เกลียดจริง ๆ คนไม่จริงใจ
 
15. เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)

อินทราเน็ต หรือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร

เป็นการนำเอาเทคโนโลยีแบบเปิดของอินเทอร์เน็ตมาใช้ภายในองค์กร เพื่อช่วยในการทำงานร่วมกัน (Workgroup) การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารร่วมกัน ตลอดจนการทำงานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร



ประโยชน์ของระบบอินทราเน็ต
* ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสารข้อมูล
* ช่วยให้ได้รับข่าวสารใหม่ล่าสุดเสมอ
* ช่วยให้ติดต่อสื่อสารได้อย่างฉับไว
* ช่วยให้ติดต่อสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว
* เสียค่าใช้จ่ายต่ำ



องค์ประกอบของอินทราเน็ต

* การใชเปรโตคอล TCP/IP เป็นโปรโตคอลสำหรับการติดต่อสื่อสารในเครือข่าย
* ใช้ระบบ World Wide Web และดปรแกรมบราวเซอร์ในการแสดงข้อมูลข่าวสาร
* มีระบบอีเมลล์สำหรับแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างบุคลากรในองค์กร รวมทั้งอาจมีระบบนิวส์กรุ๊ปส์ เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความรู้ของบุคลากร
* ในกรณีที่มีการเชื่อมต่ออินทราเน็ตในองค์กรเข้ากับอินเทอร์เน็ตจะต้องมีระบบไฟร์วอลล์ (Firewall) ซึ่งเป็นระบบป้องกันอันตรายจากผู้ไม่หวังดีที่ติดต่อเข้ามาจากอินเทอร์เน็ต ช่วยป้องกันนักเจาะระบบ (Hacker) ที่จะทำการขโมยหรือทำลายข้อมูลในระบบเครือข่ายขององค์กรด้วย



แบบฝึกหัด
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง


Create Date : 03 เมษายน 2552
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 10:36:15 น. 92 comments
Counter : 6372 Pageviews.

 
15.1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm


โดย: นศณัฐชนันท์พร ศรีบุญเรือง (หมู่8 พฤ เช้า ) IP: 172.29.9.62, 202.29.5.62 วันที่: 18 มิถุนายน 2552 เวลา:8:44:29 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต เชื่อมเข้าด้วยกันโดยติดต่อผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซวึ่งเครือข่าย เอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย อินเทอร์เน็ต สามารถติดต่อหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กรได้ การใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ตติดต่อกันแทนที่จะติต่อโดยตรงกับ อินทราเน็ตทำให้ประหยัดและสามารถใช้ข้อดีของบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้อย่างมีประโยชน์สูงสุด


15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

1.การสื่อสารเป็นแบบสากล คือ การส่งข่าวสารในรูปของ E-mail ระหว่างผู้ใช้ Internet นอกหน่วยงานได้
2.ใช้มาตรฐานเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ได้เหมือนอินเตอร์เน็ต
3.การลงทุนต่ำ
4.ความน่าเชื่อถือมีมาก
5.สมรรถนะ เช่น การส่งข้อความ ภาพและเสียงได้ดี

ที่มา

//members.fortunecity.com/songwit/book.htm


โดย: น.ส. วริศรา ทิมแดง (ม.08 พฤ. เช้า ) IP: 172.29.85.2, 58.137.131.62 วันที่: 1 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:13:06 น.  

 
แก้ไขงาน** ข้อที่15.1
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

อินทราเน็ต

เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งานเฉพาะในองค์การ โดยนำวิธีการประยุกต์ที่มีให้ใช้ในอินเทอร์เน็ตมาใช้ในเครือข่ายของตน เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่าเครือข่ายอินทราเน็ต

การประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานนีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทำให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้ เพราะทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้ในการใช้งานมากนัก เครือข่ายอินทราเน็ตจึงเป็นเครือข่ายเป้าหมายของทุกองค์การที่พร้อมจะพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต

ที่มา

//202.29.138.73/studentweb/sb2/lesson7.htm


โดย: น.ส. วริศรา ทิมแดง (ม.08 พฤ. เช้า ) IP: 172.29.85.2, 58.137.131.62 วันที่: 1 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:20:30 น.  

 
ข้อ 1 อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น

อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm

ข้อ 2 ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก
ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm


โดย: นางสาว ปาริสา แคนหนอง 52040332140 หมู่ 15 ศุกร์ (เช้า) IP: 125.26.234.178 วันที่: 7 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:55:33 น.  

 
ข้อ 1 อินทราเน็ต [Intranet] หมายถึงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กร ที่เกิดขึ้นมาจากการเชื่อมโยงกัน ระหว่างคอมพิวเตอร์ และหรือ ระหว่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เหมือนกัน หรือต่างชนิดกัน มาสื่อสาร ข้อมูลกันด้วยชุด Protocal TCP/IP เช่นเดียวกันกับ Internet คำว่า intranet นั้นปรากฏแก่สาธารณะชน ครั้งแรกในนิตยสาร The NewYork Time ซึ่งให้ความหมายของคำว่า intranet ไว้ว่า เป็นเครือข่าย ในยุคเทคโนโลยีข่าวสารชนิดหนึ่ง ซึ่งจะปรากฏขึ้นในไม่ช้า แต่ในปัจจุบันนี้ intranet / internet กำลัง ก้าวขึ้นสู่ความสำเร็จสูงสุด ซึ่งเป็นผลพวงมาจากการเติบโตอย่างกว้างขวางและรวดเร็วของ internet ทั้งในสาธารณะ และส่วนบุคคล ดังนั้นในความหมายที่แท้จริงแล้ว intranet จึงหมายถึงเครือข่าย ความร่วมมือ และธุรกิจประยุกต์ ซึ่งจะแชร์ DNA [Domain Name Address] โดยอาศัย อยู่เบื้องหลังปราการความปลอดภัยหรือ Firewall

ที่มา //blog.spu.ac.th/e-bu-infra-03/2009/02/21/entry-1

ข้อ 2 ประโยชน์ของ Intranet

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมา


ที่มา https://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=krulaseng&month=01-2008&date=14&group=1&gb







โดย: นางสาว อนุสรา แคนหนอง 52040332139 หมู่เรียน 15 ศุกร์ เช้า IP: 125.26.234.178 วันที่: 7 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:59:33 น.  

 
sdfasdgasfdgafg


โดย: ,gfhsdf,mhbgfmh IP: 172.16.80.80, 119.42.101.171 วันที่: 9 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:00:20 น.  

 
15.1
อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

15.2

1.เพื่อสร้างลูกค้า เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ ทำการตลาดอย่างรวดเร็ว เพื่อช่วยให้ลูกค้าทำงานได้ง่ายขึ้น และสุดท้ายเกิดกำไรกับบริษัทฯ โดยใช้ต้นทุนต่ำ

2.กระจายสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในพื้นที่ที่กว้างมากเท่าที่ต้องการ เช่น
บริษัทฯ อีซูซุ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศญี่ปุ่น และมีสาขามากมายในประเทศต่าง ๆ สามารถทำให้มี สารสนเทศเดียวกัน ใช้ร่วมกัน และยังสามารถตัดขั้นตอนงานที่ซ้ำซ้อนลงได้ ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3.การเชื่อมต่อระบบกับธุรกิจอื่น และสามารถสร้างรายได้ในช่องทางใหม่ อีกทั้งยังช่วยผลักดันและเป็นหนทางให้บริษัทเติบโตหรือขยายธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว
4. ช่วยให้การประสานงานดีขึ้น การจัดทำ Web จำนวนมากนอกจากช่วยการประสานงานภายในแล้ว หุ้นส่วนอื่น ๆ ก็ได้รับประโยชน์ด้วย ช่วยให้มีการกระจายข่าวสารถึงกันได้อย่างรวดเร็วขึ้น
5. ช่วยในเรื่องการจัดองค์ความรู้ เริ่มตั้งแต่หน่วยงานย่อย ๆ รวมกันเป็นรูปบริษัทฯ บริษัทในเครือหุ้นส่วนสารสนเทศกระจายถึงกัน ส่งผลให้เกิดเป็นการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ ๆ ทำให้เกิดเป็นสังคมข้อมูลข่าวสารที่กว้างสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้น
6. เป็นช่องทางหาธุรกิจใหม่

ที่มา //www.comsci98.com/forum/index.php?action=dlattach;topic


โดย: นางสาวเจนจิรา จุตตะโน หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) รหัส 52040302126 IP: 117.47.232.108 วันที่: 12 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:20:30 น.  

 
15.1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm


โดย: นางสาววิภายี กลางหล้า ม. 15 ศุกร์เช้า IP: 192.168.1.102, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:48:17 น.  

 
อินทราเน็ตคืออะไร

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

ประโยชน์และข้อดีในการนำ อินทราเน็ต มาใช้ในองค์กรสถาปนิก

สามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วน คือ ประโยชน์ และข้อดีที่เกิดกับองค์กรทั่วไป และที่เกิดกับ บริษัท สถาปนิกโดยตรง รายละเอียดของประโยชน์ทั้งสองส่วนมีดังนี้
1. ประโยชน์และข้อดีที่เกิดกับองค์กรทั่วไป โดยประโยชน์นี้ จะเกิดกับทุกองค์กร ที่ได้นำ อินทราเน็ต มาใช้ รายละเอียดต่างๆมีดังนี้คือ
1.1 การนำ อินทราเน็ตมาใช้งาน จะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่า เมื่อเทียบกับซอฟต์แวร์ ประเภท GroupWare โดยสามารถทำงานได้คล้ายกันทั้งนี้เนื่องจาก ซอฟต์แวร์ หลายตัวของ อินเตอร์เน็ต ที่สามารถนำมาใช้ใน อินทราเน็ต สามารถ download จากอินเตอร์เน็ต มาใช้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย ตัวอย่างเช่น Microsoft Internet Explorer 1.2 ลดปัญหาเกี่ยวกับ ฮาร์ดแวร์ เนื่องด้วย อินทราเน็ต ที่พัฒนาจาก อินเตอร์เน็ต นั้นมีแนวความคิดหลักที่ให้ระบบนี้ สามารถทำงานได้บนฮาร์ดแวร์ หลากหลายรูปแบบเช่นสามารถใช้งาน อินเตอร์เน็ตบนเครื่องที่ใช้ Windows, Macintosh, หรือ UNIX เป็นต้น ระบบ อินทราเน็ต สามารถติดต่อสื่อสารกับ ฮาร์ดแวร์ เหล่านี้ได้ทั้งหมด และถ้าองค์กรใดมีระบบ Ethernet Local Area Network (LAN) อยู่แล้ว สามารถพัฒนาระบบนี้ บนเครือข่ายของปัจจุบันใช้ได้ทันที 1.3 ลดปัญหาในการพัฒนาระบบ จากเดิมที่มีหลากหลายรูปแบบ หลากหลายโปรแกรม โดยองค์กร สามารถใช้เครื่องมือพัฒนาในรูปแบบเดียวคือ ใช้เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบของ อินเตอร์เน็ต, อินทราเน็ต เช่นภาษา Java, ภาษา HTML (Hyper Text Markup Language) หรือ CGI (Common Gateway Interface) ซึ่งสามารถทำงานบน แพลทฟอร์มใดๆ ตัดปัญหาการจ้างผู้พัฒนาระบบจากหลาย แพลทฟอร์ม และการบำรุงรักษาระบบ รวมทั้งแก้ไขปัญหาระบบในภายหลังลงได้เป็นอย่างมาก 1.4 ลดเวลาในการฝึกอบรมพนักงาน (Users) เนื่องจากการทำงานของ อินทราเน็ต ใช้ ไคลเอนต์ซอฟต์แวร์ เป็น เวบเบราเซอร์เพียงตัวเดียว ข้อมูลทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นไปรษณีย์อิเล็กโทรนิคส์ การเรียกใช้ข้อมูลต่างๆ สามารถใช้งานบน เวบเบราเซอร์เพียงตัวเดียว หากผู้ใช้งานเคยใช้งาน อินเตอร์เน็ต มาก่อนแล้ว ยิ่งไม่ต้องเรียนรู้อะไรเพิ่มเติมอีก 1.5 ข้อมูลในระบบ อินทราเน็ต จะทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากระบบของ อินทราเน็ต สามารถเชื่อมต่อกับ ฐานข้อมูลของบริษัทได้โดยตรง เมื่อเราแก้ไขข้อมูลในฐานข้อมูลใดๆ ข้อมูลที่ปรากฏใน อินทราเน็ต จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย และด้วยระบบนี้จะช่วยกระจายข่าวสาร ไปทั้งองค์กรอย่างทั่วถึงในทันที 1.6 ระบบไปรษณีย์อิเล็กโทรนิคส์ เป็นประโยชน์อีกอย่างหนึ่งของ อินทราเน็ต และช่วยในการทำงานด้าน documentation work flow รวมทั้งไปรษณีย์อิเล็กโทรนิคส์ ที่ตั้งขึ้นในระบบอินทราเน็ต สามารถเชื่อมต่อกับ ระบบอินเตอร์เน็ตได้ในทันทีถ้าต้องการ 1.7 เราสามารถค้นหา ข้อมูลทั้งหมดในองค์กรได้ง่ายกว่าที่ผ่านมาในอดีต โดยจำลองเทคนิคการหาข้อมูล ที่ใช้กันอยู่ในอินเตอร์เน็ต มาใช้กับ ระบบอินทราเน็ตของเรา ตัวอย่าง การค้นหาข้อมูลที่นิยมกัน ได้แก่ โปรแกรมที่ใช้ ณ. site yahoo.com เป็นต้น
2. ประโยชน์และข้อดีในการใช้ อินทราเน็ต ภายในบริษัท สถาปนิก พอที่จะแจกแจงได้ดังนี้
2.1 ประโยชน์ในการอ่านข้อมูลที่จัดทำอยู่ในรูปแบบแบบก่อสร้างซึ่งมักจะจัดทำเป็น ไฟล์ ประเภท *.DWG ที่เป็นรูปแบบของ ไฟล์ แบบก่อสร้างที่บริษัท สถาปนิกในประเทศไทยเกือบทั้งหมดใช้กัน เราสามารถเรียกใช้ข้อมูลนี้ผ่าน เวบเบราเซอร์ได้หลายวิธี เช่น ผ่าน Web helper ซึ่งจะไปเรียกใช้ ซอฟต์แวร์ ที่อ่านข้อมูล “*.DWG” ได้โดยตรง เช่น โปรแกรม “AutoCAD”, โปรแกรม “Aview” หรือเราอาจ ใช้โปรแกรม DRAWING Librarianที่เป็น plug-ins ในเวบเบราเซอร์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลได้ในทันที ที่เราเลือกข้อมูลชนิดนี้ การตัดสินใจว่าองค์กรของเราจะใช้วิธีใด ขึ้นอยู่กับ ความต้องการที่ผู้ใช้จะแค่ดูข้อมูลคร่าวๆ หรือต้องการทำการแก้ไขข้อมูลด้วย นอกจากในโปรแกรม รุ่นใหม่ของ AutoCAD มีรูปแบบของข้อมูลชนิดใหม่ที่สามารถนำแบบที่ เก็บด้วยโปรแกรมนี้ นำมาแสดงได้ด้วย เวบบราวเซอร์ โดยตรงอีกด้วย 2.2 ถ้าสามารถแปลงข้อมูล แบบก่อสร้าง ในรูปแบบ *.DWG มาเป็นรูปภาพเช่น *.GIF, *.JIP เวบเบราเซอร์ ในระบบ อินทราเน็ต จะสามารถอ่านข้อมูลเหล่านี้ได้ทันที โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมใดๆเพิ่มเติมอีก ซึ่ง จะมีประโยชน์มาก ในการทำสารบัญข้อมูลของแบบก่อสร้างในโครงการต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการค้นหา และ อ้างอิงในภายหลัง การแปลงข้อมูลอยู่ในรูป GIF และ JIP นี้มีข้อดีที่ขนาดของ ไฟล์ ข้อมูล มีขนาดเล็ก การเรียกข้อมูลมาใช้งานจะทำได้เร็วกว่าการเรียกข้อมูลจาก file ข้อมูลใน AutoCAD โปรแกรม ที่ใช้แปลงข้อมูล จาก ไฟล์ AutoCAD เป็น ไฟล์ GIF หรือ JIP มีหลายโปรแกรมเช่นโปรแกรม Image Magick เป็นต้น หรือมีวิธีง่ายกว่านั้นแต่ต้องลงทุนซื้อฮาร์ดแวร์ประเภท สแกนเนอร์ ขนาดใหญ่ ( เครื่อง สแกนเนอร์ นี้ต้องสแกนเอกสารได้อย่างน้อยเท่ากับ กระดาษขนาด A0 ซึ่งเป็น ขนาด แบบก่อสร้าง มาตรฐาน) แล้ว ใช้วิธี สแกน แบบก่อสร้าง ที่มีอยู่แล้วเป็น ไฟล์รูปภาพที่ต้องการโดยตรง วิธีนี้ เสียค่าใช้จ่าย มากกว่า วิธีการ แปลง ไฟล์ แต่มีข้อดีคือ ข้อมูลของแบบก่อสร้างที่อยู่ใน ระบบ อินทราเน็ต จะ เป็น ข้อมูลที่มีความ ทันสมัยมากกว่าข้อมูลที่ได้จากการวิธีแปลง ไฟล์ ของ AutoCAD เป็น GIF หรือ JIP เพราะ ในระหว่างการทำงานจริง โดยเฉพาะช่วงการก่อสร้างอาคาร มัก จะมีการแก้ไข แบบก่อสร้าง เป็น ระยะๆ และ การแก้ไขในขั้นตอนนี้ จะใช้วิธีเขียนด้วยมือ มากกว่าการแก้ไขด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์ 2.3 การได้ประโยชน์จากการทำงานแบบ Documents Works Flow ซึ่งเดิม เป็น ความสามารถ อย่างหนึ่ง ของ GroupWare เช่น Lotus Note, Novell GroupWise เป็นต้น แต่ในปัจจุบัน เรา สามารถ นำความสามารถ ในเรื่องนี้ของระบบ อินทราเน็ต มาใช้แทนการทำงาน ของ GroupWare ใน ราคาที่ถูก กว่ามาก การทำงานแบบ Documents Works Flow มีประโยชน์อย่างมาก ในการทำงาน แบบ โครงการ เพราะ โครงการหนึ่งๆ มีเอกสาร และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับส่วนงานหลายส่วนในเวลาเดียวกัน 2.4 การพัฒนาทางเทคโนโลยี อินทราเน็ต ในด้านรูปภาพ 3 มิติ ที่เรา สามารถ เคลื่อนที่ เข้าไป ดูในวัตถุ นั้น ราวกับ มีสิ่งของนั้นจริง หรือที่เรียกว่า VRML (The Virtual Reality Modeling Language) เป็น ประโยชน์สำหรับ สถาปนิกที่ออกแบบ งานสถาปัตยกรรมเป็นอย่างมาก เพราะการพัฒนาการสร้าง Model สามมิติ ในปัจจุบัน แม้จะมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์มากมาย ที่ช่วยเหลือในการทำงาน แต่ โปรแกรมเหล่านั้น มัก จะ มีคำสั่งค่อนข้าง ซับซ้อน, ใช้เวลาที่จะเรียนรู้ และใช้เวลาทำงานแต่ละชิ้นงานค่อนข้างนาน อีกทั้ง การส่งผ่าน ข้อมูล และอ่านข้อมูล ต้องใช้โปรแกรมเฉพาะของผู้ผลิตแต่ละรายๆไป เช่น ไฟล์ ข้อมูล ของ โปรแกรม 3D-Studio ต้องใช้โปรแกรมนี้เปิดดูได้เท่านั้น เป็นต้น หรือถ้าต้องการให้โปรแกรมอื่นๆ เปิดดูได้ ต้องแปลงข้อมูล ออกมาเป็นข้อมูลรูปภาพเสียก่อน แต่ด้วยระบบของ อินทราเน็ต เรา สามารถ อ่านข้อมูลนี้ ผ่าน เวเลนซีราเบอร์ ที่มี Plug-ins เพิ่มเติมได้ สถาปนิก และผู้เกี่ยวข้อง หรือแม้แต่ลูกค้าสามารถดูข้อมูล งานออกแบบ งานสถาปัตยกรรม แบบสามมิติได้ทันที และสถาปนิกสามารถใช้ประโยชน์นี้ นำเสนอ ผลงานของตน ให้กับลูกค้า และเจ้าของงานได้อย่างกว้างขว้างยิ่งขึ้น เรา จะกล่าวถึงเรื่องนี้ โดยละเอียด อีกครั้ง ใน ภายหลัง
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/112.html


โดย: นางสาวอรนิดา วรินทรา ม. 15 ศ.เช้า IP: 192.168.1.103, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:55:31 น.  

 
1.

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

2.

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm



โดย: นางสาว ธัญธิตา แก้วมีศรี ม. 15 ศุกร์เช้า 52041151239 IP: 192.168.1.104, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:57:57 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบข้อ 15.1
คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบข้อ 15.2
ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm









โดย: นายบดินทร์ แก้วมีศรี หมู่ 01 (พิเศษ) 52240210214 สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.83.148 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:21:34:37 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html


15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm






โดย: นางสาวบลสิการ ดอนโสภา หมู่ 15 รหัส 52041151217 IP: 58.147.7.66 วันที่: 14 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:27:46 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบข้อ 15.1
คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบข้อ 15.2
ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm




โดย: นางสาวสุทธิดา ยาโย หมู่ 01(พิเศษ) 52240210217 สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:14:29 น.  

 
ข้อ 1 อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น

อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

ที่มา //www.internet.com/

ข้อ 2 ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก

ที่มา //www.internet.com


โดย: นางสาววิภาวี พลวี ( 08 พฤ เช้า ) IP: 125.26.162.31 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:20:42:11 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
=อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html



โดย: นางสาว อุไรวรรณ หาญศึก หมู1 (พิเศษ)พฤ. ค่ำ IP: 124.157.145.152 วันที่: 16 กรกฎาคม 2552 เวลา:10:40:25 น.  

