิ่มเติม Economic Transaction คือ การทำธุรกรรมทางเศรษฐกิจ กิจหรรมของเศรษฐกิจ
ดุลชำระเงินคือ บัญชีที่บันทึกรายรับรายจ่ายเงินตราต่างประเทศ จากการทำ Economic Transaction หรือการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจสำหรับผู้มีภูมิลำเนาในประเทศ A กับผู้มีภูมิลำเนาประเทศอื่นๆ ภายใน 1 ปี 6 เดือน หรือ 3 เดือน
IMF กำหนดให้ทุกประเทศมีดุลการชำระเงินเหมือนกัน 3 บัญชี คือ 1. บัญชีเดินสะพัด 2. บัญชีทุน 3. บัญชีเงินสำรองต่างประเทศ จัดทำเพื่อหาผลรวมรายรับรายจ่ายของประเทศ Economic Status ดุภาพรวมเศรษฐกิจเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์
1. บัญชีเดินสะพัด คือ Above the line
2. บัญชีทุน Above the line
3. บัญชีเงินสำรองต่างประเทศ under the line
บัญชีเดินสะพัดแบ่งย่อยออกเป็น 3 บัญชี คือ
1.บัญชีดุลสินค้าและบริการ
1.1 ดุลการค้า คือ ส่วนต่างของมูลค่าสินค้าเข้า ออก Balance of Trade หรือ เรียกว่าผลต่างสุทธิกรณี รายรับมากกว่ารายจ่าย เราเรียกว่า เกินดุล ( surplus ) รายรับน้อยกว่ารายจ่าย เรียกว่า ขาดดุล (deficit )
1.2 ดุลบริการ
- ค่าขนส่ง
- ค่าโดยสาร
- ดุลบริการการท่องเที่ยว ค่าที่พัก ค่าอาหาร รายได้ในประเทศไทยไทยได้รับมากต่อปี เพราะมาจาก การที่นักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวในเมืองไทย ถ้าจัดอันดับประเทศที่น่าท่องเที่ยว ประเทศไทย ติด อันดับ 5 ของโลก และ อันดับ 2 ของเอเชีย
1.3 รายจ่ายของรัฐ ซึ่งไม่รวมในรายการอื่นๆ เช่น รายจ่ายของทหารที่ไปปฏิบัติงานต่างประเทศ รายจ่ายทางการทูต
1.4 บริการอื่นๆ การสื่อสาร การก่อสร้าง ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร
2. บัญชีรายได้ Income
เป็นค่าตอบแทนแรงงานหรือรายได้จากการลงทุน FDI
แรงงานไทยไปต่างประเทศเป็น Credit แรงงาน Debit เงิน
แรงงานต่างประเทศมาประเทศไทยเป็น Debit แรงงาน Credit เงิน
3.การโอนเงินบริจาค ( ตาม Slide )
4. ทุนสำรองระหว่างประเทศ



Slide ที่13 อัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ เป็นแบบ 2 ระบบย่อย
1. ระบบมาตรฐานทองคำ
2. ระบบปริวรรษทองคำ
อัตราแลกเปลี่ยนแบบเปลี่ยนแปลงได้
1. อัตราลอยตัวแบบเสรี
2. อัตรลอยตัวภายใต้การจัดการ
- ซึ่งประเทศไทยใช้อยู่ในปัจจุบัน BOI การคลังเป็นคนกำหนดอัตรา
3. อัตราลอยตัวร่วมกัน
- กลุ่มประเทศ IMF ปรับประเทศอื่นที่ไม่ใช่สมาชิกเกิดอุปสรรคทางการค้า
ระบบควบคุมการแลกเปลี่ยนตามสไลด์นะจ้ะ
ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงอัตราการแลกเปลี่ยน
1. การเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนทางการ
- การลดค่าเงินทำให้ระบบเศรษฐกิจฝืดมากแต่ก็ทำให้มีคนอยากลงทุนเยอะ
- การเพิ่มค่าค่าเงิน
2. การเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนทางการตลาด
- Market Rate ถือตาม demand และ Supply
- ค่าเงินลด ค่าเงินเพิ่ม
การแก้ไขดุลการค้าและดุลชำระเงินขาดดุล
- Subsidy
- Devalvatism
- Import Control
- ส่งเสริมการลงทุน BOI
- ส่งเสริมการท่องเที่ยว
รายละเอียดอื่นๆให้อ่านในสไลด์นะ
ผลกระทบค่าเงินแข็งใครได้ใครเสีย
ผู้ที่ได้รับประโยชน์
- Importer สินค้าถูกลง,ชื้อได้มากขึ้น
- ลูกหนี้
- นักท่องเที่ยวไทย
ผู้ที่เสียประโยชน์
- Exporter ไม่มีคนอยากซื้อสินค้า, ต้นทุนสูง, สินค้าราคาแพง
- เจ้าหนี้
- นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศ
- นักลงทุนต่างชาติ
การขาดดุลเกินไปไม่ดี เงินเฟ้อ เกินฟองสบู่
ขาดดุล EX < IM
เกินดุล EX > IM
สมดุล EX = IM