 
15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
=1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก

ที่มา
//www.internet.com





โดย: นางสาว อุไรวรรณ หาญศึก หมู1 (พิเศษ)พฤ. ค่ำ IP: 124.157.145.152 วันที่: 16 กรกฎาคม 2552 เวลา:10:41:52 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบ คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html


โดย: โดยน.ส อังคณา สุทธิแพทย์52240210209หมู่01(พิเศษ)พฤ.ค่ำสาขา สาธารณสุขศาสตร์ IP: 192.168.1.103, 125.26.170.151 วันที่: 16 กรกฎาคม 2552 เวลา:10:55:54 น.  

 
15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบ ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm





โดย: โดยน.ส อังคณา สุทธิแพทย์52240210209หมู่01(พิเศษ)พฤ.ค่ำสาขา สาธารณสุขศาสตร์ IP: 192.168.1.103, 125.26.170.151 วันที่: 16 กรกฎาคม 2552 เวลา:10:57:08 น.  

 
แบบฝึกหัด
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ “อินทราเน็ต” นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น
ที่มา//blogger.sanook.com/ningkra/2009/06/16/intranet-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง


ประโยชน์ของ Intranet

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก
ที่มา//blogger.sanook.com/ningkra/2009/06/16/intranet-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/



โดย: นางสาวเกศรินทร์ ไชยปัญญา หมู่ 08 พฤหัส เช้า IP: 125.26.173.182 วันที่: 21 กรกฎาคม 2552 เวลา:19:00:59 น.  

 
ข้อ 1 อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น

อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm

ข้อ 2 ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก
ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm


นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1


โดย: นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1 IP: 124.157.146.74 วันที่: 23 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:55:04 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

- อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น

อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

-ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก

ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm


โดย: นายอดิศักดิ์ รักวิชา ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427132 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:7:42:13 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

- อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น

อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

-ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก

ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm


โดย: นายนิรัช วิจิตรกุล ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427117 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:7:43:17 น.  

 
1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html


โดย: นางสาววิภาดา นาสิงห์ขันธ์ (หฤ เช้า หมู่ 8) IP: 125.26.243.111 วันที่: 26 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:24:53 น.  

 
ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา

//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm


โดย: นางสาววิภาดา นาสิงห์ขันธ์ (หฤ เช้า หมู่ 8) IP: 125.26.243.111 วันที่: 26 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:33:17 น.  

 

1.
อินทราเน็ต ก็คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบภายในที่ใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต ซึ่งก็หมายความว่า การใช้งานอินทราเน็ตนั้น ใช้โปรโตคอล IP เหมือนกับอินเตอร์เน็ต มีเว็บไซท์เหมือนกัน ต้องใช้เว็บเบราเซอร์เช่นกัน และใช้อีเมล์ได้ด้วย และถ้าอินทราเน็ตของเราเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้งานอินทราเน็ตอย่างเราๆ ก็สามารถใช้ได้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อมๆกันอย่างไม่รู้สึกตัว

สิ่งที่แยกความรู้สึกในการใช้งานอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตก็คือความเร็ว การโหลดไฟล์ใหญ่ๆจากเว็บไซท์ในอินทราเน็ต จะรวดเร็วกว่าการโหลดจากอินเตอร์เน็ตมาก



2.
ประโยชน์ที่ได้รับจากอินทราเน็ตสำหรับองค์กรหนึ่งๆ ก็คือ สามารถใช้ความสามารถต่างๆที่มีอยู่ในระบบอินเตอร์เน็ตได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ไม่ถูกจำกัดด้วยแบนวิดธ์หรือความกว้างของถนนในการส่งถ่ายข้อมูล แปลความให้ชัดเจนก็คือ เราสามารถดูวิดิโอ (ที่ต้องโหลดมาก่อนทั้งไฟล์) วิดิโอตามสาย (streaming line โหลดมาและดูเกือบจะพร้อมๆกันได้เป็นชั่วโมงๆ) และเรียกใช้ไฟล์ .exeที่มีขนาดหลายๆ MB ได้ในเวลาที่รอคอยได้

การใช้งานอีเมล์ติดต่อกันกับเจ้าหน้าที่ในอินทราเน็ตกันเองก็รวดเร็วกว่ามาก แน่นอน ประโยชน์ที่ได้จากงานนี้ก็คือ การแนบไฟล์ (attach file) ขนาดใหญ่ๆไปกับอีเมล์ ซึ่งทำได้สะดวกและรวดเร็วมากในระบบอินทราเน็ต

ส่วนการใช้งานโปรแกรมอื่นๆในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) นั้น เป็นการใช้งานที่ไม่ได้ใช้โปรโตคอล IP ของอินเตอร์เน็ต เราจะไม่เรียกการใช้งานอย่างนั้นว่าอินทราเน็ต โดยเรายังคงเรียกมันว่า เป็นการใช้งานโปรแกรมในระบบเครือข่าย LAN (เช่น โปรแกรมบริการผู้ป่วยของโรงพยาบาลราชวิถี) ดูจะเข้าใจได้ง่ายและถูกต้องกว่า ซ้ำยังไม่สับสนกับการใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตของระบบอินทราเน็ตด้วย

//www.technicphotharam.com/IT/e-lerning/web8.html





โดย: นางสาวปวีณา บรรยงค์ รหัส 50040302112 เรียนบ่าย - จันทร์ หมู่ 1 IP: 115.67.141.170 วันที่: 26 กรกฎาคม 2552 เวลา:22:52:17 น.  

 
แบบฝึกหัด
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก
ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm



โดย: นางสาวสุพัตรา ธรรมสาร(หมู่15ศ.เช้า)52040302208 IP: 222.123.57.186 วันที่: 28 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:42:02 น.  

 
15.1 อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

//www.thaiall.com/internet/internet02.htm

15.2 ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


//www.thaiall.com/internet/internet02.htm


โดย: นางสาวอรธิรา บัวลา บช.บ.1/3 รหัส 52040501332 หมู่ 29 พุธ เช้า IP: 125.26.171.25 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:59:39 น.  

 
ตอบทดสอบที่ 15 เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)

ข้อที่ 1 จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบ
อินเทอร์เน็ต ( Internet ) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไซเบอร์สเปซ
( Cyberspace )
อินเทอร์เน็ต ทำให้การเคลื่อนย้ายและส่งผ่านข่าวสารข้อมูลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งกระทำได้โดยง่าย โดยไม่จำกัดเรื่องระยะทางและเวลา สามารถส่งข้อมูลได้หลากหลายรูปแบบ เช่น ส่งเป็นแบบข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมต่อเครือข่าย

ข้อที่ 2 ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบ
ประโยชน์ของอินทราเน็ต

· ลดต้นทุนในการบริการข่าวสารข้อมูล

· ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอ

· ช่วยให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไว

· เสียค่าใช้จ่ายต่ำ

· เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด

· การเตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตได้ทันที

ที่มา
//new.yupparaj.ac.th/CAI/it/index.html
//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4com/desing2.htm


โดย: นางสาวจิลวรรณ ปัดถาวะโร รหัสนักศึกษา 52040281130 วทบ.ชีววิทยา (จุลชีววิทยา) หมู่ 08 ( พฤ. เช้า) IP: 125.26.169.161 วันที่: 2 สิงหาคม 2552 เวลา:11:16:20 น.  

 
อินทราเน็ต (Intranet) คือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงการสื่อสารด้วยระบบโปรโตคอลทีซีพี/ไอพี(TCP/IP) ซึ่งเป็นระบบโปรโตคอลในการสื่อสารของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) ดังนั้น โปรแกรมเพื่อการสื่อสารบนเครือข่ายอินทราเน็ตจึงเป็นซอฟต์แวร์ชนิดเดียวกันกับที่ใช้ในการสื่อสารบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ส่วนความแตกต่างที่ชัดเจนระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คือ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ครอบคลุมทั้งโลก อินเทอร์เน็ตไม่มีใครเป็นเจ้าของอย่างแท้จริง และไม่มีใครสามารถควบคุมเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ แต่สำหรับเครือข่ายอินทราเน็ตมีเจ้าของแน่นอน และถูกควบคุมโดยองค์กรหรือบุคคลผู้เป็นเจ้าของ
อินทราเน็ตเกิดจากความคิดของระบบอินเทอร์เน็ตในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หลากหลายชนิดจากทุกมุมโลกเข้าด้วยกันได้ รวมทั้งการที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลจากที่ต่าง ๆ การมีบริการที่เป็นประโยชน์และความสามารถในการแสดงผลได้ตามต้องการแบบ 4ท (ที่เดียวทั่วโลก ทันที ทุกเวลา) นี้เอง ทำให้เกิดแนวคิดในการนำเทคโนโลยีของระบบดังกล่าวมาใช้งานในหน่วยงานหรือองค์กรซึ่งเมื่อย่อระบบอินเตอร์เน็ตลงมาในองค์กรก็เป็นระบบอินทราเน็ตนั่นเอง ดังนั้นอินทราเน็ตต้องมีทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตถือเป็นการปฎิรูประบบงานในองค์กรใหม่และก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานในปัจจุบันและอนาคต ในปัจจุบันได้มีผู้ให้คำจำกัดความของอินทราเน็ตไว้ต่าง ๆ ดังนี้
- อินทราเน็ตเป็นระบบเครือข่ายภายในที่เชื่อมโยงเครือข่ายย่อยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และให้ทุกคนในองค์กรใช้ร่วมกัน
- อินทราเน็ต เป็นรูปแบบของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในองค์กร
- อินทราเน็ต เป็นคำที่สื่อความหมายถึงการนำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ตมาใช้ เพื่อตอบสนองระบบงานภายในองค์กรโดยเฉพาะ
- อินทราเน็ตเป็นระบบอินเทอร์เน็ตที่ใช้งานเฉพาะในองค์กร
- อินทราเน็ต เป็นการนำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ ในองค์กรหรือหน่วยงาน
- อินทราเน็ต เป็นการรวมสารสนเทศที่มีอยู่ โดยวิธีการปรับปรุงให้เข้าถึงและกระจายข้อมูลผ่านไอพี เครือข่ายโดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวก ปรับปรุงวิธีการเข้าถึงสารสนเทศ การกระจายใช้สารสนเทศ และการบริหารสารสนเทศ
- อินทราเน็ต เป็นการนำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ต ที่ได้รับการยอมรับและเป็นมาตรฐานในการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ทั่วโลกเข้าด้วยกัน มาประยุกต์ใช้ในองค์กร หรือหน่วยงาน
จากนานาทัศนะดังกล่าวข้างต้น สามารถจำกัดความได้ว่าอินทราเน็ต เป็นระบบเครือข่ายภายใน
ที่นำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้งานภายในองค์กร โดยการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายย่อยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และนำมาใช้เพื่อตอบสนองระบบงานภายในองค์กรโดยเฉพาะและให้ทุกคนในองค์กรใช้ร่วมกัน อินทราเน็ตจึงถือว่าเป็น Corparate Portal หรือเว็บท่าองค์กร เป็นที่ที่ทุกคนต้องมาใช้เพื่อทำงานตามหน้าที่
e-company
อี-คอมพานี (e-company) หมายถึง องค์กรที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินธุรกรรมจากระบบเดิม ซึ่งใช้เอกสารในการประสานงานกัน มาเป็นระบบที่ใช้เอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยประยุกต์เทคโนโลยีในปัจจุบัน ปรับให้เข้ากับการดำเนินธุรกิจของแต่ละองค์กร ซึ่งจะทำให้การประสานงานกันทั้งภายในองค์กรเองและต่างองค์กรมีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับบริษัทคู่แข่งและทำให้บริษัทเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืนยิ่งขึ้น
ปัจจุบันธุรกิจแบบเดิมที่เราคุ้นเคยกำลังหมดยุคไปทุกวันนี้การแข่งขันในตลาดโลกเริ่มรุนแรงขึ้น ไอที มีบทบาทมากขึ้น ดังนั้นบุคลากรด้านไอทีที่มีความสามารถ รวมถึงการติดต่อสัมพันธ์ทางการค้าที่ดีต่อกันระหว่าง ลูกค้าและซัพพลายเออร์ คุณภาพของการบริการจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่มีต่อการเจริญเติบโตของบริษัทฯ ต่างจากในอดีตที่เป็นเพียงส่วนเสริมของการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เท่านั้น
อี-คอมพานี เป็นการรวมเอาการดำเนินธุรกิจขององค์กรกับเว็บเทคโนโลยีเพื่อสร้างจุดแข็งให้กับบริษัทฯ เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า และลดค่าใช้จ่ายในส่วนปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งสำหรับบริษัทขนาดใหญ่ กลางและเล็ก รวมไปถึงธุรกิจเน็ตเจเนอเรชัน อันหมายถึงบริษัทในโลกยุคใหม่ที่ไม่มีข้อจำกัดทางด้านขนาดของการลงทุนจำนวนพนักงาน หรือแม้แต่ช่องทางในการทำธุรกิจ ที่ทุกแห่งเริ่มต้นในจุดเดียวกันแต่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ทั่วโลกและไม่มีข้อจำกัดของระยะทางอีกต่อไป
การทำธุรกิจบนระบบคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์กอย่างอีคอมเมิร์ซ และอี-บิซิเนส ที่เริ่มแพร่หลาย โดยเกิดจากกระแสการเจริญเติบโตของอินเทอร์เน็ตที่รวดเร็ว อัตราความเจริญเติบโตของสังคมบนอินเทอร์เน็ตที่มีมากขึ้นอย่างทวีคูณ ทำให้ธุรกิจทุกประเภทต้องแสวงหาแนวทางการทำธุรกิจใหม่ หรือไม่ก็ต้องหาทางผนวกธุรกิจที่มีอยู่เพื่อให้สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วนี้ โดยนอกจากต้องปรับปรุงระบบธุรกิจที่มีอยู่เดิมให้มีประสิทธิผลสูงขึ้นก็ยังต้องพัมนาระบบไอทีในองค์กรควบคู่กันไปด้วย
ดังนั้น อี-คอมพานีต้องมีอินทราเน็ต ที่นำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้งานภายในองค์กร โดยปรับให้เข้ากับการดำเนินธุรกิจของแต่ละองค์กรด้วยซอฟต์แวร์
Corporate Portal
อินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่าย จะต้องมีซอฟต์แวร์มาจัดระบบ ซอฟต์แวร์ที่ว่านี้จะทำให้เกิดเว็บท่าองค์กร Corparate Portal ซึ่งเป็นจุดที่ทุกคนในองค์กรจะต้องมาพบ มาใช้เพื่อการทำงาน การสื่อสาร การเรียนรู้ และการสันทนาการประเภทหลัก ๆ ของแอปบลิเคชั่นที่ประกอบเป็นเว็บท่าบริษัทมีทั้งส่วนทั่วไป และส่วนเฉพาะกิจกับองค์กรนั้น ซอฟต์แวร์เว็บท่าองค์กรจึงพอสรุปเป็นประเภท ดังนี้
Document Access
- Product Information
- Search Engine
- Policies and Procedures
- Phone Directory
- Newsletters
- Project information
- Official Travel Guide
- Employee Infobases
- Catalogs
- Newswire Clippings
- Software Libraries
- Art Libraries
Application Gateways
- Access to Legacy Systems (HR,Accounting)
- Access to Data Warehouse
- Access to Design Manaagement
- Product Support Databases
- Customer support
- Sales & Marketing Support Centers
- Training and Registration
- Subscription Services
Group Wares
- e-mail
- Conferencing
- Calendar Management
- Electronic meeting
- Workflow Management
- Voice Video Conferencing
- Whiteboard
- Document Sharing
- Chat
Knoledge Application
- Knowledge Management
- Information Mapping
- Decision
- Support
- Knowledge Filtering
- Knowledge Preservation
- e-Learning
- Experience Factory
การกระจาย Informantion
การที่จะทำให้ข้อมูลขององค์กรหาง่ายใช้งานได้สะดวกเป็นวัตถุประสงค์หลักของอินทราเน็ต ดังนั้นจึงจำเป็นต้องควบคุมเนื้อหาของสารสนเทศในองค์กรให้เหมาะสม ซึ่งรูปแบบการใช้สารสนเทศแบ่งได้เป็น 3 อย่าง คือ สารสนเทศทางการ สารสนเทศกลุ่ม สารสนเทศไม่เป็นทางการ
- สารสนเทศทางการ ได้แก่ สารสนเทศที่เกี่ยวกับกฎระเบียบบริษัทฯ ที่ใช้ในองค์กรประวัติ
ผลงานล่าสุด รายละเอียดของผลิตภัณฑ์ การบริการต่าง ๆ เป็นต้น
- สารสนเทศกลุ่ม ได้แก่ สารสนเทศที่ใช้ภายในกลุ่ม/แผนก, กลุ่มงานโครงการ เป็นเครื่อง
มือในการติดต่อประสานงานกัน การกระจายความคิด ร่วมมือกันในการทำกิจกรรมหรือการจัดการงานต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับการทำงานแบบเดิมที่ต้องการส่งเอกสาร ถึงกันไม่ว่าจะเป็นการถ่ายเอกสารหรือ FAX ให้กันเป็นต้น
- สารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ ได้แก่ สารสนเทศที่ใช้ในการบริหารงาน การปฏิบัติงานและ
การใช้สารสนเทศในการพัฒนาเสริมสร้างความรู้ ทักษะในแขนงวิชาต่าง ๆ ให้บังเกิดผลสำเร็จ สามารถนำไปใช้ในการสนับสนุนการทำงานในแต่ละฝ่ายงานต่าง ๆ การที่เราจะมี Information ที่ดีมีประโยชน์นั้นจะมีส่วนในการประสานงานกับงานด้านการเก็บข้อมูลทุกชนิด ทุกประเภท เก็บข้อมูลอย่างมีระเบียบ แบบแผน ซึ่งจะทำให้ได้สารสนเทศนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งต้องมีการเปลี่ยนแปลง Work Process เพื่อลดขั้นตอนงานที่ไม่จำเป็น และให้เกิดความคล่องตัวในการทำงาน จำเป็นต้องปรับปรุงองค์กรและคนในองค์กรด้วย
ประโยชน์
ประโยชน์ และเป้าหมายของระบบเว็บท่าองค์กรทั้งต่อภายในองค์กร และนอกองค์กรมีมากมายสามารถแยกเป็นหัวข้อได้ดังนี้
1. เพื่อสร้างลูกค้า เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ ทำการตลาดอย่างรวดเร็ว เพื่อช่วยให้ลูกค้าทำงานได้ง่ายขึ้น และสุดท้ายเกิดกำไรกับบริษัทฯ โดยใช้ต้นทุนต่ำ

2. กระจายสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในพื้นที่ที่กว้างมากเท่าที่ต้องการ เช่น
บริษัทฯ อีซูซุ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศญี่ปุ่น และมีสาขามากมายในประเทศต่าง ๆ สามารถทำให้มี สารสนเทศเดียวกัน ใช้ร่วมกัน และยังสามารถตัดขั้นตอนงานที่ซ้ำซ้อนลงได้ ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3. การเชื่อมต่อระบบกับธุรกิจอื่น และสามารถสร้างรายได้ในช่องทางใหม่ อีกทั้งยังช่วยผลักดันและเป็นหนทางให้บริษัทเติบโตหรือขยายธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว
4. ช่วยให้การประสานงานดีขึ้น การจัดทำ Web จำนวนมากนอกจากช่วยการประสานงานภายในแล้ว หุ้นส่วนอื่น ๆ ก็ได้รับประโยชน์ด้วย ช่วยให้มีการกระจายข่าวสารถึงกันได้อย่างรวดเร็วขึ้น
5. ช่วยในเรื่องการจัดองค์ความรู้ เริ่มตั้งแต่หน่วยงานย่อย ๆ รวมกันเป็นรูปบริษัทฯ บริษัทในเครือหุ้นส่วนสารสนเทศกระจายถึงกัน ส่งผลให้เกิดเป็นการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ ๆ ทำให้เกิดเป็นสังคมข้อมูลข่าวสารที่กว้างสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้น
6. เป็นช่องทางหาธุรกิจใหม่
อุปสรรคของการทำอินทราเน็ตและเว็บท่าบริษัท
บริษัทฯ หรือองค์กรหลาย ๆ องค์กร ที่นำอินทราเน็ตมาใช้ บางบริษัทก็ประสบความสำเร็จ บางบริษัทก็ประสบกับความล้มเหลว ซึ่งมีสาเหตุต่าง ๆ พอสรุปได้ดังนี้
- ผู้บริหารไม่ได้ให้ความสนใจอย่างจริงจังผู้บริหารไม่ปรับตัว ทำให้พนักงานไม่กระตือรือร้นในการใช้ระบบ
- ข้อมูลที่อยู่บนระบบไม่ทันสมัย ทำให้เกิดความไม่น่าเชื่อถือ
- ปัญหาเครื่องทำงานช้า ผู้ใช้เสียเวลารอข้อมูลนาน
- ข้อมูลไม่น่าสนใจ ใช้ยาก ไม่มีเครื่องช่วยให้เข้าหา Information
ดังนั้นการที่จะให้ ระบบอินทราเน็ตที่พัฒนาขึ้น ประสบผลสำเร็จได้ ผู้บริหารจะต้องให้ความสำคัญด้วย โดยถือเป็นนโยบายหลัก โดยให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น จัดทำ ซึ่งจะทำให้เกิดความร่วมมือกันด้วยความเต็มใจ สะท้อนให้เกิดความร่วมมือกันด้วยความเต็มใจ สะท้อนให้เกิดประโยชน์กับบริษัทฯ ในภาพรวม โดยได้รับการสนับสนุนอย่างจริงจังจากผู้บริหาร

www.comsci98.com/forum/index.php?action=dlattach;topic


โดย: นายนารายณ์ แก้วภักดี ม. 15 ศ. เช้า IP: 124.157.147.155 วันที่: 4 สิงหาคม 2552 เวลา:18:22:31 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบ อินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์หลายล้านเครื่องทั่วโลกเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายเดียว (Global Network) ที่รวมผู้ใช้กว่า 60 ล้านคน เพื่อประกอบกิจกรรมหลากหลายตั้งแต่ การพูดคุย การสื่อสารข้อมูล การแลกเปลี่ยนข่าวสารความรู้ การค้าขายแบบอิเล็กทรอนิกส์ การศึกษาทางไกล ฯลฯ เมื่อครั้งที่อินเตอร์เน็ตถือกำเนิดขึ้นนั้น ไม่มีใครเคยคาดคิดว่ามันจะกลายมาเป็นเครือข่ายที่มีบทบาทกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน จนถึงขนาดที่กำลังจะปฏิวัติวิธีการดำเนินชีวิตของประชากรโลกในศตวรรษหน้า กล่าวคือเมื่อ 20 ปีก่อน กระทรวงกลาโหมสหรัฐได้มีมติด่วนให้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีชื่อว่า ARPANET จุดมุ่งหมายคือให้เป็นเครือข่ายที่มีความเชื่อถือได้สูง สามารถที่จะทำงานได้แม้ภายหลังที่อเมริกาถูกถล่มโดยอาวุธนิวเคลียร์ ดังนั้นเทคโนโลยีที่ใช้เชื่อมเครือข่าย ต้องมีความสามารถที่จะทำงานกับโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ที่เหลือจากการทำลายของอาวุธนิวเคลียร์ เช่น หากโครงข่ายโทรศัพท์ และ เคเบิลถูกทำลายในบางพื้นที่ เครือข่ายจะยังคงทำงานได้โดยการสลับมาใช้โครงข่ายอื่น เช่น โครงข่ายดาวเทียม หรือวิทยุ เป็นต้น นอกจากนั้นเทคโนโลยีดังกล่าวต้องมีความสามารถในการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างประเภท และต่างรุ่นที่มีอยู่ทั่วไปตามฐานทัพต่าง ๆ
ในครั้งนั้นการพัฒนาเครือข่าย ARPANET ได้กระทำร่วมกันระหว่างกระทรวงกลาโหม กับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ รวมทั้งหน่วยงานสำคัญ ๆ เช่นองค์การ NASA ทำให้ ARPANET เริ่มเติบโตโดยเริ่มมีการใช้งานมากขึ้นสำหรับการศึกษาและการวิจัย ถึงแม้จะเริ่มมีการพัฒนาเครือข่ายอื่น ๆ เช่น DECNET และ BITNET ขึ้นมาเป็นคู่แข่ง แต่เพราะข้อดีของ ARPANET ที่เป็นระบบเปิดที่ใช้โปรโตคอลแบบ TCP/IP ทำให้ไม่จำกัดกับเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือ โครงข่ายเชื่อม (Physical Links) แบบใดแบบหนึ่ง ทำให้มันเอาชนะคู่แข่งและกลายมาเป็นตัวเชื่อมเครือข่ายอื่น ๆ ที่เข้ากันไม่ได้ ให้สามารถคุยกันรู้เรื่อง ด้วยเหตุนี้ทำให้ ARPANET ถูกพัฒนามาเป็นเครือข่ายของเครือข่าย หรือ อินเตอร์เน็ต (internet) ในที่สุด ข้อดีของการที่เป็นระบบเปิด คือ สามารถใช้เทคโนโลยีการเชื่อมต่อได้หลายแบบทั้ง ไมโครเวพ ดาวเทียม โทรศัพท์ เคเบิล ใยแก้วนำแสง หรือแม้แต่ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ และสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบใดก็ได้ รวมทั้งยังบริหารง่ายคือ ผู้ใช้ออกค่าใช้จ่ายเฉพาะส่วนของตน ทำให้อินเตอร์เน็ตขยายตัวง่ายในขณะที่ความซับซ้อนของงานไม่เพิ่มขึ้นเท่าไรนัก ความง่ายในการขยายเครือข่ายและการใช้งาน ได้ทำให้อินเตอร์เน็ตเริ่มได้รับความนิยมนอกประเทศสหรัฐอเมริกา จนกลายมาเป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงทั่วโลก

ที่มา:www.thaiall.com/internet/internet02.htm

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบ ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตมาใช้ในองค์กรต่างๆ คือ
- ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสาร เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารต่างๆ ภายในองค์กร สามารถจัดเก็บอยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ภาษา HTML และใช้บราวเซอร์ในการอ่านเอกสาร ทำให้ลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการจัดพิมพ์เอกสารกระดาษ
- ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอ เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยากเหมือนการพิมพ์ลงกระดาษ และไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ทำให้บุคลากรในองค์กรสามารถรับข่าวสารใหม่ล่าสุดได้เสมอ
- ช่วยให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไว ไม่ว่าบุคลากรจะอยู่ห่างกันคนละชั้น คนละตึก หรือคนละจังหวัด ด้วยการใช้เทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีการคุยติดต่อผ่านแป้นพิมพ์ หรือแม้กระทั่งเทคโนโลยีประชุมทางไกล เป็นการช่วยลดการสูญเสียเวลาของบุคลากร ตลอดจนช่วยให้ทีมงานมีการประสานงานกันดีขึ้น
เสียค่าใช้จ่ายต่ำ การติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการติดตั้งซอฟท์แวร์การทำงานแบบกลุ่ม (Workgroup software) ทั่วไปมาก เนื่องจากการใช้เทคโนโลยีแบบเปิดของอินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถใช้ซอฟท์แวร์ต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตที่มีราคาไม่สูงนัก หรือในงานบางส่วนอาจไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เนื่องจากมีแชร์แวร์และฟรีแวร์อยู่มากมายในอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้หากองค์กรมีระบบเครือข่ายภายในอยู่แล้ว การติดตั้งระบบอินทราเน็ตเพิ่มเติมจะเสียค่าใช้จ่ายต่ำมาก เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆที่มีอยู่แล้วได้ทันทีตามคุณสมบัติการใช้งานข้ามระบบ (cross platform) ที่แตกต่างกันได้ของอินเทอร์เน็ต
- เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด ทำให้องค์กรไม่ผูกติดอยู่กับผู้ค้ารายใดรายหนึ่ง จึงช่วยลดความเสี่ยงต่างๆ เช่น ผู้ค้าเลิกกิจการ ผู้ค้าเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือผู้ค้าขึ้นราคา เป็นต้น รวมทั้งช่วยให้สามารถหาซอฟต์แวร์ใหม่ๆ ที่จะมาช่วยในการทำงานได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งผู้ผลิตเพียงรายเดียว
- เตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตได้ทันที รวมทั้งเป็นการเตรียมความรู้ของบุคลากรเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตด้วย



โดย: นางสาวสุภาพร รัตนา 50240210102 วท.บ.สาธารณสุขศาสตร์ (เรียน พฤ-ค่ำ เวลา 17.00-21.00 น.) IP: 117.47.15.227 วันที่: 6 สิงหาคม 2552 เวลา:7:03:59 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
คำตอบคือ...คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

ที่มา...
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
คำตอบคือ...ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก

ที่มา ...
//www.thaiall.com/internet/internet02.htm






โดย: นางสาวศศิวิมล ภาณุพงศ์ภูสิทธิ์ หมู่ 8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.49, 58.137.131.62 วันที่: 6 สิงหาคม 2552 เวลา:15:10:20 น.  

 
1.ตอบ
อินทราเน็ตคืออะไร

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



2.ตอบ
ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก

ที่มา//learners.in.th/home/error


โดย: 52040281122 น.ส. ณัฐติยา โกศิลา สาขาชีววิทยา (จุลชีววิทยา) หมู่ 08 วันพฤหัสเช้า IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 16 สิงหาคม 2552 เวลา:15:53:39 น.  

 
ผม


โดย: โอก IP: 203.172.216.249 วันที่: 20 สิงหาคม 2552 เวลา:14:24:02 น.  

 
แบบฝึกหัด
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น
อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด
ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก

//guru.google.co.th/guru/thread?tid=46bd0c11c27a501c&hl=th&table=%2Fguru%2F%3Ftab%3Di2%26hl%3Dth


โดย: สุจิตรา มหาฤทธิ์ 51040305111 สาขาภาษาอังกฤษธูรกิจ หมู่01 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 20 สิงหาคม 2552 เวลา:17:55:41 น.  

 

แบบฝึกหัด
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบ อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น

อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

ที่มาwww.tudent.nu.ac.th/ekkasit/is_sec/issec_final.doc

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบ ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต สรุปได้โดยสังเขปดังนี้คะ

1) การบริการทางธุรกิจ : อินเตอร์เน็ตเป็นลู่ทางใหม่ทางการค้า เพราะผู้ขายสามารถประกอบธุรกิจทางการค้าผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ลูกค้าสามารถชมภาพ และรายละเอียดของสินค้าเพื่อใช้ในการตัดสินใจได้ทันที ณ เครื่องของลูกค้าเอง ผู้ขายเพียงแค่จัดเตรียมข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ของตน ก็สามารถบริการขายลูกค้าได้ทั่วโลกพร้อม ๆ กัน โดยไม่ต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในการประชาสัมพันธ์มากเท่าวิธีอื่น สามารถซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านอินเตอร์เน็ตได้โดยตรง เพียงแต่ลูกค้าจะต้องมีบัตรเครดิต เมื่อสั่งซื้อสินค้าต่าง ๆ ก็กรอกหมายเลขบัตร แล้วระบุสินค้าที่ต้องการ จากนั้นสินค้าจะถูกส่งมาทางไปรษณีย์ และเงินจะถูกหักจากบัญชีเครดิต

2). การบริการข้อมูลข่าวสาร : ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญไม่ว่าเรื่องใด ๆ สามารถเผยแพร่ความรู้ของตนไปยังผู้คนทั่วโลกได้โดยง่าย เช่น ถ้ามีความชำนาญในการสอนนวดแผนไทย ก็สามารถนำข้อมูลการสอนนวดฯ พร้อมกับภาพประกอบไปใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต เพื่อให้ผู้คนที่สนใจอาหารไทยทั่วโลกได้รับทราบอย่างง่ายดาย ในทางกลับกันก็สามารถค้นหาข้อมูลได้แทบทุกชนิดจากอินเตอร์เน็ต โดยอาจจะอาศัยเครื่องมือค้นหาในอินเตอร์เน็ตซึ่งมีประสิทธิภาพสูงและมีให้เลือกมากมาย

3) การพบปะและสนทนากับผู้คน : สามารถส่งจดหมายที่เรียกว่า "อีเมล์ (Electronic Mail : e-mail)" หรือพิมพ์ประโยคโต้ตอบกับผู้คนที่อยู่กันคนละซีกโลกได้ ยิ่งไปกว่านั้นยังสามารถคุยโต้ตอบผ่านอินเตอร์เน็ตในลักษณะโทรศัพท์ไปทั่วโลกโดยไม่ต้องเสียค่าโทรศัพท์ได้อีกด้วย หรือคุยกันผ่านเว็บแคม เห็นหน้า ได้ยินเสียงแบบเรียลไทม์ก็ได้

4) การบริการซอฟต์แวร์ : ในอินเตอร์เน็ตมีบริการซอฟต์แวร์ที่ทันสมัยให้ได้ใช้ และสามารถโอนย้ายซอฟต์แวร์จากอินเตอร์เน็ตมาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อีกด้วย
มีทั้งแบบที่ให้ทดลองใช้ก่อน แบบให้ใช้ฟรี และแบบที่ต้องเสียเงิน

5) ความบันเทิง : มีความสามารถในการนำเสนอความบันเทิงรูปแบบต่างๆ เช่น เพลง รายการวิทยุ เกมส์ ได้

6) การศึกษา ในระบบการศึกษาได้นำอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในการศึกษามากขึ้น ทั้งช่วยในการสืบค้นข้อมูลและในการเรียนการสอนด้วยทั้ง E-libaray, E-learning

ที่มา:www.guru.google.co.th/guru/thread?tid=253fa1fddbd9ac90


โดย: 52040263105 ชื่อ น.ส.อรวรรณ ไชยยงค์ (สาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) หมู่เรียนที่22 (อังคารเช้า) IP: 125.26.165.99 วันที่: 21 สิงหาคม 2552 เวลา:21:06:19 น.  

 
15.1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm
โดยน.สอภิญญา อุ้ยปะโค 52041278104 ศ.เช้า ม.15


โดย: อภิญญา อุ้ยปะโค IP: 124.157.148.9 วันที่: 22 สิงหาคม 2552 เวลา:14:53:24 น.  

 
15.1)
คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจน

ที่มา //student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html



15.2)
ประโยชน์ของอินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตมาใช้ในองค์กรต่างๆ คือ
ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสาร เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารต่างๆ ภายในองค์กร สามารถจัดเก็บอยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ภาษา HTML และใช้บราวเซอร์ในการอ่านเอกสาร ทำให้ลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการจัดพิมพ์เอกสารกระดาษ
ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอ เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยากเหมือนการพิมพ์ลงกระดาษ และไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ทำให้บุคลากรในองค์กรสามารถรับข่าวสารใหม่ล่าสุดได้เสมอ
ช่วยให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไว ไม่ว่าบุคลากรจะอยู่ห่างกันคนละชั้น คนละตึก หรือคนละจังหวัด ด้วยการใช้เทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีการคุยติดต่อผ่านแป้นพิมพ์ หรือแม้กระทั่งเทคโนโลยีประชุมทางไกล เป็นการช่วยลดการสูญเสียเวลาของบุคลากร ตลอดจนช่วยให้ทีมงานมีการประสานงานกันดีขึ้น
เสียค่าใช้จ่ายต่ำ การติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการติดตั้งซอฟท์แวร์การทำงานแบบกลุ่ม (Workgroup software) ทั่วไปมาก เนื่องจากการใช้เทคโนโลยีแบบเปิดของอินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถใช้ซอฟท์แวร์ต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตที่มีราคาไม่สูงนัก หรือในงานบางส่วนอาจไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เนื่องจากมีแชร์แวร์และฟรีแวร์อยู่มากมายในอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้หากองค์กรมีระบบเครือข่ายภายในอยู่แล้ว การติดตั้งระบบอินทราเน็ตเพิ่มเติมจะเสียค่าใช้จ่ายต่ำมาก เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆที่มีอยู่แล้วได้ทันทีตามคุณสมบัติการใช้งานข้ามระบบ (cross platform) ที่แตกต่างกันได้ของอินเทอร์เน็ต
เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด ทำให้องค์กรไม่ผูกติดอยู่กับผู้ค้ารายใดรายหนึ่ง จึงช่วยลดความเสี่ยงต่างๆ เช่น ผู้ค้าเลิกกิจการ ผู้ค้าเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือผู้ค้าขึ้นราคา เป็นต้น รวมทั้งช่วยให้สามารถหาซอฟต์แวร์ใหม่ๆ ที่จะมาช่วยในการทำงานได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งผู้ผลิตเพียงรายเดียว
เตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตได้ทันที รวมทั้งเป็นการเตรียมความรู้ของบุคลากรเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
อินทราเน็ตหรือระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นระบบที่ได้รับการกล่าวขวัญถึงกันอย่างมากคู่กับอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรต่างๆ ได้มีการนำอินทราเน็ตมาใช้กันอย่างแพร่หลาย จนทำให้ระบบที่เกี่ยวข้องกับอินทราเน็ตเป็นระบบที่ผู้ค้าต่างๆ มุ่งเข้ามาสู่กันมากที่สุด โดยสามารถให้นิยามของอินทราเน็ตได้คือ
ระบบเครือข่ายอินทราเน็ต ก็คือระบบเครือข่ายภายในองค์กรที่นำเทคโนโลยีแบบเปิดจากอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ เพื่อช่วยในการทำงานร่วมกัน (Workgroup) การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนการทำงานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร


ประโยชน์ของอินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตมาใช้ในองค์กรต่างๆ คือ

1.ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสาร เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารต่างๆ ภายในองค์กร สามารถจัดเก็บอยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ภาษา HTML และใช้บราวเซอร์ในการอ่านเอกสาร ทำให้ลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการจัดพิมพ์เอกสารกระดาษ
2.ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอ เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยากเหมือนการพิมพ์ลงกระดาษ และไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ทำให้บุคลากรในองค์กรสามารถรับข่าวสารใหม่ล่าสุดได้เสมอ
3.ช่วยให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไว ไม่ว่าบุคลากรจะอยู่ห่างกันคนละชั้น คนละตึก หรือคนละจังหวัด ด้วยการใช้เทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีการคุยติดต่อผ่านแป้นพิมพ์ หรือแม้กระทั่งเทคโนโลยีประชุมทางไกล เป็นการช่วยลดการสูญเสียเวลาของบุคลากร ตลอดจนช่วยให้ทีมงานมีการประสานงานกันดีขึ้น
4.เสียค่าใช้จ่ายต่ำ การติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการติดตั้งซอฟท์แวร์การทำงานแบบกลุ่ม (Workgroup software) ทั่วไปมาก เนื่องจากการใช้เทคโนโลยีแบบเปิดของอินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถใช้ซอฟท์แวร์ต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตที่มีราคาไม่สูงนัก หรือในงานบางส่วนอาจไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เนื่องจากมีแชร์แวร์และฟรีแวร์อยู่มากมายในอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้หากองค์กรมีระบบเครือข่ายภายในอยู่แล้ว การติดตั้งระบบอินทราเน็ตเพิ่มเติมจะเสียค่าใช้จ่ายต่ำมาก เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆที่มีอยู่แล้วได้ทันทีตามคุณสมบัติการใช้งานข้ามระบบ (cross platform) ที่แตกต่างกันได้ของอินเทอร์เน็ต
5.เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด ทำให้องค์กรไม่ผูกติดอยู่กับผู้ค้ารายใดรายหนึ่ง จึงช่วยลดความเสี่ยงต่างๆ เช่น ผู้ค้าเลิกกิจการ ผู้ค้าเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือผู้ค้าขึ้นราคา เป็นต้น รวมทั้งช่วยให้สามารถหาซอฟต์แวร์ใหม่ๆ ที่จะมาช่วยในการทำงานได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งผู้ผลิตเพียงรายเดียว
6.เตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตได้ทันที รวมทั้งเป็นการเตรียมความรู้ของบุคลากรเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต

ที่มา //science.rbru.ac.th/~bangkom/msintranet.htm


โดย: น.ส. วิไลวรรณ พงค์พันธ์ ม.29 (พุธเช้า) 52040501303 IP: 124.157.146.50 วันที่: 30 สิงหาคม 2552 เวลา:18:14:46 น.  

 
15.1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm






โดย: นาย ปิยะ ศรีกุลวงศ์ เสาร์บ่าย 51241151204 IP: 222.123.59.23 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:14:23:11 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบ เป็นการนำเอาเทคโนโลยีแบบเปิดของอินเทอร์ เน็ตมาใช้ภายในองค์กร เพื่อช่วยในการทำงานร่วมกัน (Workgroup) การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารร่วมกัน ตลอดจนการทำงานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร
15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบ ช่วยลดต้นทุนในการบริหารข่าวสารข้อมูล
ช่วยให้ได้รับข่าวสารใหม่ล่าสุดเสมอ
ช่วยให้ติดต่อสื่อสารได้อย่างฉับไว
ช่วยให้ติดต่อสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว
เสียค่าใช้จ่ายต่ำ


โดย: นางฉวีวรรณ แสงเลิศ 51241151132 รูปแบบพิเศษ รปศ. เรียนเวลา บ่ายโมงวันเสาร์ IP: 117.47.14.74 วันที่: 1 กันยายน 2552 เวลา:19:56:24 น.  

 
15.1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm






โดย: นางสาววินภา พินิจมนตรี 51241151116 หมู่05 IP: 125.26.163.158 วันที่: 2 กันยายน 2552 เวลา:9:54:43 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต เชื่อมเข้าด้วยกันโดยติดต่อผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซวึ่งเครือข่าย เอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย อินเทอร์เน็ต สามารถติดต่อหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กรได้ การใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ตติดต่อกันแทนที่จะติต่อโดยตรงกับ อินทราเน็ตทำให้ประหยัดและสามารถใช้ข้อดีของบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้อย่างมีประโยชน์สูงสุด


15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

1.การสื่อสารเป็นแบบสากล คือ การส่งข่าวสารในรูปของ E-mail ระหว่างผู้ใช้ Internet นอกหน่วยงานได้
2.ใช้มาตรฐานเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ได้เหมือนอินเตอร์เน็ต
3.การลงทุนต่ำ
4.ความน่าเชื่อถือมีมาก
5.สมรรถนะ เช่น การส่งข้อความ ภาพและเสียงได้ดี

ที่มา

//members.fortunecity.com/songwit/book.htm



โดย: ส.ต.ต.หญิงพิพิทย์ชยานันต์ สีลาเวช 51241151133 หมู่ 05 IP: 125.26.163.158 วันที่: 2 กันยายน 2552 เวลา:9:55:22 น.  

 
1.

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

2.