 

Create Date : 22 กันยายน 2550    
Last Update : 23 กันยายน 2550 11:35:28 น.
Counter : 829 Pageviews.  

ถอดเทปวันที่ 4 กันยายน 2550

สรุปอาจารย์นราธิป อ่ำเที่ยงตรง
Section 6191 วันอังคารที่ 4 กันยายน 2550


Free Trade คือ ทำอย่างไรก็ได้ให้ปลอดภาษีซึ่งกันและกันเน้นการค้าระหว่างประเทศให้คล่องตัวขึ้นมาเยอะแยะที่เดียวไม่มีมาตรการกีดกันการค้าใดๆเลยทั้ง TB และ NTB อย่างเช่นภาษีนำเข้าที่สอนไปแล้วเมื่ออาทิตย์ที่แล้ว
- ภาษีสินค้าออกจำกัดอย่างไร จำกัดปริมาณโควต้า การแบนพวกสารพิษต่างๆ การปริวรรษเงินตรา ( Exchange Control) โดยการให้ Exchange Control ต่ำกว่าประเทศอื่น อาจมีการเล่นแง่เล่นโกงกัน ผ่านช่องทางนี้
Government Procument การจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐดูราคาไม่พอต้องดูคุณภาพด้วย ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการขายให้ภาครัฐที่มีจำนวนมาก ส่วนใหญ่มักใช้การ Bidding การประมูลออนไลน์ คีย์ ผ่านคอมพิวเตอร์ หรือเรียกว่า E-Market Place ตลาดกลาง แหล่งของถูกความหมายคล้ายๆตลาดไท สี่มุมเมือง
ในยุคทักษิณเปลี่ยนเป็นระบบ E-Market Place ทั้งหมด เปลี่ยนเป็นการจัดซื้อของทาง Internet โดยที่มีบริษัทกลางไม่กี่บริษัท ที่เป็น E-Market Place ซึ่งจะรวมเอาคำสั่งซื้อ รวมงานทุกชนิด เอามารวมไว้และให้หน่วยรัฐมาขอราคา เท่ากับเป็น Out Source ของรัฐบาลนั่นเองปัจจุบันตัดปัญหาเรื่องการรอคอยการประมูล การเดินทางอาจไม่สะดวก จึงจัดให้ผู้ประมูลมี Computer คนละ 1 เครื่อง แล้วคีย์ข้อมูลเข้าไป ข้อมูลที่คีย์เข้าไปเป็นแบบระบบออนไลน์ สามารถตรวจสอบได้ และใครที่คีย์ข้อมูลได้เร็ว และมีคุณภาพที่ดีราคาที่ถูกก็จะได้รับเลือกให้ผลิตสินค้า
Q : E-Market Place กีดกันการค้าอย่างไร
- ตัดระบบพ่อค้าคนกลางออกไป ซึ่ง E-Market Place ถือว่าเป็นพ่อค้าคนกลางก็ได้ซึ่งแต่งตั้งโดยรัฐบาล
-มีการเอื้อเฟื้อคนในประเทศมากกว่าต่างประเทศ ซึ่งขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาลด้วย เพราะการสั่งซื้อมีมูลค่ามหาศาลและมีสัญญาต่อกัน มีการ Auto Run หรือ การต่อสัญญาอัตโนมัติ เอาแนวทางกับภาครัฐบาลเป็นเกณฑ์
E-Market Place ควรเป็นเช่นไร
- มีการดูแลอย่างดี อย่างรอบคอบ
-ระบบต้องมีความแข็งแกร่ง
-ระบบต้องมีความเข้าใจง่าย สำหรับข้าราชการผู้ใช้
การคุ้มครองเศรษฐกิจภายใน BOI คุ้มครองต่างประเทศด้วย ใครที่จะนำเข้า นำออก BOI จะทำการสนับสนุนเพราะถือว่าเป็นการลงทุนซึ่ง BOI บางประเทศสนับสนุนแต่ประเทศของตนเองซึ่งบางประเทศเป็น Infant Industry หรือ อุตสาหกรรมทารก