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm




โดย: นายอัศวิน บัวน้ำอ้อม 51241151118 หมู่ 05 IP: 125.26.163.158 วันที่: 2 กันยายน 2552 เวลา:9:56:10 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
เรื่องมีอยู่ว่าผมได้ยินคำ INTRANET ครั้งแรกเมื่อต้นปีนี้นี่เองส่วนจะได้ยินยังไงจากใครไม่ขอกล่าวถึง ก็แล้วกันเพราะเป็นเรื่องส่วนตัว สิ่งที่ผมต้องทำก็คือค้นหาว่า Intranet มันคืออะไรเหมือนที่พวกคุณยังงงๆอยู่นี่แหละ แหล่งที่ผมจะค้นหาข้อมูลได้ก็คือ Search Engine บน Internet นี่เอง พวกเราอาจแปลกใจหากผมจะบอกว่าผลจากการ search ทั้ง Yahoo, Lycos และอื่นๆ ให้ผลลัพธ์ว่ามี Web Page ที่กล่าวถึง Intranet เพียง 6 แห่งเท่านั้น แล้วที่ยิ่งกว่านั้นคือมีเพียง 2 แห่งที่กล่าวถึง Intranet ในความหมายที่เราต้องการ นอกนั้นไม่เกี่ยวเลย ที่จำได้ก็มีแห่งหนึ่งที่อังกฤษที่ให้นิยาม Intranet ที่ผมเข้าใจ และใช้นิยามนี้ในการอธิบาย Intranet ก็คือ "Intranet คือการใช้เทคโนโลยีของ Internet สำหรับงานภายในองค์กร" ส่วนเทคโนโลยีของ Internet มีอะไรบ้าง คงไม่ต้องบอกแต่ที่เขานิยม และให้ความสำคัญกับการนำมาใช้ใน Intranet ก็คือเทคโนโลยีของ World Wide Web แบบที่เราได้ทำไปแล้วสองโครงการนั่นเอง

อย่าคิดว่าผมพอเห็นนิยามแล้วก็ปิ๊งไอเดียยูเรก้า จะนำมาใช้งานภายในรังสิตทันที ผมเองก็ยังงงและไม่เข้าใจว่าทำไม จะต้องใช้ Intranet ด้วย ก็ในเมื่อเรามีเครื่องมืออื่น ในการพัฒนาตั้งเยอะแยะ จะไปดูไอเดียใดๆใน Internet ก็ไม่มีให้ดู ในวันนั้นทั้ง Netscape, Microsoft ไม่มีใครพูดถึง Intranet เลย แต่ไม่ใช่พวกนั้นไม่รู้จัก Intranet แต่เขาคงซุ่มพัฒนา เหมือนที่เรากำลังซุ่มพัฒนาอยู่นี่แหละ (ขนาด Microsoft word เวลาพิมพ์คำว่า Intranet ยังบอกว่าพิมพ์ผิดเลย)

แล้ว Intranet เกิดในรังสิตได้อย่างไร อันนี้ต้องยกประโยชน์ให้สถานการณ์ และสิ่งแวดล้อมที่เป็นตัวผลักดัน เนื่องจากว่า ในขณะที่ผมยังงงๆอยู่นั้น ในวันที่ 5 มีนาคม 2539 ก็มีคำสั่งของมหาวิทยาลัย ให้ผมเขียนแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร ส่วนด้านอื่น รวมถึงเรื่อง Internet นั้นให้คนอื่นเขียน นี่แหละ เป็นเหตุผลักดัน ให้เกิดโครงการ Intranet ขึ้น เหตุผลก็คือ ผมจะเขียนแผนอย่างไรให้ดูเข้าท่า สมกับเป็น แผนพัฒนามหาวิทยาลัย เรื่องที่เป็นเรื่องใหม่ จะมีการพัฒนาอย่างแน่นอนได้แก่เรื่อง Internet ซึ่งตอนนั้น ผมยังดูแลอยู่ ก็ไปให้คนอื่นเขียนเสียแล้ว จะให้ผมเขียนแต่เรื่อง การพัฒนาระบบงาน application มันก็คงไม่ตื่นเต้น แถมน่าเบื่ออีกต่างหาก ไอเดียก็มาปิ๊งตอนนี้นี่แหละว่า ไม่เป็นไร คนอื่นเขียนเรื่อง Internet ได้เราก็เสนอ Intranet ได้เหมือนกัน ในตอนแรก มีจุดมุ่งหมายที่จะอาศัยคำว่า Intranet ซึ่งเป็นที่แปลกหู มาเป็นจุดสนใจ เมื่อได้เสนอโครงการ Intranet ต่อทางมหาวิทยาลัยแล้ว ก็เหมือนตกกระไดพลอยโจน จำเป็นต้องมาศึกษาอย่างจริงจัง ว่าเขาทำงานกันยังไง แล้วมีข้อดีอย่างไร เราถึงได้พัฒนาโครงการ Intranet ขึ้นมา เมื่อศึกษาอย่างจริงจัง คิดดูหลายตลบแล้ว Intranet เป็นแนวความคิดที่ดีจริงๆ เหมาะสมกับ มหาวิทยาลัยรังสิตเป็นอย่างยิ่ง

เหมาะสมอย่างไรล่ะ ถ้าเราลองตรวจดู ในมหาวิทยาลัยรังสิตของเรา ตามหน่วยงานต่างๆจะเห็นว่า มีเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นสองพวก จำนวนพอๆกันคือ เครื่องในตระกูล IBM PC Compatible และเครื่องในตระกูล Apple Macintosh ก่อนนี้ผม ก็คิดไม่ตกว่าจะทำอย่างไร กับหน่วยงานที่ใช้ Macintosh ในการเรียกดูข้อมูลเช่นข้อมูลนักศึกษา ถามคนขายเครื่อง ก็บอกว่ามี PC Card ใส่แล้วเครื่อง Macintosh จะทำงานของ PC ได้ ราคา Card ก็น้องๆ PC เครื่องหนึ่ง แล้วก็คงตลกถ้าซื้อ Macintosh มารัน PC แบบนี้ซื้อ PC อีกเครื่องมาตั้งเลยดีกว่า แต่คิดดูแล้วมันก็คงเกะกะพิลึก ข้างซ้าย Mac ข้างขวา PC แถมเครื่อง PC ยังไม่ค่อยได้ใช้งานเสียอีกด้วย แต่จะไปยกเครื่อง Mac เขาทิ้งแล้วบังคับให้ใช้ PC อย่างเดียวก็คงไม่ได้ อธิการบดีเราคนหนึ่งล่ะที่ไม่ยอม ท้ายที่สุดก็ได้ Intranet นี่แหละเป็น solution ที่ยอดเยี่ยมที่สุด ไม่ต้องไปยุ่งกับยี่ห้อของ เครื่อง ไม่ว่าเครื่องไหนก็ต่อ Internet ได้ โปรแกรม Netscape ก็มีอยู่บนเครื่องทุกแบบ ผู้ใช้สบายใจ เราก็ให้บริการข้อมูลได้

อย่างที่กล่าวแล้วว่า ในตอนแรกเราจะประกาศตัวเป็น First Intranet of Thailand เพราะคิดว่า ในเมืองไทยยังไม่มีใคร ใช้คำ Intranet คือเป็นการเล่นกับคำ ไม่ใช่ว่าเรา เป็นแห่งแรกที่นำเทคโนโลยี Internet มาใช้กับงานภายในองค์กร เท่าที่ทราบ ก็พอได้ยินว่ามีความพยายาม ที่จะทำแต่ไม่ทราบว่าก้าวหน้าไปถึงไหน แต่เมื่อไม่นานมานี้ได้มี ประกาศและมีสัมนาเกี่ยวกับ Intranet/Internet ถึง 2 รายการผมยังได้เข้าไปสัมนาที่ sunsoft กับ oracle จัดขึ้นพบว่ามีผู้เข้าสัมนาจำนวนมาก แสดงว่าต้อง มีคนรู้จัก Intranet จำนวนมาก ผมเลยเปลี่ยนใจไม่กล้าใช้คำว่า First Intranet of Thailand แต่เปลี่ยนเป็น to be Leader of Intranet in Thailand แทน

เราจะเป็นผู้นำได้จริงๆหรือ อาจเป็นคำถาม ที่อยู่ในใจของหลายๆคน สำหรับผมแล้วเชื่อว่าได้ เพราะจากที่เข้าไปดู Web Page ในเมืองไทยทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ผู้นำของ Internet หรือที่อื่นๆ พบว่าแทบไม่มีอะไร โดยเฉพาะที่แสดง ให้เห็นว่ามีการใช้ Intranet อย่างจริงจังนั้นไม่พบเลย แสดงว่าโอกาสเป็นของเราแล้ว ที่ยังไม่มีใครสนใจ อีกทั้งอย่างที่กล่าวแล้วว่า สถานการณ์ และสิ่งแวดล้อมเราได้เปรียบ เพราะเรามีแรงผลักดัน จากการมีเครื่องคอมพิวเตอร์ หลากประเภท หน่วยงานที่รับผิดชอบ ระบบงานภายในได้เป็นผู้เริ่มติดตั้ง Internet ถึงแม้จะแยกหน่วยงานรับผิดชอบ Internet ออกไปภายหลังก็ไม่มีผลกระทบ ผิดกับองค์กรอื่น ที่เขาอาจแยกหน่วยงานพัฒนา Internet ออกจากหน่วยงาน พัฒนาระบบภายใน ทำให้หน่วยงาน Internet รู้ว่าจะทำอย่างไร แต่ไม่มีหน้าที่ต้องทำ ส่วนหน่วยงานพัฒนาระบบ มีงานต้องทำ แต่ไม่รู้ว่าทำยังไง หรือไม่เห็นว่าจะต้องใช้ Intranet ไปทำไม สำหรับบริษัทที่เป็น service provider ก็มัวแต่ขาย account อย่างเดียวไม่ว่างจะมาพัฒนา ในช่วงที่ทุกฝ่ายยังมะงุมมะงาหรานี่แหละ เป็นโอกาสให้เราเป็นผู้นำได้ แต่จะเป็นผู้นำขนาดผู้อื่นยอมรับ และตามไม่ทัน หรือไม่นั้นคงขึ้นอยู่กับ พวกเราทุกคน

Intranet ที่เราทำนั้นอยู่ในขั้นไหน และจะต้องพัฒนาไปถึงไหน ผมจะขอแบ่งขั้นของการพัฒนา Intranet ออกเหมือนขั้นการเรียนหนังสือคือ

1. Intranet ขั้นอนุบาล ได้แก่ Intranet ที่มีการใช้ Web page ชนิดตายตัวอย่างเดียว มีการเรียกดูหน้านั้นกี่ครั้งก็ได้ เหมือนเดิม หากจะแก้ไขก็ต้องใช้โปรแกรมประเภท editor ในการแก้ไข หรืออย่างอนุบาล 3 ก็อาจมีโปรแกรมผลิต Web Page ที่ตายตัวนี้ก็ได้ Web Page ที่ตายตัวนี้ก็สามารถใช้ทำ Intranet ได้เพียงแต่ต้องมีหน่วยงานคอยแก้ไขและสร้าง Web Page คอยดูแลอยู่ Intranet ขั้นอนุบาลนี้รังสิตเราไม่ทำแน่ อายเขา

2. Intranet ขั้นประถม ได้แก่ Intranet ที่มีการใช้ Web Page ชนิดที่เปลี่ยนแปลงหน้าตา output ได้ตาม input ที่ป้อนเข้ามา แต่ขั้นประถมนี้ยัง เป็นการเรียกดูข้อมูล เพียงอย่างเดียว ยังไม่มีการแก้ไขข้อมูล กลับมาได้ สำหรับขั้นประถมนี้ ม.รังสิตเราก็ต้องใช้สำหรับบางงาน เช่น การประกาศผลสอบ ข้อเขียนที่ได้ทำไปแล้ว

3. Intranet ขั้นมัธยม ได้แก่ Intranet ที่มีการใช้ Web Page ชนิดที่เปิดโอกาสให้ user แก้ไขข้อมูลได้ ว่าไปแล้วขั้นนี้ก็คือเป็น application ที่สมบูรณ์ เหมือนกับ การเขียนโปรแกรมพัฒนาระบบ ตามแบบธรรมดา ที่เราใช้กัน แต่ยังไม่เข้าขั้นมหาวิทยาลัย เพราะว่ายังไม่ interactive ตอนนี้ม.รังสิตเราพัฒนา Intranet ได้ถึงขั้นมัธยมเท่านั้น เราต้องเลื่อนชั้นต่อไป

4. Intranet ขั้นปริญญาตรี ได้แก่การใช้เทคโนโลยี Internet มาประมวลผลข้อมูลแบบ interactive, client/server ซึ่งการพัฒนาในขั้นนี้เท่าที่ผมติดตามข่าว ทุกฝ่ายกำลังใช้ความพยายาม อย่างเต็มที่ แต่ยังไม่มีผลิตภัณฑ์ ที่ทำได้ถึงขั้นนี้ แต่เราจะงอมืองอเท้าไม่ได้ ต้องเตรียมพร้อมเรียนรู้ JAVA และ JDBC เพื่อขึ้นมา ชั้นปริญญาตรี นี้ให้ได้

ผมจัดชั้นให้ แค่ปริญญาตรี เพราะอนาคตคาดว่า คงมีเทคโนโลยีใหม่ ที่จะทำให้ Intranet ก้าวหน้าขึ้นไปอีก หากจะถามว่า ถ้าความรู้เรา แค่ขั้นมัธยมนี่ จะพัฒนาระบบงานภายในองค์กร ได้ถึงระดับไหน ทำงานที่เป็น transaction processing ได้หรือไม่ ผมตอบได้ทันทีว่า ได้ ไม่จำเป็นต้อง interactive ก็ทำได้ เพราะผมมีประสบการณ์ รู้จักระบบ ที่ใกล้เคียงกับระบบ browser - web server นี้อย่างที่สุด ระบบที่ว่าคือ ระบบ Reliance ของเครื่อง minicomputer Perkin-Elmer ซึ่งภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น Concurrent Computer ระบบ Reliance ที่ว่านี้ ในประเทศไทย ก็เคยใช้งานหลายที่ เช่นที่โรงพยาบาลสมิติเวช หรือแม้แต่โรงพยาบาลพญาไท 2 เองก็เคยใช้ ซึ่งใช้งานได้จริงๆ หลักการก็มีอยู่ว่า

สำหรับเครื่อง mini computer ในแบบเดิมๆนั้น การเป็น interactive นั้นเป็นจุดอ่อน ไม่ใช่จุดแข็ง เพราะ terminal ทุกจอจะต่อเข้าไปยังตัว minicomputer เวลาเรากดคีย์บอร์ดหนึ่งครั้งก็จะเกิด interupt และตัว minicomputer ก็จะต้องทำงานหลายหมื่น หลายแสน หรือหลายล้านคำสั่ง ก็ไม่ทราบ เพราะไม่อาจจะนับได้ แต่สรุปได้ว่า เครื่องต้องทำงานหนัก โดยใช่เหตุ ก็เลยเกิดความคิดที่ว่า แทนที่จะกดตัวเดียว แล้วส่งให้เครื่องทำงาน ทำไมไม่ใส่ข้อมูล ให้ครบหน้าเสียก่อนล่ะ แล้วค่อยส่งทีเดียวพร้อมกันให้ minicomputer จะได้เกิด interupt ทีเดียว ด้วยเหตุนี้ระบบ Reliance จึงเกิดขึ้น จอที่ส่งข้อมูล และรับข้อมูลทีละหน้านั้น เขาเรียกเสียเพราะพริ้งว่า inteligence terminal แต่ตอนผม อยู่กับมัน ผมก็ไม่รู้สึกว่ามันจะ inteligence ตรงไหน การส่ง และรับข้อมูลทีละหน้านั้น สร้างความยุ่งยากพอสมควร เพราะวิธีการเขียนโปรแกรม ก็ไม่เหมือนธรรมชาติ user ก็รู้สึกว่าการตอบสนองช้า แล้วจอสมัยก่อนก็ทำภาษาไทยยาก ภาษาไทย ไม่มีระดับแบบในปัจจุบันนี้ ก็เพราะภาษาไทย ไม่มีการจัดระดับนี่แหละ ทำให้ผมต้องเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับระบบ Reliance ที่ว่าโดย เขียนระบบใหม่เลียนแบบ Reliance ทุกอย่าง แต่ภาษาไทยจัดระดับ ซึ่งก็ทำได้มีการใช้งานจริง แต่ไม่ประสบความสำเร็จ เพราะผมต้องทำให้มันเป็น interactive ซึ่งขัดกับหลักการของ Reliance แต่ต้น

ในระบบ browser - web server มีหลักการส่งข้อมูล เป็นหน้าเหมือนกัน โปรแกรมรันที่ server ซึ่งก็เทียบได้กับ minicomputer ที่กล่าวแล้ว แต่ระบบ Reliance นั้นมีการ validation หรือตรวจสอบความถูกต้อง ของข้อมูลที่จอภาพ ผมไม่แน่ใจว่า HTML สามารถทำ validation ได้ขนาดไหน ขอให้ทุกคนช่วยกันตรวจสอบด้วย


//itnet.rsu.ac.th/surachai/intranet.html


โดย: น.ส ผกาพรรณ หงษ์ทอง หมู่ 1 จันทร์ บ่าย IP: 124.157.151.177 วันที่: 3 กันยายน 2552 เวลา:14:44:44 น.  

 
15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
.....ประโยชน์ที่ได้รับจากอินทราเน็ต เมื่อนำไปติดตั้งภายในบริษัทหรือองค์กร พอที่จะประมวลได้ 4 ข้อดังนี้
.....1.ข้อดีอย่างแรกที่บริษัทหรือหน่วยงานต่างให้ความสนใจคือ ลดต้นทุนในการบริหารระบบสารสนเทศ ซึ่งความจริงที่ปรากฎ
ในการจัดการกับระบบสารสนเทศ ที่ใช้ระบบทั่งไปมีขั้นตอนคร่าวๆดังนี้



จัดเตรียมข้อมูลข่าวสาร

จัดรูปแบบ

พิมพ์ฉบับร่าง

ตรวจทานและแก้ไข

ทำต้นฉบับ

จัดพิมพ์

ส่งเอกสาร


.....การจัดการระบบสารสนเทศด้วย ระบบอินทราเน็ตจะลดขั้นตอนต่างๆลงได้มาก ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้



จัดเตรียมข้อมูลข่าวสาร

บันทึกข้อมูลลงในระบบอินทราเน็ต


.....สำหรับขั้นตอนการแก้ไขข้อมูลสารสนเทศในระบบอินทราเน็ต จะเป็นการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลให้ทันสมัย (Update)
เมื่อขั้นตอนการผลิตลดลงความถูกต้องของข่าวสารก็จะสูงขึ้น และที่สำคัญคือต้นทุนที่ใช้ในการบริหารระบบสารสนเทศ
ก็ย่อมถูกลง

2. ข้อมูลข่าวสารทันต่อเหตุการณ์ ประโยชน์ที่ได้รับในส่วนนี้จะเป็นผลต่อเนื่องมาจากข้อแรกนั่นคือ ขั้นตอนการผลิตลดลง
เวลาที่ใช้ในการสร้างระบบข่าวสารจึงลดลงไปด้วย ทำให้สามารถผลิตข่าวสารได้ทันต่อเหตุการณ์

3. การติดตั้งระบบจะเสียค่าใช้จ่ายน้อย เนื่องจากระบบนี้สามารถใช้ร่วมกับระบบ LAN (Local Area Network) ที่มีอยู่
เดิมได้ และที่สำคัญคือ Web Servers ของอินทราเน็ต ยังคงข้อดีของระบบอินเทอร์เน็ตไว้อย่างครบถ้วนโดยเฉพาะในเรื่อง
ของความเป็นอิสระจากทางด้านตัวฮาร์ดแวร์และระบบปฎิบัติการ ซึ่งเรื่องนี้คงประจักษ์ชัดอยู่แล้วจากการประสบควมสำเร็จ
ของระบบอินเทอร์เน็ต

4. สามารถเชื่อมต่อระบบฐานข้อมูล เข้ากับระบบอินทราเน็ต ซึ่งระบบฐานข้อมูลชั้นดีหลายตัวด้วยกันที่สนับสนุนระบบอินทราเน็ต
และอินเทอร์เน็ตหรือแม้แต่ระบบแฟ้มข้อมูล ที่เป็น X-Base บางตัวก็ยังมีตัวเชื่อมต่อเข้ากับระบบอินทราเน็ต/อินเทอร์เน็ต
.....เมื่อเราทราบถึงประโยชน์ ของอินทราเน็ตไปแล้ว เราคงต้องการทราบต่อไปว่า การที่จะสร้างระบบนี้ขึ้นมาต้องทำอย่างไรบ้าง


//www.spu.ac.th/msit1/pubmsit2/internet/script_5_1.htm


โดย: น.ส ผกาพรรณ หงษ์ทอง หมู่ 1 จันทร์ บ่าย IP: 124.157.151.177 วันที่: 3 กันยายน 2552 เวลา:14:46:54 น.  

 
แบบฝึกหัด
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุดในโลก อินเตอร์เน็ตมีพัฒนาการมาค่อนข้างยาวนานจาก อาร์พาเน็ต (ARPANET) ในปี พ.ศ. 2512 โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกาเพื่อเชื่อมโยงศูนย์งานวิจัยของมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา
aaaaaเครือข่ายอินเตอร์เน็ตมีการกำหนดคอมพิวเตอร์หลักที่ต่ออยู่บนเครือข่ายให้มีหมายเลขประจำเหมือนกับหมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขนี้จะเป็นเอกลักษณ์ไม่ซ้ำกัน เช่น เครื่องนนทรีใช้รหัสหมายเลข 158.108.2071 รหัสประจำเครื่องที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารกันได้นี้ แต่อาจยุ่งยากต่อผู้ใช้เพราะมีตัวเลขหลายตัว จึงมีการสร้างชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในหลักสากลเพื่อให้มีเรียกขานและเป็นที่เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น เช่น nontri.ku.ac.th

ที่มา
//www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/pornthip_t/computer/sec04p03.html

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบ ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต คือ
- การติดต่อสื่อสาร
อินเทอร์เน็ตช่วยให้เราติดต่อกับคนมากมายทั่วโลกได้ด้วยความรวดเร็วกว้างขวาง ในราคาประหยัด ด้วยอีเมล์ เราสามารถส่งข่าวสารข้ามขอบฟ้าถึงผู้รับ ได้ภายในเวลา 2-3 วินาที โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ การแช็ตหรือเว็บบอร์ด ทำให้เราได้เพื่อนใหม่ต่างเชื้อชาติต่างภาษา แต่มีมุมมองและความสนใจร่วมกัน หลายๆ องค์กรใช้อินเทอร์เน็ตโยงใยผู้คนที่เขาติดต่อด้วย เพื่อประโยชน์ทางการ ศึกษา เศรษฐกิจ และสังคม ฯลฯ

- การศึกษา
นักเรียนนักศึกษาสามารถเข้าไปค้นคว้าหาความรู้มากมายได้จากแหล่งข้อมูลขนาดมหึมาบนอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์บางแห่งออกแบบมา เพื่อการศึกษาโดยเฉพาะ กล่าวคือ มีเนื้อหาและแบบฝึกหัดเสริมบทเรียน มีครูผู้เชี่ยวชาญมาคอยตอบข้อซักถาม มีแช็ตรูมที่ถูกใช้เป็นเวทีอภิปรายในหัวข้อทางด้านการเรียน ักเรียนต่างโรงเรียนสามารถทำโครงงานร่วมกันได้ โดยใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อ อินเทอร์เน็ตช่วยเปิดโลกการเรียนรู้ ไม่ให้จำกัดอยู่ที่ห้องเรียนและตำราเรียน

- ธุรกิจการพาณิชย์
อินเทอร์เน็ตช่วยให้เรามีลูกค้าจากทั่วโลก โดยไม่จำเป็นต้องเปิดร้าน
ในต่างประเทศจริงๆ ท่านอาจได้ยินชื่อเว็บไซต์ปลาร้าดอตคอม ส่งออกปลาร้า กระป๋องไปขายในหลายสิบประเทศทั่วโลก โดยใช้หน้าร้านบนอินเทอร์เน็ต เป็นช่องทางโฆษณาสินค้า เว็บไซต์ชื่อดังอย่าง อเมซอนดอตคอม ทำรายได้ จากการขายหนังสือให้ประเทศสหรัฐอเมริกาเดือนละหลายล้านดอลล่าร์ เว็บไซต์ เพื่อการท่องเที่ยวของไทยอีกหลายแห่ง ก็ทำเงินเข้าประเทศปีละไม่น้อยเช่นกัน

- การบันเทิง
อินเทอร์เน็ตถูกใช้เพื่อวัตถุประสงค์ด้านบันเทิงด้วย มีสถานที่พักผ่อน
หย่อนใจมากมายบนอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นพิพิธภัณฑ์ภาพวาด สวนสนุกเสมือน เว็บไซต์เกม เว็บไซต์เพลง รายการหรือข่าวสารพันบันเทิงของสถานีดัง รวมเรื่องขำขัน รวมภาพ หรือวิดีโอตลก ฯลฯ


ที่มา
//school.obec.go.th/uts_s/webpages/computer/good_net.htm


โดย: นาย สุระทิน ใจใส หมู่ 15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151202 IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 6 กันยายน 2552 เวลา:13:30:19 น.  

 
15.1
อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

15.2

1.เพื่อสร้างลูกค้า เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ ทำการตลาดอย่างรวดเร็ว เพื่อช่วยให้ลูกค้าทำงานได้ง่ายขึ้น และสุดท้ายเกิดกำไรกับบริษัทฯ โดยใช้ต้นทุนต่ำ

2.กระจายสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในพื้นที่ที่กว้างมากเท่าที่ต้องการ เช่น
บริษัทฯ อีซูซุ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศญี่ปุ่น และมีสาขามากมายในประเทศต่าง ๆ สามารถทำให้มี สารสนเทศเดียวกัน ใช้ร่วมกัน และยังสามารถตัดขั้นตอนงานที่ซ้ำซ้อนลงได้ ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3.การเชื่อมต่อระบบกับธุรกิจอื่น และสามารถสร้างรายได้ในช่องทางใหม่ อีกทั้งยังช่วยผลักดันและเป็นหนทางให้บริษัทเติบโตหรือขยายธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว
4. ช่วยให้การประสานงานดีขึ้น การจัดทำ Web จำนวนมากนอกจากช่วยการประสานงานภายในแล้ว หุ้นส่วนอื่น ๆ ก็ได้รับประโยชน์ด้วย ช่วยให้มีการกระจายข่าวสารถึงกันได้อย่างรวดเร็วขึ้น
5. ช่วยในเรื่องการจัดองค์ความรู้ เริ่มตั้งแต่หน่วยงานย่อย ๆ รวมกันเป็นรูปบริษัทฯ บริษัทในเครือหุ้นส่วนสารสนเทศกระจายถึงกัน ส่งผลให้เกิดเป็นการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ ๆ ทำให้เกิดเป็นสังคมข้อมูลข่าวสารที่กว้างสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้น
6. เป็นช่องทางหาธุรกิจใหม่

ที่มา //www.comsci98.com/forum/index.php?action=dlattach;topic


โดย: นางสาวเกษร อัครฮาด รหัสนักศึกษา 52040003135 หมู่ 29 เรียนพุธเช้า IP: 125.26.172.40 วันที่: 7 กันยายน 2552 เวลา:20:30:01 น.  

 

จงอธิบายลักษณะของ Intranet
อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

1.เพื่อสร้างลูกค้า เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ ทำการตลาดอย่างรวดเร็ว เพื่อช่วยให้ลูกค้าทำงานได้ง่ายขึ้น และสุดท้ายเกิดกำไรกับบริษัทฯ โดยใช้ต้นทุนต่ำ

2.กระจายสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในพื้นที่ที่กว้างมากเท่าที่ต้องการ เช่น
บริษัทฯ อีซูซุ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศญี่ปุ่น และมีสาขามากมายในประเทศต่าง ๆ สามารถทำให้มี สารสนเทศเดียวกัน ใช้ร่วมกัน และยังสามารถตัดขั้นตอนงานที่ซ้ำซ้อนลงได้ ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3.การเชื่อมต่อระบบกับธุรกิจอื่น และสามารถสร้างรายได้ในช่องทางใหม่ อีกทั้งยังช่วยผลักดันและเป็นหนทางให้บริษัทเติบโตหรือขยายธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว
4. ช่วยให้การประสานงานดีขึ้น การจัดทำ Web จำนวนมากนอกจากช่วยการประสานงานภายในแล้ว หุ้นส่วนอื่น ๆ ก็ได้รับประโยชน์ด้วย ช่วยให้มีการกระจายข่าวสารถึงกันได้อย่างรวดเร็วขึ้น
5. ช่วยในเรื่องการจัดองค์ความรู้ เริ่มตั้งแต่หน่วยงานย่อย ๆ รวมกันเป็นรูปบริษัทฯ บริษัทในเครือหุ้นส่วนสารสนเทศกระจายถึงกัน ส่งผลให้เกิดเป็นการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ ๆ ทำให้เกิดเป็นสังคมข้อมูลข่าวสารที่กว้างสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้น
6. เป็นช่องทางหาธุรกิจใหม่


โดย: นายจักรกริช โพธิวงษ์ หมู่ 15 ศุกรเช้า IP: 192.168.1.103, 119.42.83.235 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:21:35:31 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต เชื่อมเข้าด้วยกันโดยติดต่อผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซวึ่งเครือข่าย เอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย อินเทอร์เน็ต สามารถติดต่อหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กรได้ การใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ตติดต่อกันแทนที่จะติต่อโดยตรงกับ อินทราเน็ตทำให้ประหยัดและสามารถใช้ข้อดีของบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้อย่างมีประโยชน์สูงสุด


15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

1.การสื่อสารเป็นแบบสากล คือ การส่งข่าวสารในรูปของ E-mail ระหว่างผู้ใช้ Internet นอกหน่วยงานได้
2.ใช้มาตรฐานเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ได้เหมือนอินเตอร์เน็ต
3.การลงทุนต่ำ
4.ความน่าเชื่อถือมีมาก
5.สมรรถนะ เช่น การส่งข้อความ ภาพและเสียงได้ดี

ที่มา

//members.fortunecity.com/songwit/book.htm






โดย: นางสาว ศิริพร คมกล้า 51040901250สาขานิติศาสตร์ หมู่ 01 (จันทร์-บ่าย) IP: 222.123.14.135 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:12:40:28 น.  

 
15.1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html



โดย: นายสุรพล อินทร์ธิราช หมู่ 05 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:15:38:03 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต เชื่อมเข้าด้วยกันโดยติดต่อผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซวึ่งเครือข่าย เอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย อินเทอร์เน็ต สามารถติดต่อหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กรได้ การใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ตติดต่อกันแทนที่จะติต่อโดยตรงกับ อินทราเน็ตทำให้ประหยัดและสามารถใช้ข้อดีของบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้อย่างมีประโยชน์สูงสุด


15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

1.การสื่อสารเป็นแบบสากล คือ การส่งข่าวสารในรูปของ E-mail ระหว่างผู้ใช้ Internet นอกหน่วยงานได้
2.ใช้มาตรฐานเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ได้เหมือนอินเตอร์เน็ต
3.การลงทุนต่ำ
4.ความน่าเชื่อถือมีมาก
5.สมรรถนะ เช่น การส่งข้อความ ภาพและเสียงได้ดี

ที่มา

//members.fortunecity.com/songwit/book.htm



โดย: นายสันทัด คูหานา 51241151129 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:15:40:27 น.  

 
ข้อ 1 อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น

อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm



โดย: พ.อ.อ.ปิยะ หอมชื่น 51241151144 หมู่ 05 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:15:41:29 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต เชื่อมเข้าด้วยกันโดยติดต่อผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซวึ่งเครือข่าย เอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย อินเทอร์เน็ต สามารถติดต่อหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กรได้ การใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ตติดต่อกันแทนที่จะติต่อโดยตรงกับ อินทราเน็ตทำให้ประหยัดและสามารถใช้ข้อดีของบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้อย่างมีประโยชน์สูงสุด


15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

1.การสื่อสารเป็นแบบสากล คือ การส่งข่าวสารในรูปของ E-mail ระหว่างผู้ใช้ Internet นอกหน่วยงานได้
2.ใช้มาตรฐานเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ได้เหมือนอินเตอร์เน็ต
3.การลงทุนต่ำ
4.ความน่าเชื่อถือมีมาก
5.สมรรถนะ เช่น การส่งข้อความ ภาพและเสียงได้ดี

ที่มา

//members.fortunecity.com/songwit/book.htm






โดย: นางสาว สมร นาแพงหมื่น 51241151220 หมู่05 เสาร์บ่าย รปศ. IP: 114.128.22.203 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:13:06:09 น.  

 
ตอบข้อที่ 15.1
อินทราเน็ตคืออะไร

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด


ตอบข้อที่ 15.2
ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก

ที่มา//learners.in.th/home/error






โดย: นางสาวจุรีพร โดคตชมภุ รหัส 52040332125 พฤหัส (เช้า) หมู่ 8 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:16:34:35 น.  

 
คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html


โดย: นายอภิเชษฐ์ หาคำ ม.8 พฤหัส (เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:13:22 น.  

 
15.1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm






โดย: จ.ส.อ. อาสา โสมประยูร 51241151211 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:23:34 น.  

 
1.ตอบ
อินทราเน็ตคืออะไร

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



2.ตอบ
ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก

ที่มา//learners.in.th/home/error






โดย: จ.ส.ต. เสกสิท วงศรีรักษา 51241151128 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:25:13 น.  

 
1.
อินทราเน็ต ก็คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบภายในที่ใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต ซึ่งก็หมายความว่า การใช้งานอินทราเน็ตนั้น ใช้โปรโตคอล IP เหมือนกับอินเตอร์เน็ต มีเว็บไซท์เหมือนกัน ต้องใช้เว็บเบราเซอร์เช่นกัน และใช้อีเมล์ได้ด้วย และถ้าอินทราเน็ตของเราเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้งานอินทราเน็ตอย่างเราๆ ก็สามารถใช้ได้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อมๆกันอย่างไม่รู้สึกตัว

สิ่งที่แยกความรู้สึกในการใช้งานอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตก็คือความเร็ว การโหลดไฟล์ใหญ่ๆจากเว็บไซท์ในอินทราเน็ต จะรวดเร็วกว่าการโหลดจากอินเตอร์เน็ตมาก



2.
ประโยชน์ที่ได้รับจากอินทราเน็ตสำหรับองค์กรหนึ่งๆ ก็คือ สามารถใช้ความสามารถต่างๆที่มีอยู่ในระบบอินเตอร์เน็ตได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ไม่ถูกจำกัดด้วยแบนวิดธ์หรือความกว้างของถนนในการส่งถ่ายข้อมูล แปลความให้ชัดเจนก็คือ เราสามารถดูวิดิโอ (ที่ต้องโหลดมาก่อนทั้งไฟล์) วิดิโอตามสาย (streaming line โหลดมาและดูเกือบจะพร้อมๆกันได้เป็นชั่วโมงๆ) และเรียกใช้ไฟล์ .exeที่มีขนาดหลายๆ MB ได้ในเวลาที่รอคอยได้

การใช้งานอีเมล์ติดต่อกันกับเจ้าหน้าที่ในอินทราเน็ตกันเองก็รวดเร็วกว่ามาก แน่นอน ประโยชน์ที่ได้จากงานนี้ก็คือ การแนบไฟล์ (attach file) ขนาดใหญ่ๆไปกับอีเมล์ ซึ่งทำได้สะดวกและรวดเร็วมากในระบบอินทราเน็ต

ส่วนการใช้งานโปรแกรมอื่นๆในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) นั้น เป็นการใช้งานที่ไม่ได้ใช้โปรโตคอล IP ของอินเตอร์เน็ต เราจะไม่เรียกการใช้งานอย่างนั้นว่าอินทราเน็ต โดยเรายังคงเรียกมันว่า เป็นการใช้งานโปรแกรมในระบบเครือข่าย LAN (เช่น โปรแกรมบริการผู้ป่วยของโรงพยาบาลราชวิถี) ดูจะเข้าใจได้ง่ายและถูกต้องกว่า ซ้ำยังไม่สับสนกับการใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตของระบบอินทราเน็ตด้วย

//www.technicphotharam.com/IT/e-lerning/web8.html



โดย: จ.ส.ต. หญิงพรรสุภา ชิตเกษร 51241151125 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:26:47 น.  

 
แบบฝึกหัด
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

15.1 ตอบ อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น

อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm


15.2 ตอบ ประโยชน์และข้อดีในการใช้ อินทราเน็ต ภายในบริษัท สถาปนิก พอที่จะแจกแจงได้ดังนี้
2.1 ประโยชน์ในการอ่านข้อมูลที่จัดทำอยู่ในรูปแบบแบบก่อสร้างซึ่งมักจะจัดทำเป็น ไฟล์ ประเภท *.DWG ที่เป็นรูปแบบของ ไฟล์ แบบก่อสร้างที่บริษัท สถาปนิกในประเทศไทยเกือบทั้งหมดใช้กัน เราสามารถเรียกใช้ข้อมูลนี้ผ่าน เวบเบราเซอร์ได้หลายวิธี เช่น ผ่าน Web helper ซึ่งจะไปเรียกใช้ ซอฟต์แวร์ ที่อ่านข้อมูล “*.DWG” ได้โดยตรง เช่น โปรแกรม “AutoCAD”, โปรแกรม “Aview” หรือเราอาจ ใช้โปรแกรม DRAWING Librarianที่เป็น plug-ins ในเวบเบราเซอร์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลได้ในทันที ที่เราเลือกข้อมูลชนิดนี้ การตัดสินใจว่าองค์กรของเราจะใช้วิธีใด ขึ้นอยู่กับ ความต้องการที่ผู้ใช้จะแค่ดูข้อมูลคร่าวๆ หรือต้องการทำการแก้ไขข้อมูลด้วย นอกจากในโปรแกรม รุ่นใหม่ของ AutoCAD มีรูปแบบของข้อมูลชนิดใหม่ที่สามารถนำแบบที่ เก็บด้วยโปรแกรมนี้ นำมาแสดงได้ด้วย เวบบราวเซอร์ โดยตรงอีกด้วย 2.2 ถ้าสามารถแปลงข้อมูล แบบก่อสร้าง ในรูปแบบ *.DWG มาเป็นรูปภาพเช่น *.GIF, *.JIP เวบเบราเซอร์ ในระบบ อินทราเน็ต จะสามารถอ่านข้อมูลเหล่านี้ได้ทันที โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมใดๆเพิ่มเติมอีก ซึ่ง จะมีประโยชน์มาก ในการทำสารบัญข้อมูลของแบบก่อสร้างในโครงการต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการค้นหา และ อ้างอิงในภายหลัง การแปลงข้อมูลอยู่ในรูป GIF และ JIP นี้มีข้อดีที่ขนาดของ ไฟล์ ข้อมูล มีขนาดเล็ก การเรียกข้อมูลมาใช้งานจะทำได้เร็วกว่าการเรียกข้อมูลจาก file ข้อมูลใน AutoCAD โปรแกรม ที่ใช้แปลงข้อมูล จาก ไฟล์ AutoCAD เป็น ไฟล์ GIF หรือ JIP มีหลายโปรแกรมเช่นโปรแกรม Image Magick เป็นต้น หรือมีวิธีง่ายกว่านั้นแต่ต้องลงทุนซื้อฮาร์ดแวร์ประเภท สแกนเนอร์ ขนาดใหญ่ ( เครื่อง สแกนเนอร์ นี้ต้องสแกนเอกสารได้อย่างน้อยเท่ากับ กระดาษขนาด A0 ซึ่งเป็น ขนาด แบบก่อสร้าง มาตรฐาน) แล้ว ใช้วิธี สแกน แบบก่อสร้าง ที่มีอยู่แล้วเป็น ไฟล์รูปภาพที่ต้องการโดยตรง วิธีนี้ เสียค่าใช้จ่าย มากกว่า วิธีการ แปลง ไฟล์ แต่มีข้อดีคือ ข้อมูลของแบบก่อสร้างที่อยู่ใน ระบบ อินทราเน็ต จะ เป็น ข้อมูลที่มีความ ทันสมัยมากกว่าข้อมูลที่ได้จากการวิธีแปลง ไฟล์ ของ AutoCAD เป็น GIF หรือ JIP เพราะ ในระหว่างการทำงานจริง โดยเฉพาะช่วงการก่อสร้างอาคาร มัก จะมีการแก้ไข แบบก่อสร้าง เป็น ระยะๆ และ การแก้ไขในขั้นตอนนี้ จะใช้วิธีเขียนด้วยมือ มากกว่าการแก้ไขด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์ 2.3 การได้ประโยชน์จากการทำงานแบบ Documents Works Flow ซึ่งเดิม เป็น ความสามารถ อย่างหนึ่ง ของ GroupWare เช่น Lotus Note, Novell GroupWise เป็นต้น แต่ในปัจจุบัน เรา สามารถ นำความสามารถ ในเรื่องนี้ของระบบ อินทราเน็ต มาใช้แทนการทำงาน ของ GroupWare ใน ราคาที่ถูก กว่ามาก การทำงานแบบ Documents Works Flow มีประโยชน์อย่างมาก ในการทำงาน แบบ โครงการ เพราะ โครงการหนึ่งๆ มีเอกสาร และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับส่วนงานหลายส่วนในเวลาเดียวกัน 2.4 การพัฒนาทางเทคโนโลยี อินทราเน็ต ในด้านรูปภาพ 3 มิติ ที่เรา สามารถ เคลื่อนที่ เข้าไป ดูในวัตถุ นั้น ราวกับ มีสิ่งของนั้นจริง หรือที่เรียกว่า VRML (The Virtual Reality Modeling Language) เป็น ประโยชน์สำหรับ สถาปนิกที่ออกแบบ งานสถาปัตยกรรมเป็นอย่างมาก เพราะการพัฒนาการสร้าง Model สามมิติ ในปัจจุบัน แม้จะมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์มากมาย ที่ช่วยเหลือในการทำงาน แต่ โปรแกรมเหล่านั้น มัก จะ มีคำสั่งค่อนข้าง ซับซ้อน, ใช้เวลาที่จะเรียนรู้ และใช้เวลาทำงานแต่ละชิ้นงานค่อนข้างนาน อีกทั้ง การส่งผ่าน ข้อมูล และอ่านข้อมูล ต้องใช้โปรแกรมเฉพาะของผู้ผลิตแต่ละรายๆไป เช่น ไฟล์ ข้อมูล ของ โปรแกรม 3D-Studio ต้องใช้โปรแกรมนี้เปิดดูได้เท่านั้น เป็นต้น หรือถ้าต้องการให้โปรแกรมอื่นๆ เปิดดูได้ ต้องแปลงข้อมูล ออกมาเป็นข้อมูลรูปภาพเสียก่อน แต่ด้วยระบบของ อินทราเน็ต เรา สามารถ อ่านข้อมูลนี้ ผ่าน เวเลนซีราเบอร์ ที่มี Plug-ins เพิ่มเติมได้ สถาปนิก และผู้เกี่ยวข้อง หรือแม้แต่ลูกค้าสามารถดูข้อมูล งานออกแบบ งานสถาปัตยกรรม แบบสามมิติได้ทันที และสถาปนิกสามารถใช้ประโยชน์นี้ นำเสนอ ผลงานของตน ให้กับลูกค้า และเจ้าของงานได้อย่างกว้างขว้างยิ่งขึ้น เรา จะกล่าวถึงเรื่องนี้ โดยละเอียด อีกครั้ง ใน ภายหลัง

//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/112.html










โดย: น.ส.จิตราภรณ์ ภุเกตุ หมู่ 8 พฤหัสเช้า IP: 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:40:53 น.  

 
1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html




โดย: น.สสุกัญญา แก้วคูณเมือง รหัส 51241151122 หมู05 รูปแบบพิเศษ IP: 118.173.244.173 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:19:22:16 น.  