- Infant Industry คือ อุตสาหกรรมแรกเริ่ม เป็นอุตสาหกรรมเล็กๆในประเทศรัฐบาลต้องมาโอบอุ้ม อาจเป็น New Product หรือ สินค้าที่มีอยู่แล้วก็ได้ เช่น SMEs
- SMEs กว่า 70 % เป็น Export Firm ถ้าจะทำSMEs สามารถขอกู้เงินได้ที่ธนาคาร SMEs
หรือ EXIM Bank
Regulation เป็นเครื่องมือในการกีดกันทางการค้า Regulation คือ กฎระเบียบบังคับ มาตรฐานทางการค้า
วัตถุโดยต้นกำเนิด ต้องดูด้วยว่ามีการ deal กันไว้หรือเปล่า ใช้ส่วนใหญ่กับพวกอาหาร พวกโรคต่างๆ
Dumping คือ การทุ่มตลาด ทำให้ราคาเสียหมดเลย เกิดPrice War ระดับ Inter
Subsidy Support จาก ภาครัฐเป็นส่วนใหญ่ ทำเพื่อ
1. ให้องค์กรในประเทศเติบโตได้
2. เพื่อให้การผลิตสินค้าขาดแคลนเติบโตได้
3. ปกป้อง Infant Industry
4. อุดหนุนสิ้นค้าเฉพาะเจาะจง exclusive goods
บริหารกับเศรษฐศาสตร์ใช้ร่วมกันได้ คือ sensitive goods ซึ่งเป็นสินค้าเน่าเสียง่าย จำเป็นต้องระบายออกให้เร็ว เพราะราคาต้องขึ้นอยู่กับกลไกการตลาด คือ Demand Supply
มาตรฐานภาษีนำเข้า
ถ้าไม่หวงสินค้าในประเทศเลย ไม่จำกัดการส่งออกเลย เราอาจจะเสียเปรียบได้เพราะประเทศที่มาลงทุนหรือ ตั้งโรงงานในประเทศไทยจะเห็นแค่ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิต และเป็นเพียงทางผ่านดังนั้นจึงจำเป็นต้องมี export control ขึ้นมา ส่งสินค้าออกนอกประเทศได้แต่ต้องเป็นสินค้าส่วนเกินจากการผลิตที่พอเพียงต่อผู้บริโภคในประเทศแล้ว หรือที่เรียกว่า surplus
ดุลการค้า การชำระเงิน ขาดดุล Im > Ex ส่วนใหญ่นับเป็นเงินขาดดุล
Debit < Credit
- เล่าเรื่องเบียร์ ต่างๆ
- เรื่องผู้บริหารองค์กรต่างๆ
- ชีท บทที่ 3 อ. อธิบายเพิ่มเติมแต่ส่วนใหญ่ก็อยู่ในชีท
หน้าที่ของ Gatt
1. เป็นกฎเกณฑ์การค้าระหว่างประเทศเป็นการสร้าง Level Playing Field
2. เป็นเวทีการเจรจาการค้า หรือ Multilateral Trade Negotiation : MTN
- พูดถึง Round รอบการประชุม
- รอบที่ 6 เน้นการ Dumping




 

Create Date : 07 กันยายน 2550    
Last Update : 7 กันยายน 2550 23:43:52 น.
Counter : 233 Pageviews.  


IBM_AGood
Location :
กรุงเทพฯ Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed

ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]




Friends' blogs
[Add IBM_AGood's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.