 

1 อินเทอร์เน็ต คืออะไร
อินเทอร์เน็ต(Internet) คือ เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายขนาดเล็กมากมาย รวมเป็นเครือข่ายเดียวทั้งโลก หรือเครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ที่ต้องการเข้ามาในเครือข่าย สำหรับคำว่า internet หากแยกศัพท์จะได้มา 2 คำ คือ คำว่า Inter และคำว่า net ซึ่ง Inter หมายถึงระหว่าง หรือท่ามกลาง และคำว่า Net มาจากคำว่า Network หรือเครือข่าย เมื่อนำความหมายของทั้ง 2 คำมารวมกัน จึงแปลว่า การเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย
IP (Internet protocal) Address
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อกันใน internet ต้องมี IP ประจำเครื่อง ซึ่ง IP นี้มีผู้รับผิดชอบคือ IANA (Internet assigned number authority) ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางที่ควบคุมดูแล IPV4 ทั่วโลก เป็น Public address ที่ไม่ซ้ำกันเลยในโลกใบนี้ การดูแลจะแยกออกไปตามภูมิภาคต่าง ๆ สำหรับทวีปเอเชียคือ APNIC (Asia pacific network information center) แต่การขอ IP address ตรง ๆ จาก APNIC ดูจะไม่เหมาะนัก เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เชื่อมต่อด้วย Router ซึ่งทำหน้าที่บอกเส้นทาง
ถ้าท่านมีเครือข่ายของตนเองที่ต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ก็ควรขอ IP address จาก ISP (Internet Service Provider) เพื่อขอเชื่อมต่อเครือข่ายผ่าน ISP และผู้ให้บริการก็จะคิดค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อตามความเร็วที่ท่านต้องการ เรียกว่า Bandwidth เช่น 2 Mbps แต่ถ้าท่านอยู่ตามบ้าน และใช้สายโทรศัพท์พื้นฐาน ก็จะได้ความเร็วในปัจจุบันไม่เกิน 56 Kbps ซึ่งเป็น speed ของ MODEM ในปัจจุบัน
IP address คือเลข 4 ชุด หรือ 4 Byte เช่น 203.158.197.2 หรือ 202.29.78.12 เป็นต้น แต่ถ้าเป็นสถาบันการศึกษาโดยทั่วไปจะได้ IP มา 1 Class C เพื่อแจกจ่ายให้กับ Host ในองค์กรได้ใช้ IP จริงได้ถึง 254 เครื่อง เช่น 203.159.197.0 ถึง 203.159.197.255 แต่ IP แรก และ IP สุดท้ายจะไม่ถูกนำมาใช้ จึงเหลือ IP ให้ใช้ได้จริงเพียง 254 หมายเลข
1 Class C หมายถึง Subnet mask เป็น 255.255.255.0 และแจก IP จริงในองค์กรได้สูงสุด 254
1 Class B หมายถึง Subnet mask เป็น 255.255.0.0 และแจก IP จริงในองค์กรได้สูงสุด 66,534
1 Class A หมายถึง Subnet mask เป็น 255.0.0.0 และแจก IP จริงในองค์กรได้สูงสุด 16,777,214
2.2 ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
2.2.1 เป็นแหล่งข้อมูลที่ลึก และกว้าง เพราะข้อมูลถูกสร้างได้ง่าย แม้นักเรียน หรือผู้สูงอายุก็สร้างได้
2.2.2 เป็นแหล่งรับ หรือส่งข่าวสาร ได้หลายรูปแบบ เช่น mail, board, icq, irc, sms หรือ web เป็นต้น
2.2.3 เป็นแหล่งให้ความบันเทิง เช่น เกม ภาพยนตร์ ข่าว หรือห้องสะสมภาพ เป็นต้น
2.2.4 เป็นช่องทางสำหรับทำธุรกิจ สะดวกทั้งผู้ซื้อ และผู้ขาย เช่น e-commerce หรือบริการโอนเงิน เป็นต้น
2.2.5 ใช้แทน หรือเสริมสื่อที่ใช้ติดต่อสื่อสาร ในปัจจุบัน โดยเสียค่าใช้จ่าย และเวลาที่ลดลง


//www.thaiall.com/internet/internet02.htm


โดย: น.สสุกัญญา แก้วคูณเมือง รหัส 51241151122 หมู05 รูปแบบพิเศษ IP: 118.173.244.173 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:19:23:37 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบ อินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์หลายล้านเครื่องทั่วโลกเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายเดียว (Global Network) ที่รวมผู้ใช้กว่า 60 ล้านคน เพื่อประกอบกิจกรรมหลากหลายตั้งแต่ การพูดคุย การสื่อสารข้อมูล การแลกเปลี่ยนข่าวสารความรู้ การค้าขายแบบอิเล็กทรอนิกส์ การศึกษาทางไกล ฯลฯ เมื่อครั้งที่อินเตอร์เน็ตถือกำเนิดขึ้นนั้น ไม่มีใครเคยคาดคิดว่ามันจะกลายมาเป็นเครือข่ายที่มีบทบาทกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน จนถึงขนาดที่กำลังจะปฏิวัติวิธีการดำเนินชีวิตของประชากรโลกในศตวรรษหน้า กล่าวคือเมื่อ 20 ปีก่อน กระทรวงกลาโหมสหรัฐได้มีมติด่วนให้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีชื่อว่า ARPANET จุดมุ่งหมายคือให้เป็นเครือข่ายที่มีความเชื่อถือได้สูง สามารถที่จะทำงานได้แม้ภายหลังที่อเมริกาถูกถล่มโดยอาวุธนิวเคลียร์ ดังนั้นเทคโนโลยีที่ใช้เชื่อมเครือข่าย ต้องมีความสามารถที่จะทำงานกับโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ที่เหลือจากการทำลายของอาวุธนิวเคลียร์ เช่น หากโครงข่ายโทรศัพท์ และ เคเบิลถูกทำลายในบางพื้นที่ เครือข่ายจะยังคงทำงานได้โดยการสลับมาใช้โครงข่ายอื่น เช่น โครงข่ายดาวเทียม หรือวิทยุ เป็นต้น นอกจากนั้นเทคโนโลยีดังกล่าวต้องมีความสามารถในการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างประเภท และต่างรุ่นที่มีอยู่ทั่วไปตามฐานทัพต่าง ๆ
ในครั้งนั้นการพัฒนาเครือข่าย ARPANET ได้กระทำร่วมกันระหว่างกระทรวงกลาโหม กับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ รวมทั้งหน่วยงานสำคัญ ๆ เช่นองค์การ NASA ทำให้ ARPANET เริ่มเติบโตโดยเริ่มมีการใช้งานมากขึ้นสำหรับการศึกษาและการวิจัย ถึงแม้จะเริ่มมีการพัฒนาเครือข่ายอื่น ๆ เช่น DECNET และ BITNET ขึ้นมาเป็นคู่แข่ง แต่เพราะข้อดีของ ARPANET ที่เป็นระบบเปิดที่ใช้โปรโตคอลแบบ TCP/IP ทำให้ไม่จำกัดกับเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือ โครงข่ายเชื่อม (Physical Links) แบบใดแบบหนึ่ง ทำให้มันเอาชนะคู่แข่งและกลายมาเป็นตัวเชื่อมเครือข่ายอื่น ๆ ที่เข้ากันไม่ได้ ให้สามารถคุยกันรู้เรื่อง ด้วยเหตุนี้ทำให้ ARPANET ถูกพัฒนามาเป็นเครือข่ายของเครือข่าย หรือ อินเตอร์เน็ต (internet) ในที่สุด ข้อดีของการที่เป็นระบบเปิด คือ สามารถใช้เทคโนโลยีการเชื่อมต่อได้หลายแบบทั้ง ไมโครเวพ ดาวเทียม โทรศัพท์ เคเบิล ใยแก้วนำแสง หรือแม้แต่ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ และสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบใดก็ได้ รวมทั้งยังบริหารง่ายคือ ผู้ใช้ออกค่าใช้จ่ายเฉพาะส่วนของตน ทำให้อินเตอร์เน็ตขยายตัวง่ายในขณะที่ความซับซ้อนของงานไม่เพิ่มขึ้นเท่าไรนัก ความง่ายในการขยายเครือข่ายและการใช้งาน ได้ทำให้อินเตอร์เน็ตเริ่มได้รับความนิยมนอกประเทศสหรัฐอเมริกา จนกลายมาเป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงทั่วโลก

ที่มา:www.thaiall.com/internet/internet02.htm

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบ ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตมาใช้ในองค์กรต่างๆ คือ
- ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสาร เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารต่างๆ ภายในองค์กร สามารถจัดเก็บอยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ภาษา HTML และใช้บราวเซอร์ในการอ่านเอกสาร ทำให้ลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการจัดพิมพ์เอกสารกระดาษ
- ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอ เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยากเหมือนการพิมพ์ลงกระดาษ และไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ทำให้บุคลากรในองค์กรสามารถรับข่าวสารใหม่ล่าสุดได้เสมอ
- ช่วยให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไว ไม่ว่าบุคลากรจะอยู่ห่างกันคนละชั้น คนละตึก หรือคนละจังหวัด ด้วยการใช้เทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีการคุยติดต่อผ่านแป้นพิมพ์ หรือแม้กระทั่งเทคโนโลยีประชุมทางไกล เป็นการช่วยลดการสูญเสียเวลาของบุคลากร ตลอดจนช่วยให้ทีมงานมีการประสานงานกันดีขึ้น
เสียค่าใช้จ่ายต่ำ การติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการติดตั้งซอฟท์แวร์การทำงานแบบกลุ่ม (Workgroup software) ทั่วไปมาก เนื่องจากการใช้เทคโนโลยีแบบเปิดของอินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถใช้ซอฟท์แวร์ต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตที่มีราคาไม่สูงนัก หรือในงานบางส่วนอาจไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เนื่องจากมีแชร์แวร์และฟรีแวร์อยู่มากมายในอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้หากองค์กรมีระบบเครือข่ายภายในอยู่แล้ว การติดตั้งระบบอินทราเน็ตเพิ่มเติมจะเสียค่าใช้จ่ายต่ำมาก เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆที่มีอยู่แล้วได้ทันทีตามคุณสมบัติการใช้งานข้ามระบบ (cross platform) ที่แตกต่างกันได้ของอินเทอร์เน็ต
- เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด ทำให้องค์กรไม่ผูกติดอยู่กับผู้ค้ารายใดรายหนึ่ง จึงช่วยลดความเสี่ยงต่างๆ เช่น ผู้ค้าเลิกกิจการ ผู้ค้าเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือผู้ค้าขึ้นราคา เป็นต้น รวมทั้งช่วยให้สามารถหาซอฟต์แวร์ใหม่ๆ ที่จะมาช่วยในการทำงานได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งผู้ผลิตเพียงรายเดียว
- เตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตได้ทันที รวมทั้งเป็นการเตรียมความรู้ของบุคลากรเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตด้วย







โดย: นางสาวกาญจนา อุปวันดี (หมู่01วันจันทร์-บ่าย) IP: 125.26.192.37 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:21:44:09 น.  

 

15. แบบฝึกหัด
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

อินทราเน็ต (Intranet) คือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงการสื่อสารด้วยระบบโปรโตคอลทีซีพี/ไอพี(TCP/IP) ซึ่งเป็นระบบโปรโตคอลในการสื่อสารของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) ดังนั้น โปรแกรมเพื่อการสื่อสารบนเครือข่ายอินทราเน็ตจึงเป็นซอฟต์แวร์ชนิดเดียวกันกับที่ใช้ในการสื่อสารบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ส่วนความแตกต่างที่ชัดเจนระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คือ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ครอบคลุมทั้งโลก อินเทอร์เน็ตไม่มีใครเป็นเจ้าของอย่างแท้จริง และไม่มีใครสามารถควบคุมเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ แต่สำหรับเครือข่ายอินทราเน็ตมีเจ้าของแน่นอน และถูกควบคุมโดยองค์กรหรือบุคคลผู้เป็นเจ้าของ
อินทราเน็ตเกิดจากความคิดของระบบอินเทอร์เน็ตในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หลากหลายชนิดจากทุกมุมโลกเข้าด้วยกันได้ รวมทั้งการที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลจากที่ต่าง ๆ การมีบริการที่เป็นประโยชน์และความสามารถในการแสดงผลได้ตามต้องการแบบ 4ท (ที่เดียวทั่วโลก ทันที ทุกเวลา) นี้เอง ทำให้เกิดแนวคิดในการนำเทคโนโลยีของระบบดังกล่าวมาใช้งานในหน่วยงานหรือองค์กรซึ่งเมื่อย่อระบบอินเตอร์เน็ตลงมาในองค์กรก็เป็นระบบอินทราเน็ตนั่นเอง ดังนั้นอินทราเน็ตต้องมีทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตถือเป็นการปฎิรูประบบงานในองค์กรใหม่และก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานในปัจจุบันและอนาคต ในปัจจุบันได้มีผู้ให้คำจำกัดความของอินทราเน็ตไว้ต่าง ๆ ดังนี้
- อินทราเน็ตเป็นระบบเครือข่ายภายในที่เชื่อมโยงเครือข่ายย่อยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และให้ทุกคนในองค์กรใช้ร่วมกัน
- อินทราเน็ต เป็นรูปแบบของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในองค์กร
- อินทราเน็ต เป็นคำที่สื่อความหมายถึงการนำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ตมาใช้ เพื่อตอบสนองระบบงานภายในองค์กรโดยเฉพาะ
- อินทราเน็ตเป็นระบบอินเทอร์เน็ตที่ใช้งานเฉพาะในองค์กร
- อินทราเน็ต เป็นการนำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ ในองค์กรหรือหน่วยงาน
- อินทราเน็ต เป็นการรวมสารสนเทศที่มีอยู่ โดยวิธีการปรับปรุงให้เข้าถึงและกระจายข้อมูลผ่านไอพี เครือข่ายโดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวก ปรับปรุงวิธีการเข้าถึงสารสนเทศ การกระจายใช้สารสนเทศ และการบริหารสารสนเทศ
- อินทราเน็ต เป็นการนำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ต ที่ได้รับการยอมรับและเป็นมาตรฐานในการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ทั่วโลกเข้าด้วยกัน มาประยุกต์ใช้ในองค์กร หรือหน่วยงาน
จากนานาทัศนะดังกล่าวข้างต้น สามารถจำกัดความได้ว่าอินทราเน็ต เป็นระบบเครือข่ายภายใน
ที่นำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้งานภายในองค์กร โดยการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายย่อยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และนำมาใช้เพื่อตอบสนองระบบงานภายในองค์กรโดยเฉพาะและให้ทุกคนในองค์กรใช้ร่วมกัน อินทราเน็ตจึงถือว่าเป็น Corparate Portal หรือเว็บท่าองค์กร เป็นที่ที่ทุกคนต้องมาใช้เพื่อทำงานตามหน้าที่
e-company
อี-คอมพานี (e-company) หมายถึง องค์กรที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินธุรกรรมจากระบบเดิม ซึ่งใช้เอกสารในการประสานงานกัน มาเป็นระบบที่ใช้เอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยประยุกต์เทคโนโลยีในปัจจุบัน ปรับให้เข้ากับการดำเนินธุรกิจของแต่ละองค์กร ซึ่งจะทำให้การประสานงานกันทั้งภายในองค์กรเองและต่างองค์กรมีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับบริษัทคู่แข่งและทำให้บริษัทเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืนยิ่งขึ้น
ปัจจุบันธุรกิจแบบเดิมที่เราคุ้นเคยกำลังหมดยุคไปทุกวันนี้การแข่งขันในตลาดโลกเริ่มรุนแรงขึ้น ไอที มีบทบาทมากขึ้น ดังนั้นบุคลากรด้านไอทีที่มีความสามารถ รวมถึงการติดต่อสัมพันธ์ทางการค้าที่ดีต่อกันระหว่าง ลูกค้าและซัพพลายเออร์ คุณภาพของการบริการจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่มีต่อการเจริญเติบโตของบริษัทฯ ต่างจากในอดีตที่เป็นเพียงส่วนเสริมของการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เท่านั้น
อี-คอมพานี เป็นการรวมเอาการดำเนินธุรกิจขององค์กรกับเว็บเทคโนโลยีเพื่อสร้างจุดแข็งให้กับบริษัทฯ เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า และลดค่าใช้จ่ายในส่วนปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งสำหรับบริษัทขนาดใหญ่ กลางและเล็ก รวมไปถึงธุรกิจเน็ตเจเนอเรชัน อันหมายถึงบริษัทในโลกยุคใหม่ที่ไม่มีข้อจำกัดทางด้านขนาดของการลงทุนจำนวนพนักงาน หรือแม้แต่ช่องทางในการทำธุรกิจ ที่ทุกแห่งเริ่มต้นในจุดเดียวกันแต่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ทั่วโลกและไม่มีข้อจำกัดของระยะทางอีกต่อไป
การทำธุรกิจบนระบบคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์กอย่างอีคอมเมิร์ซ และอี-บิซิเนส ที่เริ่มแพร่หลาย โดยเกิดจากกระแสการเจริญเติบโตของอินเทอร์เน็ตที่รวดเร็ว อัตราความเจริญเติบโตของสังคมบนอินเทอร์เน็ตที่มีมากขึ้นอย่างทวีคูณ ทำให้ธุรกิจทุกประเภทต้องแสวงหาแนวทางการทำธุรกิจใหม่ หรือไม่ก็ต้องหาทางผนวกธุรกิจที่มีอยู่เพื่อให้สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วนี้ โดยนอกจากต้องปรับปรุงระบบธุรกิจที่มีอยู่เดิมให้มีประสิทธิผลสูงขึ้นก็ยังต้องพัมนาระบบไอทีในองค์กรควบคู่กันไปด้วย
ดังนั้น อี-คอมพานีต้องมีอินทราเน็ต ที่นำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้งานภายในองค์กร โดยปรับให้เข้ากับการดำเนินธุรกิจของแต่ละองค์กรด้วยซอฟต์แวร์
Corporate Portal
อินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่าย จะต้องมีซอฟต์แวร์มาจัดระบบ ซอฟต์แวร์ที่ว่านี้จะทำให้เกิดเว็บท่าองค์กร Corparate Portal ซึ่งเป็นจุดที่ทุกคนในองค์กรจะต้องมาพบ มาใช้เพื่อการทำงาน การสื่อสาร การเรียนรู้ และการสันทนาการประเภทหลัก ๆ ของแอปบลิเคชั่นที่ประกอบเป็นเว็บท่าบริษัทมีทั้งส่วนทั่วไป และส่วนเฉพาะกิจกับองค์กรนั้น ซอฟต์แวร์เว็บท่าองค์กรจึงพอสรุปเป็นประเภท ดังนี้
Document Access
- Product Information
- Search Engine
- Policies and Procedures
- Phone Directory
- Newsletters
- Project information
- Official Travel Guide
- Employee Infobases
- Catalogs
- Newswire Clippings
- Software Libraries
- Art Libraries
Application Gateways
- Access to Legacy Systems (HR,Accounting)
- Access to Data Warehouse
- Access to Design Manaagement
- Product Support Databases
- Customer support
- Sales & Marketing Support Centers
- Training and Registration
- Subscription Services
Group Wares
- e-mail
- Conferencing
- Calendar Management
- Electronic meeting
- Workflow Management
- Voice Video Conferencing
- Whiteboard
- Document Sharing
- Chat
Knoledge Application
- Knowledge Management
- Information Mapping
- Decision
- Support
- Knowledge Filtering
- Knowledge Preservation
- e-Learning
- Experience Factory
การกระจาย Informantion
การที่จะทำให้ข้อมูลขององค์กรหาง่ายใช้งานได้สะดวกเป็นวัตถุประสงค์หลักของอินทราเน็ต ดังนั้นจึงจำเป็นต้องควบคุมเนื้อหาของสารสนเทศในองค์กรให้เหมาะสม ซึ่งรูปแบบการใช้สารสนเทศแบ่งได้เป็น 3 อย่าง คือ สารสนเทศทางการ สารสนเทศกลุ่ม สารสนเทศไม่เป็นทางการ
- สารสนเทศทางการ ได้แก่ สารสนเทศที่เกี่ยวกับกฎระเบียบบริษัทฯ ที่ใช้ในองค์กรประวัติ
ผลงานล่าสุด รายละเอียดของผลิตภัณฑ์ การบริการต่าง ๆ เป็นต้น
- สารสนเทศกลุ่ม ได้แก่ สารสนเทศที่ใช้ภายในกลุ่ม/แผนก, กลุ่มงานโครงการ เป็นเครื่อง
มือในการติดต่อประสานงานกัน การกระจายความคิด ร่วมมือกันในการทำกิจกรรมหรือการจัดการงานต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับการทำงานแบบเดิมที่ต้องการส่งเอกสาร ถึงกันไม่ว่าจะเป็นการถ่ายเอกสารหรือ FAX ให้กันเป็นต้น
- สารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ ได้แก่ สารสนเทศที่ใช้ในการบริหารงาน การปฏิบัติงานและ
การใช้สารสนเทศในการพัฒนาเสริมสร้างความรู้ ทักษะในแขนงวิชาต่าง ๆ ให้บังเกิดผลสำเร็จ สามารถนำไปใช้ในการสนับสนุนการทำงานในแต่ละฝ่ายงานต่าง ๆ การที่เราจะมี Information ที่ดีมีประโยชน์นั้นจะมีส่วนในการประสานงานกับงานด้านการเก็บข้อมูลทุกชนิด ทุกประเภท เก็บข้อมูลอย่างมีระเบียบ แบบแผน ซึ่งจะทำให้ได้สารสนเทศนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งต้องมีการเปลี่ยนแปลง Work Process เพื่อลดขั้นตอนงานที่ไม่จำเป็น และให้เกิดความคล่องตัวในการทำงาน จำเป็นต้องปรับปรุงองค์กรและคนในองค์กรด้วย
ประโยชน์
ประโยชน์ และเป้าหมายของระบบเว็บท่าองค์กรทั้งต่อภายในองค์กร และนอกองค์กรมีมากมายสามารถแยกเป็นหัวข้อได้ดังนี้
1. เพื่อสร้างลูกค้า เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ ทำการตลาดอย่างรวดเร็ว เพื่อช่วยให้ลูกค้าทำงานได้ง่ายขึ้น และสุดท้ายเกิดกำไรกับบริษัทฯ โดยใช้ต้นทุนต่ำ

2. กระจายสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในพื้นที่ที่กว้างมากเท่าที่ต้องการ เช่น
บริษัทฯ อีซูซุ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศญี่ปุ่น และมีสาขามากมายในประเทศต่าง ๆ สามารถทำให้มี สารสนเทศเดียวกัน ใช้ร่วมกัน และยังสามารถตัดขั้นตอนงานที่ซ้ำซ้อนลงได้ ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3. การเชื่อมต่อระบบกับธุรกิจอื่น และสามารถสร้างรายได้ในช่องทางใหม่ อีกทั้งยังช่วยผลักดันและเป็นหนทางให้บริษัทเติบโตหรือขยายธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว
4. ช่วยให้การประสานงานดีขึ้น การจัดทำ Web จำนวนมากนอกจากช่วยการประสานงานภายในแล้ว หุ้นส่วนอื่น ๆ ก็ได้รับประโยชน์ด้วย ช่วยให้มีการกระจายข่าวสารถึงกันได้อย่างรวดเร็วขึ้น
5. ช่วยในเรื่องการจัดองค์ความรู้ เริ่มตั้งแต่หน่วยงานย่อย ๆ รวมกันเป็นรูปบริษัทฯ บริษัทในเครือหุ้นส่วนสารสนเทศกระจายถึงกัน ส่งผลให้เกิดเป็นการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ ๆ ทำให้เกิดเป็นสังคมข้อมูลข่าวสารที่กว้างสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้น
6. เป็นช่องทางหาธุรกิจใหม่
อุปสรรคของการทำอินทราเน็ตและเว็บท่าบริษัท
บริษัทฯ หรือองค์กรหลาย ๆ องค์กร ที่นำอินทราเน็ตมาใช้ บางบริษัทก็ประสบความสำเร็จ บางบริษัทก็ประสบกับความล้มเหลว ซึ่งมีสาเหตุต่าง ๆ พอสรุปได้ดังนี้
- ผู้บริหารไม่ได้ให้ความสนใจอย่างจริงจังผู้บริหารไม่ปรับตัว ทำให้พนักงานไม่กระตือรือร้นในการใช้ระบบ
- ข้อมูลที่อยู่บนระบบไม่ทันสมัย ทำให้เกิดความไม่น่าเชื่อถือ
- ปัญหาเครื่องทำงานช้า ผู้ใช้เสียเวลารอข้อมูลนาน
- ข้อมูลไม่น่าสนใจ ใช้ยาก ไม่มีเครื่องช่วยให้เข้าหา Information
ดังนั้นการที่จะให้ ระบบอินทราเน็ตที่พัฒนาขึ้น ประสบผลสำเร็จได้ ผู้บริหารจะต้องให้ความสำคัญด้วย โดยถือเป็นนโยบายหลัก โดยให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น จัดทำ ซึ่งจะทำให้เกิดความร่วมมือกันด้วยความเต็มใจ สะท้อนให้เกิดความร่วมมือกันด้วยความเต็มใจ สะท้อนให้เกิดประโยชน์กับบริษัทฯ ในภาพรวม โดยได้รับการสนับสนุนอย่างจริงจังจากผู้บริหาร


15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง


อินทราเน็ต (INTRANET) และเอ็กซ์ทราเน็ต (EXTRANET)

อินทราเน็ตหรือระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นระบบที่ได้รับการกล่าวขวัญถึงกันอย่างมากคู่กับอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรต่างๆ ได้มีการนำอินทราเน็ตมาใช้กันอย่างแพร่หลาย จนทำให้ระบบที่เกี่ยวข้องกับอินทราเน็ตเป็นระบบที่ผู้ค้าต่างๆ มุ่งเข้ามาสู่กันมากที่สุด โดยสามารถให้นิยามของอินทราเน็ตได้คือ
ระบบเครือข่ายอินทราเน็ต ก็คือระบบเครือข่ายภายในองค์กรที่นำเทคโนโลยีแบบเปิดจากอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ เพื่อช่วยในการทำงานร่วมกัน (Workgroup) การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนการทำงานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร

ประโยชน์ของอินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตมาใช้ในองค์กรต่างๆ คือ

ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสาร เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารต่างๆ ภายในองค์กร สามารถจัดเก็บอยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ภาษา HTML และใช้บราวเซอร์ในการอ่านเอกสาร ทำให้ลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการจัดพิมพ์เอกสารกระดาษ
ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอ เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยากเหมือนการพิมพ์ลงกระดาษ และไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ทำให้บุคลากรในองค์กรสามารถรับข่าวสารใหม่ล่าสุดได้เสมอ
ช่วยให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไว ไม่ว่าบุคลากรจะอยู่ห่างกันคนละชั้น คนละตึก หรือคนละจังหวัด ด้วยการใช้เทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีการคุยติดต่อผ่านแป้นพิมพ์ หรือแม้กระทั่งเทคโนโลยีประชุมทางไกล เป็นการช่วยลดการสูญเสียเวลาของบุคลากร ตลอดจนช่วยให้ทีมงานมีการประสานงานกันดีขึ้น
เสียค่าใช้จ่ายต่ำ การติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการติดตั้งซอฟท์แวร์การทำงานแบบกลุ่ม (Workgroup software) ทั่วไปมาก เนื่องจากการใช้เทคโนโลยีแบบเปิดของอินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถใช้ซอฟท์แวร์ต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตที่มีราคาไม่สูงนัก หรือในงานบางส่วนอาจไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เนื่องจากมีแชร์แวร์และฟรีแวร์อยู่มากมายในอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้หากองค์กรมีระบบเครือข่ายภายในอยู่แล้ว การติดตั้งระบบอินทราเน็ตเพิ่มเติมจะเสียค่าใช้จ่ายต่ำมาก เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆที่มีอยู่แล้วได้ทันทีตามคุณสมบัติการใช้งานข้ามระบบ (cross platform) ที่แตกต่างกันได้ของอินเทอร์เน็ต
เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด ทำให้องค์กรไม่ผูกติดอยู่กับผู้ค้ารายใดรายหนึ่ง จึงช่วยลดความเสี่ยงต่างๆ เช่น ผู้ค้าเลิกกิจการ ผู้ค้าเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือผู้ค้าขึ้นราคา เป็นต้น รวมทั้งช่วยให้สามารถหาซอฟต์แวร์ใหม่ๆ ที่จะมาช่วยในการทำงานได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งผู้ผลิตเพียงรายเดียว
เตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตได้ทันที รวมทั้งเป็นการเตรียมความรู้ของบุคลากรเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตด้วย
เสริมศัพท์
การเข้ารหัส (Encryption) เป็นการแปลงข้อมูลให้อยู่รูปที่เป็นรหัสลับ เพื่อป้องกันไม่ให้บุคคลที่ไม่ได้รับอนุญาตทำการอ่านข้อมูลนั้น นิยมใช้ในการส่งข้อมูลที่สำคัญผ่านระบบเครือข่าย เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต ข้อมูลทางการค้า เป็นต้น ผู้ที่ได้รับข้อมูลที่เข้ารหัสนี้จะสามารถอ่านข้อมูลต้นฉบับได้โดยผ่านกระบวนการการถอดรหัส (Decryption) ด้วยรหัสผ่าน (password) หรือรหัสเฉพาะที่เป็นกุญแจ (key)

องค์ประกอบของอินทราเน็ต
จากนิยามจะเห็นได้ว่าองค์ประกอบของอินทราเน็ตจะคล้ายคลึงกับอินเทอร์เน็ตอย่างมาก เนื่องจากมีการนำเทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ตมาใช้งานนั่นเอง โดยอินทราเน็ตที่ดีควรประกอบด้วย

การใช้โปรโตคอล TCP/IP เป็นโปรโตคอลสำหรับติดต่อสื่อสารภายในเครือข่าย
ใช้ระบบ World Wide Web และโปรแกรมบราวเซอร์ในการแสดงข้อมูลข่าวสาร
มีระบบอีเมล์สำหรับแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างบุคลากรในองค์กร รวมทั้งอาจมีระบบนิวส์กรุ๊ปส์ เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความรู้ของบุคลากร
ในกรณีที่มีการเชื่อมต่อระบบอินทราเน็ตในองค์กรเข้ากับอินเทอร์เน็ต จะต้องมีระบบไฟร์วอลล์ (Firewall) ซึ่งเป็นระบบป้องกันอันตรายจากผู้ไม่หวังดีที่ติดต่อเข้ามาจากอินเทอร์เน็ต โดยระบบไฟร์วอลล์จะช่วยกลั่นกรองให้ผู้ที่ติดต่อเข้ามาใช้งานได้เฉพาะบริการและพื้นที่ในส่วนที่อนุญาตไว้เท่านั้น รวมทั้งช่วยป้องกันนักเจาะระบบ (hacker) ที่จะทำการขโมยหรือทำลายข้อมูลในระบบเครือข่ายขององค์กรด้วย

เอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet)

เอ็กซ์ทราเน็ต หรือเครือข่ายภายนอกองค์กร ก็คือระบบเครือข่ายซึ่งเชื่อมเครือข่ายภายในองค์กร (INTRANET) เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ภายนอกองค์กร เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ของสาขาของผู้จัดจำหน่าย หรือของลูกค้า เป็นต้น โดยการเชื่อมต่อเครือข่ายอาจเป็นได้ทั้งการเชื่อมต่อโดยตรง (Direct Link) ระหว่าง 2 จุด หรือการเชื่อมต่อแบบเครือข่ายเสมือน (Virtual Network) ระหว่างระบบเครือข่าย Intranet จำนวนหลายๆ เครือข่ายผ่านอินเทอร์เน็ตก็ได้

ระบบเครือข่ายแบบเอ็กซ์ทราเน็ต โดยปกติแล้วจะอนุญาตให้ใช้งานเฉพาะสมาชิกขององค์กร หรือผู้ที่ได้รับสิทธิในการใช้งานเท่านั้น โดยผู้ใช้จากภายนอกที่เชื่อมต่อเข้ามาผ่านเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต อาจถูกแบ่งเป็นประเภทๆ เช่น ผู้ดูแลระบบ สมาชิก คู่ค้า หรือผู้สนใจทั่วๆ ไป เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้แต่ละกลุ่มจะได้รับสิทธิในการเข้าใช้งานเครือข่ายที่แตกต่างกันไป

เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตเป็นเทคโนโลยีเครือข่ายที่กำลังได้รับความสนใจอย่างมาก เนื่องจากแนวโน้มการใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เริ่มมีการนำมาใช้ในเชิงพาณิชย์มากขึ้นเรื่อยๆ เช่น การเปิดร้านค้าบนอินเทอร์เน็ต หรือการเปิดบริการข้อมูลข่าวสารต่างๆ เป็นต้น ซึ่งบริการเหล่านี้จะต้องมีการเชื่อมต่อกับบุคคลและเครือข่ายภายนอกองค์กรจำนวนมาก จึงต้องมีระบบการจัดการการเชื่อมต่อเครือข่ายภายนอกที่มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยที่ดี


โดย: นางสาวนฤมล ภูหนองโอง รหัสนักศึกษา 52040264108 หมู่ 29 (พุธ-เช้า) IP: 125.26.177.195 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:14:56:20 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
=อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบ ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต สรุปได้โดยสังเขปดังนี้คะ

1) การบริการทางธุรกิจ : อินเตอร์เน็ตเป็นลู่ทางใหม่ทางการค้า เพราะผู้ขายสามารถประกอบธุรกิจทางการค้าผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ลูกค้าสามารถชมภาพ และรายละเอียดของสินค้าเพื่อใช้ในการตัดสินใจได้ทันที ณ เครื่องของลูกค้าเอง ผู้ขายเพียงแค่จัดเตรียมข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ของตน ก็สามารถบริการขายลูกค้าได้ทั่วโลกพร้อม ๆ กัน โดยไม่ต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในการประชาสัมพันธ์มากเท่าวิธีอื่น สามารถซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านอินเตอร์เน็ตได้โดยตรง เพียงแต่ลูกค้าจะต้องมีบัตรเครดิต เมื่อสั่งซื้อสินค้าต่าง ๆ ก็กรอกหมายเลขบัตร แล้วระบุสินค้าที่ต้องการ จากนั้นสินค้าจะถูกส่งมาทางไปรษณีย์ และเงินจะถูกหักจากบัญชีเครดิต

2). การบริการข้อมูลข่าวสาร : ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญไม่ว่าเรื่องใด ๆ สามารถเผยแพร่ความรู้ของตนไปยังผู้คนทั่วโลกได้โดยง่าย เช่น ถ้ามีความชำนาญในการสอนนวดแผนไทย ก็สามารถนำข้อมูลการสอนนวดฯ พร้อมกับภาพประกอบไปใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต เพื่อให้ผู้คนที่สนใจอาหารไทยทั่วโลกได้รับทราบอย่างง่ายดาย ในทางกลับกันก็สามารถค้นหาข้อมูลได้แทบทุกชนิดจากอินเตอร์เน็ต โดยอาจจะอาศัยเครื่องมือค้นหาในอินเตอร์เน็ตซึ่งมีประสิทธิภาพสูงและมีให้เลือกมากมาย

3) การพบปะและสนทนากับผู้คน : สามารถส่งจดหมายที่เรียกว่า "อีเมล์ (Electronic Mail : e-mail)" หรือพิมพ์ประโยคโต้ตอบกับผู้คนที่อยู่กันคนละซีกโลกได้ ยิ่งไปกว่านั้นยังสามารถคุยโต้ตอบผ่านอินเตอร์เน็ตในลักษณะโทรศัพท์ไปทั่วโลกโดยไม่ต้องเสียค่าโทรศัพท์ได้อีกด้วย หรือคุยกันผ่านเว็บแคม เห็นหน้า ได้ยินเสียงแบบเรียลไทม์ก็ได้

4) การบริการซอฟต์แวร์ : ในอินเตอร์เน็ตมีบริการซอฟต์แวร์ที่ทันสมัยให้ได้ใช้ และสามารถโอนย้ายซอฟต์แวร์จากอินเตอร์เน็ตมาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อีกด้วย
มีทั้งแบบที่ให้ทดลองใช้ก่อน แบบให้ใช้ฟรี และแบบที่ต้องเสียเงิน

5) ความบันเทิง : มีความสามารถในการนำเสนอความบันเทิงรูปแบบต่างๆ เช่น เพลง รายการวิทยุ เกมส์ ได้

6) การศึกษา ในระบบการศึกษาได้นำอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในการศึกษามากขึ้น ทั้งช่วยในการสืบค้นข้อมูลและในการเรียนการสอนด้วยทั้ง E-libaray, E-learning

ที่มา:www.guru.google.co.th/guru/thread?tid=253fa1fddbd9ac90

นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115


โดย: นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115 IP: 192.168.1.124, 124.157.149.201 วันที่: 20 กันยายน 2552 เวลา:13:19:49 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบข้อ 15.1
คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบข้อ 15.2
ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm






โดย: นางสาวประสิทธิ์พร เพ็งสอน (หมู่01 วันจันทร์-บ่าย) IP: 113.53.174.236 วันที่: 21 กันยายน 2552 เวลา:12:50:13 น.  

 
ข้อ 1 อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น

อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm

ข้อ 2 ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


โดย: นางสาวปิยนุช แสงจันทร์ (หมู่01 วันจันทร์-บ่าย) IP: 113.53.174.236 วันที่: 21 กันยายน 2552 เวลา:12:51:25 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต เชื่อมเข้าด้วยกันโดยติดต่อผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซวึ่งเครือข่าย เอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย อินเทอร์เน็ต สามารถติดต่อหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กรได้ การใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ตติดต่อกันแทนที่จะติต่อโดยตรงกับ อินทราเน็ตทำให้ประหยัดและสามารถใช้ข้อดีของบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้อย่างมีประโยชน์สูงสุด


15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

1.การสื่อสารเป็นแบบสากล คือ การส่งข่าวสารในรูปของ E-mail ระหว่างผู้ใช้ Internet นอกหน่วยงานได้
2.ใช้มาตรฐานเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ได้เหมือนอินเตอร์เน็ต
3.การลงทุนต่ำ
4.ความน่าเชื่อถือมีมาก
5.สมรรถนะ เช่น การส่งข้อความ ภาพและเสียงได้ดี

ที่มา

//members.fortunecity.com/songwit/book.htm


โดย: นางสาวหนึ่งฤทัย มังคละแสน คณะมนุษศษสตร์และสังคมศาสตร์ สาขานิติศาสตร์หมู่01 จ.บ่าย IP: 124.157.147.100 วันที่: 23 กันยายน 2552 เวลา:20:31:43 น.  

 
15.1
อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

15.2

1.เพื่อสร้างลูกค้า เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ ทำการตลาดอย่างรวดเร็ว เพื่อช่วยให้ลูกค้าทำงานได้ง่ายขึ้น และสุดท้ายเกิดกำไรกับบริษัทฯ โดยใช้ต้นทุนต่ำ

2.กระจายสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในพื้นที่ที่กว้างมากเท่าที่ต้องการ เช่น
บริษัทฯ อีซูซุ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศญี่ปุ่น และมีสาขามากมายในประเทศต่าง ๆ สามารถทำให้มี สารสนเทศเดียวกัน ใช้ร่วมกัน และยังสามารถตัดขั้นตอนงานที่ซ้ำซ้อนลงได้ ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3.การเชื่อมต่อระบบกับธุรกิจอื่น และสามารถสร้างรายได้ในช่องทางใหม่ อีกทั้งยังช่วยผลักดันและเป็นหนทางให้บริษัทเติบโตหรือขยายธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว
4. ช่วยให้การประสานงานดีขึ้น การจัดทำ Web จำนวนมากนอกจากช่วยการประสานงานภายในแล้ว หุ้นส่วนอื่น ๆ ก็ได้รับประโยชน์ด้วย ช่วยให้มีการกระจายข่าวสารถึงกันได้อย่างรวดเร็วขึ้น
5. ช่วยในเรื่องการจัดองค์ความรู้ เริ่มตั้งแต่หน่วยงานย่อย ๆ รวมกันเป็นรูปบริษัทฯ บริษัทในเครือหุ้นส่วนสารสนเทศกระจายถึงกัน ส่งผลให้เกิดเป็นการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ ๆ ทำให้เกิดเป็นสังคมข้อมูลข่าวสารที่กว้างสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้น
6. เป็นช่องทางหาธุรกิจใหม่

ที่มา //www.comsci98.com/forum/index.php?action=dlattach;topic





โดย: น.สชไมพร ตะโคตร พุธ(เช้า)ม.29 52040422103 IP: 124.157.149.41 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:9:43:30 น.  

 

15.1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm



โดย: ส.อ.ชาคร ทานินนท์ หมู่ 05 5124151208 IP: 125.26.164.16 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:11:55:05 น.  

 
15.1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm

นายตง ประดิชญากาญจน์ หมู่ 22 อังคารเช้า


โดย: นายตง ประดิชญากาญจน์ IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:14:00:03 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบ อินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์หลายล้านเครื่องทั่วโลกเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายเดียว (Global Network) ที่รวมผู้ใช้กว่า 60 ล้านคน เพื่อประกอบกิจกรรมหลากหลายตั้งแต่ การพูดคุย การสื่อสารข้อมูล การแลกเปลี่ยนข่าวสารความรู้ การค้าขายแบบอิเล็กทรอนิกส์ การศึกษาทางไกล ฯลฯ เมื่อครั้งที่อินเตอร์เน็ตถือกำเนิดขึ้นนั้น ไม่มีใครเคยคาดคิดว่ามันจะกลายมาเป็นเครือข่ายที่มีบทบาทกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน จนถึงขนาดที่กำลังจะปฏิวัติวิธีการดำเนินชีวิตของประชากรโลกในศตวรรษหน้า กล่าวคือเมื่อ 20 ปีก่อน กระทรวงกลาโหมสหรัฐได้มีมติด่วนให้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีชื่อว่า ARPANET จุดมุ่งหมายคือให้เป็นเครือข่ายที่มีความเชื่อถือได้สูง สามารถที่จะทำงานได้แม้ภายหลังที่อเมริกาถูกถล่มโดยอาวุธนิวเคลียร์ ดังนั้นเทคโนโลยีที่ใช้เชื่อมเครือข่าย ต้องมีความสามารถที่จะทำงานกับโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ที่เหลือจากการทำลายของอาวุธนิวเคลียร์ เช่น หากโครงข่ายโทรศัพท์ และ เคเบิลถูกทำลายในบางพื้นที่ เครือข่ายจะยังคงทำงานได้โดยการสลับมาใช้โครงข่ายอื่น เช่น โครงข่ายดาวเทียม หรือวิทยุ เป็นต้น นอกจากนั้นเทคโนโลยีดังกล่าวต้องมีความสามารถในการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างประเภท และต่างรุ่นที่มีอยู่ทั่วไปตามฐานทัพต่าง ๆ
ในครั้งนั้นการพัฒนาเครือข่าย ARPANET ได้กระทำร่วมกันระหว่างกระทรวงกลาโหม กับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ รวมทั้งหน่วยงานสำคัญ ๆ เช่นองค์การ NASA ทำให้ ARPANET เริ่มเติบโตโดยเริ่มมีการใช้งานมากขึ้นสำหรับการศึกษาและการวิจัย ถึงแม้จะเริ่มมีการพัฒนาเครือข่ายอื่น ๆ เช่น DECNET และ BITNET ขึ้นมาเป็นคู่แข่ง แต่เพราะข้อดีของ ARPANET ที่เป็นระบบเปิดที่ใช้โปรโตคอลแบบ TCP/IP ทำให้ไม่จำกัดกับเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือ โครงข่ายเชื่อม (Physical Links) แบบใดแบบหนึ่ง ทำให้มันเอาชนะคู่แข่งและกลายมาเป็นตัวเชื่อมเครือข่ายอื่น ๆ ที่เข้ากันไม่ได้ ให้สามารถคุยกันรู้เรื่อง ด้วยเหตุนี้ทำให้ ARPANET ถูกพัฒนามาเป็นเครือข่ายของเครือข่าย หรือ อินเตอร์เน็ต (internet) ในที่สุด ข้อดีของการที่เป็นระบบเปิด คือ สามารถใช้เทคโนโลยีการเชื่อมต่อได้หลายแบบทั้ง ไมโครเวพ ดาวเทียม โทรศัพท์ เคเบิล ใยแก้วนำแสง หรือแม้แต่ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ และสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบใดก็ได้ รวมทั้งยังบริหารง่ายคือ ผู้ใช้ออกค่าใช้จ่ายเฉพาะส่วนของตน ทำให้อินเตอร์เน็ตขยายตัวง่ายในขณะที่ความซับซ้อนของงานไม่เพิ่มขึ้นเท่าไรนัก ความง่ายในการขยายเครือข่ายและการใช้งาน ได้ทำให้อินเตอร์เน็ตเริ่มได้รับความนิยมนอกประเทศสหรัฐอเมริกา จนกลายมาเป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงทั่วโลก

ที่มา:www.thaiall.com/internet/internet02.htm

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบ ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตมาใช้ในองค์กรต่างๆ คือ
- ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสาร เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารต่างๆ ภายในองค์กร สามารถจัดเก็บอยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ภาษา HTML และใช้บราวเซอร์ในการอ่านเอกสาร ทำให้ลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการจัดพิมพ์เอกสารกระดาษ
- ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอ เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยากเหมือนการพิมพ์ลงกระดาษ และไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ทำให้บุคลากรในองค์กรสามารถรับข่าวสารใหม่ล่าสุดได้เสมอ
- ช่วยให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไว ไม่ว่าบุคลากรจะอยู่ห่างกันคนละชั้น คนละตึก หรือคนละจังหวัด ด้วยการใช้เทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีการคุยติดต่อผ่านแป้นพิมพ์ หรือแม้กระทั่งเทคโนโลยีประชุมทางไกล เป็นการช่วยลดการสูญเสียเวลาของบุคลากร ตลอดจนช่วยให้ทีมงานมีการประสานงานกันดีขึ้น
เสียค่าใช้จ่ายต่ำ การติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการติดตั้งซอฟท์แวร์การทำงานแบบกลุ่ม (Workgroup software) ทั่วไปมาก เนื่องจากการใช้เทคโนโลยีแบบเปิดของอินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถใช้ซอฟท์แวร์ต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตที่มีราคาไม่สูงนัก หรือในงานบางส่วนอาจไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เนื่องจากมีแชร์แวร์และฟรีแวร์อยู่มากมายในอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้หากองค์กรมีระบบเครือข่ายภายในอยู่แล้ว การติดตั้งระบบอินทราเน็ตเพิ่มเติมจะเสียค่าใช้จ่ายต่ำมาก เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆที่มีอยู่แล้วได้ทันทีตามคุณสมบัติการใช้งานข้ามระบบ (cross platform) ที่แตกต่างกันได้ของอินเทอร์เน็ต
- เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด ทำให้องค์กรไม่ผูกติดอยู่กับผู้ค้ารายใดรายหนึ่ง จึงช่วยลดความเสี่ยงต่างๆ เช่น ผู้ค้าเลิกกิจการ ผู้ค้าเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือผู้ค้าขึ้นราคา เป็นต้น รวมทั้งช่วยให้สามารถหาซอฟต์แวร์ใหม่ๆ ที่จะมาช่วยในการทำงานได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งผู้ผลิตเพียงรายเดียว
- เตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตได้ทันที รวมทั้งเป็นการเตรียมความรู้ของบุคลากรเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตด้วย


นายศราวุฒิ ทดกลาง หมู่22(อ.เช้า)


โดย: นายศราวุฒิ ทดกลาง IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:17:42:04 น.  

 
ข้อที่ 1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มี ตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

ข้อที่ 2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและ ผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่าย อินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ใน ปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm



โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม.22 อังคารเช้า IP: 58.147.7.66 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:18:12:31 น.  

 
15.1 อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

//www.thaiall.com/internet/internet02.htm

15.2 ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


//www.thaiall.com/internet/internet02.htm





โดย: นายชัยวัฒน์ ศรีอุต หมู่22 อังคาร(เช้า) IP: 58.147.7.66 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:18:12:41 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบ อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น

อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

ที่มาwww.tudent.nu.ac.th/ekkasit/is_sec/issec_final.doc

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบ ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต สรุปได้โดยสังเขปดังนี้คะ

1) การบริการทางธุรกิจ : อินเตอร์เน็ตเป็นลู่ทางใหม่ทางการค้า เพราะผู้ขายสามารถประกอบธุรกิจทางการค้าผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ลูกค้าสามารถชมภาพ และรายละเอียดของสินค้าเพื่อใช้ในการตัดสินใจได้ทันที ณ เครื่องของลูกค้าเอง ผู้ขายเพียงแค่จัดเตรียมข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ของตน ก็สามารถบริการขายลูกค้าได้ทั่วโลกพร้อม ๆ กัน โดยไม่ต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในการประชาสัมพันธ์มากเท่าวิธีอื่น สามารถซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านอินเตอร์เน็ตได้โดยตรง เพียงแต่ลูกค้าจะต้องมีบัตรเครดิต เมื่อสั่งซื้อสินค้าต่าง ๆ ก็กรอกหมายเลขบัตร แล้วระบุสินค้าที่ต้องการ จากนั้นสินค้าจะถูกส่งมาทางไปรษณีย์ และเงินจะถูกหักจากบัญชีเครดิต

2). การบริการข้อมูลข่าวสาร : ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญไม่ว่าเรื่องใด ๆ สามารถเผยแพร่ความรู้ของตนไปยังผู้คนทั่วโลกได้โดยง่าย เช่น ถ้ามีความชำนาญในการสอนนวดแผนไทย ก็สามารถนำข้อมูลการสอนนวดฯ พร้อมกับภาพประกอบไปใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต เพื่อให้ผู้คนที่สนใจอาหารไทยทั่วโลกได้รับทราบอย่างง่ายดาย ในทางกลับกันก็สามารถค้นหาข้อมูลได้แทบทุกชนิดจากอินเตอร์เน็ต โดยอาจจะอาศัยเครื่องมือค้นหาในอินเตอร์เน็ตซึ่งมีประสิทธิภาพสูงและมีให้เลือกมากมาย

3) การพบปะและสนทนากับผู้คน : สามารถส่งจดหมายที่เรียกว่า "อีเมล์ (Electronic Mail : e-mail)" หรือพิมพ์ประโยคโต้ตอบกับผู้คนที่อยู่กันคนละซีกโลกได้ ยิ่งไปกว่านั้นยังสามารถคุยโต้ตอบผ่านอินเตอร์เน็ตในลักษณะโทรศัพท์ไปทั่วโลกโดยไม่ต้องเสียค่าโทรศัพท์ได้อีกด้วย หรือคุยกันผ่านเว็บแคม เห็นหน้า ได้ยินเสียงแบบเรียลไทม์ก็ได้

4) การบริการซอฟต์แวร์ : ในอินเตอร์เน็ตมีบริการซอฟต์แวร์ที่ทันสมัยให้ได้ใช้ และสามารถโอนย้ายซอฟต์แวร์จากอินเตอร์เน็ตมาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อีกด้วย
มีทั้งแบบที่ให้ทดลองใช้ก่อน แบบให้ใช้ฟรี และแบบที่ต้องเสียเงิน

5) ความบันเทิง : มีความสามารถในการนำเสนอความบันเทิงรูปแบบต่างๆ เช่น เพลง รายการวิทยุ เกมส์ ได้

6) การศึกษา ในระบบการศึกษาได้นำอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในการศึกษามากขึ้น ทั้งช่วยในการสืบค้นข้อมูลและในการเรียนการสอนด้วยทั้ง E-libaray, E-learning

ที่มา:www.guru.google.co.th/guru/thread?tid=253fa1fddbd9ac90






โดย: น.ส.นงนุช นาเจริญ 52040258129 หมู่ที่ 22 เรียนอังคารเช้า IP: 1.1.1.4, 58.147.7.66 วันที่: 25 กันยายน 2552 เวลา:13:51:49 น.  

 
ข้อ 1 อินทราเน็ต [Intranet] หมายถึงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กร ที่เกิดขึ้นมาจากการเชื่อมโยงกัน ระหว่างคอมพิวเตอร์ และหรือ ระหว่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เหมือนกัน หรือต่างชนิดกัน มาสื่อสาร ข้อมูลกันด้วยชุด Protocal TCP/IP เช่นเดียวกันกับ Internet คำว่า intranet นั้นปรากฏแก่สาธารณะชน ครั้งแรกในนิตยสาร The NewYork Time ซึ่งให้ความหมายของคำว่า intranet ไว้ว่า เป็นเครือข่าย ในยุคเทคโนโลยีข่าวสารชนิดหนึ่ง ซึ่งจะปรากฏขึ้นในไม่ช้า แต่ในปัจจุบันนี้ intranet / internet กำลัง ก้าวขึ้นสู่ความสำเร็จสูงสุด ซึ่งเป็นผลพวงมาจากการเติบโตอย่างกว้างขวางและรวดเร็วของ internet ทั้งในสาธารณะ และส่วนบุคคล ดังนั้นในความหมายที่แท้จริงแล้ว intranet จึงหมายถึงเครือข่าย ความร่วมมือ และธุรกิจประยุกต์ ซึ่งจะแชร์ DNA [Domain Name Address] โดยอาศัย อยู่เบื้องหลังปราการความปลอดภัยหรือ Firewall

ที่มา //blog.spu.ac.th/e-bu-infra-03/2009/02/21/entry-1

ข้อ 2 ประโยชน์ของ Intranet

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมา


ที่มา https://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=krulaseng&month=01-2008&date=14&group=1&gb




โดย: น.ส.นฤมล หมู่หาญ 52040263122 หมู่ 22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.31, 58.137.131.62 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:11:13:35 น.  

 
1.ตอบ
อินทราเน็ตคืออะไร

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



2.ตอบ
ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก

ที่มา//learners.in.th/home/error



โดย: นายวัชฤทธิ์ มวลพิทักษ์ หมู่ 22 อ.เช้า IP: 125.26.175.79 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:14:10:29 น.  

 
เชื่อมโยงและอุปกรณ์ที่ใช้กับอินทราเน็ต

ระบบอินทราเน็ตมักจะเป็นระบบแลนภายในองค์กรที่มีความเร็วสูงมากเปรียบเทียบกับระบบอินเทอร์เน็ตที่ต้องเชื่อมต่อออกไป
ภายนอกหน่วยงาน ดังนั้นลักษณะงานบางอย่างที่ต้องสื่อสารด้วยความเร็วสูงจะทำได้ไม่ดีนักในระบบอินเทอร์เน็ต เช่น
ระบบภาพและเสียง
ระบบการประชุมทางไกล เป็นต้น แต่งานลักษณะนี้ไม่เป็นปัญหาสำหรับระบบอินทราเน็ตแต่อย่างไร

เราสามารถที่จะทำการฝึกอบรมทางไกลหรือการประชุมผ่านระบบเครือข่ายบนระบบอินทราเน็ตได้โดยการส่งสัญญาณจำนวน
มากลงในสาย เช่น กรณีที่เราต้องการส่งภาพเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง ถ้าจะต้องการคุณภาพสูงๆ ก็ต้องใช้แบนด์วิธ
อย่างน้อย 128 กิโลบิตต่อวินาทีขึ้นไป แบนด์วิธขนาดนี้ไม่สามารถทำได้กับการเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตแบบธรรมดาแน่เพราะ
ซึ่งถ้าใช้ระบบโทรศัพท์ดิจิตอล
ก็จะได้ความเร็วที่56กิโลบิตต่อวินาทีเท่านั้นแต่ในขณะที่ระบบอินทราเน็ตจะเชื่อมต่อกันด้วยวงแลนซึ่งความเร็วขั้นต่ำ
10 เมกกะบิตแล้ว ยังสามารถรองรับการใช้งานแบนด์วิธสูงๆ ได้อย่างสบาย

ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อ
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตจะต้องใช้งบประมาณสูง เนื่องจากเป็นการเชื่อมต่อกับระบบภายนอกหน่วยงานซึ่งเรา
ไม่สามารถทำเองได้ ต้องให้หน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานเอกชนที่ได้รับสัมปทานดำเนินการให้ แต่สำหรับ
ระบบอินทราเน็ตแล้วเป็น เมื่อต้องการเชื่อมเครือข่ายย่อยหลาย ๆ เครือข่ายเข้าด้วยกัน จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ประกอบ
ที่ทำให้การรับส่งข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เชื่อมโยงถึงกัน โดยทั่วไปเรามักใช้ระบบการรับส่งข้อมูลเป็นชุดเล็ก ๆ
ที่เรียกว่า แพ็กเก็ต ข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตสามารถเคลื่อนที่จากต้นทางไปยังปลายทางได้ โดยผ่านอุปกรณ์เลือกเส้นทาง
การเลือกเส้นทางสามารถเลือกผ่านทั้งทางด้านเครือข่ายแลนและแวน โดยปกติมีการกำหนดแอดเดรสของตัวรับและตัวส่ง
ดังนั้นจึงต้องมีแอดเดรสปรากฏอยู่ในแพ็กเก็ต อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อในเครือข่ายทุกหน่วยจึงมีแอดเดรสกำกับ แอดเดรสหรือ
ตำแหน่งที่อยู่มีรูปแบบที่ชัดเจน ได้รับการกำหนดเป็นมาตรฐาน เช่น แอดเดรสที่ใช้ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใช้รหัสตัวเลข 32 บิต ที่เรียกว่าไอพีแอดเดรส แพ็กเก็ตข้อมูลทุกแพ็กเก็ตจึงมีข้อมูลที่บ่งบอกว่าเป็นข้อมูลที่ส่งมาจากที่ใด
และปลายทางอยู่ที่ใด

การเลือกเส้นทางจึงขึ้นอยู่กับแอดเดรสที่กำหนดในแพ็กเก็ต เมื่อแพ็กเก็ตข้อมูลผ่านมายังอุปกรณ์ต่าง ๆ
อุปกรณ์เหล่านั้นจะตรวจสอบดูว่า แอดเดรสต้นทางและปลายทางอยู่ที่ใด จะส่งผ่านแพ็กเก็ตนั้นไปยังเส้นทางใด
เพื่อให้ถึงจุดหมายตามต้องการ

ข้อ 2 ประโยชน์

1) การบริการทางธุรกิจ : อินเตอร์เน็ตเป็นลู่ทางใหม่ทางการค้า เพราะผู้ขายสามารถประกอบธุรกิจทางการค้าผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ลูกค้าสามารถชมภาพ และรายละเอียดของสินค้าเพื่อใช้ในการตัดสินใจได้ทันที ณ เครื่องของลูกค้าเอง ผู้ขายเพียงแค่จัดเตรียมข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ของตน ก็สามารถบริการขายลูกค้าได้ทั่วโลกพร้อม ๆ กัน โดยไม่ต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในการประชาสัมพันธ์มากเท่าวิธีอื่น สามารถซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านอินเตอร์เน็ตได้โดยตรง เพียงแต่ลูกค้าจะต้องมีบัตรเครดิต เมื่อสั่งซื้อสินค้าต่าง ๆ ก็กรอกหมายเลขบัตร แล้วระบุสินค้าที่ต้องการ จากนั้นสินค้าจะถูกส่งมาทางไปรษณีย์ และเงินจะถูกหักจากบัญชีเครดิต

2). การบริการข้อมูลข่าวสาร : ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญไม่ว่าเรื่องใด ๆ สามารถเผยแพร่ความรู้ของตนไปยังผู้คนทั่วโลกได้โดยง่าย เช่น ถ้ามีความชำนาญในการสอนนวดแผนไทย ก็สามารถนำข้อมูลการสอนนวดฯ พร้อมกับภาพประกอบไปใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต เพื่อให้ผู้คนที่สนใจอาหารไทยทั่วโลกได้รับทราบอย่างง่ายดาย ในทางกลับกันก็สามารถค้นหาข้อมูลได้แทบทุกชนิดจากอินเตอร์เน็ต โดยอาจจะอาศัยเครื่องมือค้นหาในอินเตอร์เน็ตซึ่งมีประสิทธิภาพสูงและมีให้เลือกมากมาย

3) การพบปะและสนทนากับผู้คน : สามารถส่งจดหมายที่เรียกว่า "อีเมล์ (Electronic Mail : e-mail)" หรือพิมพ์ประโยคโต้ตอบกับผู้คนที่อยู่กันคนละซีกโลกได้ ยิ่งไปกว่านั้นยังสามารถคุยโต้ตอบผ่านอินเตอร์เน็ตในลักษณะโทรศัพท์ไปทั่วโลกโดยไม่ต้องเสียค่าโทรศัพท์ได้อีกด้วย หรือคุยกันผ่านเว็บแคม เห็นหน้า ได้ยินเสียงแบบเรียลไทม์ก็ได้

4) การบริการซอฟต์แวร์ : ในอินเตอร์เน็ตมีบริการซอฟต์แวร์ที่ทันสมัยให้ได้ใช้ และสามารถโอนย้ายซอฟต์แวร์จากอินเตอร์เน็ตมาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อีกด้วย
มีทั้งแบบที่ให้ทดลองใช้ก่อน แบบให้ใช้ฟรี และแบบที่ต้องเสียเงิน

5) ความบันเทิง : มีความสามารถในการนำเสนอความบันเทิงรูปแบบต่างๆ เช่น เพลง รายการวิทยุ เกมส์ ได้

6) การศึกษา ในระบบการศึกษาได้นำอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในการศึกษามากขึ้น ทั้งช่วยในการสืบค้นข้อมูลและในการเรียนการสอนด้วยทั้ง E-libaray, E-learning





โดย: นางสาวลำไพ พูลเกษ ม.15 (ศุกร์เช้า) IP: 1.1.1.145, 58.137.131.62 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:18:41:25 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต เชื่อมเข้าด้วยกันโดยติดต่อผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซวึ่งเครือข่าย เอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย อินเทอร์เน็ต สามารถติดต่อหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กรได้ การใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ตติดต่อกันแทนที่จะติต่อโดยตรงกับ อินทราเน็ตทำให้ประหยัดและสามารถใช้ข้อดีของบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้อย่างมีประโยชน์สูงสุด


15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

1.การสื่อสารเป็นแบบสากล คือ การส่งข่าวสารในรูปของ E-mail ระหว่างผู้ใช้ Internet นอกหน่วยงานได้
2.ใช้มาตรฐานเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ได้เหมือนอินเตอร์เน็ต
3.การลงทุนต่ำ
4.ความน่าเชื่อถือมีมาก
5.สมรรถนะ เช่น การส่งข้อความ ภาพและเสียงได้ดี

ที่มา

//members.fortunecity.com/songwit/book.htm



โดย: เบญจมาศ โคตรเพชร หมู่ 08 รหัส 52040332107 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:12:25:40 น.  

 
15.1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm


โดย: ปรีชา กลมเกลียว หมู่8 พฤหัสบดีเช้า รหัส 52040901222 IP: 124.157.139.201 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:17:17:40 น.  

 
15.1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm


โดย: ปรีชา กลมเกลียว หมู่8 พฤหัสบดีเช้า รหัส 52040901222 IP: 124.157.139.201 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:17:19:11 น.  

 
แบบฝึกหัด
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก
ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm


นายเจริญชัย ผ่ามดิน หมู่ 22 (อ.เช้า)



โดย: นายเจริญชัย ผ่ามดิน IP: 58.147.7.66 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:12:10:18 น.  

 
แบบฝึกหัด

15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด


15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก

ที่มา //www.thaiall.com/internet/internet02.htm



โดย: น.ส.ศิราณี ผิววงษ์ 52040258102 เรียนอังคารเช้า หมู่ 22 IP: 1.1.1.244, 202.29.5.62 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:18:58:58 น.  

 
อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น
อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด
ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก

//guru.google.co.th/guru/thread?tid=46bd0c11c27a501c&hl=th&table=%2Fguru%2F%3Ftab%3Di2%26hl%3Dth





โดย: นางสาวสุจิตรา อินทสร้อย 52040258139 เรียนอังคารเช้า หมู่ 22 IP: 124.157.151.227 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:20:53:02 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต เชื่อมเข้าด้วยกันโดยติดต่อผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซวึ่งเครือข่าย เอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย อินเทอร์เน็ต สามารถติดต่อหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กรได้ การใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ตติดต่อกันแทนที่จะติต่อโดยตรงกับ อินทราเน็ตทำให้ประหยัดและสามารถใช้ข้อดีของบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้อย่างมีประโยชน์สูงสุด


15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

1.การสื่อสารเป็นแบบสากล คือ การส่งข่าวสารในรูปของ E-mail ระหว่างผู้ใช้ Internet นอกหน่วยงานได้
2.ใช้มาตรฐานเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ได้เหมือนอินเตอร์เน็ต
3.การลงทุนต่ำ
4.ความน่าเชื่อถือมีมาก
5.สมรรถนะ เช่น การส่งข้อความ ภาพและเสียงได้ดี

ที่มา

//members.fortunecity.com/songwit/book.htm



โดย: น.ส.คนึงนิจ ผิวบาง ม.22 เรียนเช้าวันอังคาร IP: 124.157.148.92 วันที่: 29 กันยายน 2552 เวลา:18:38:37 น.  

 
15.1
คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด



ที่มา
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/111.html

15.2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก


ที่มา
//www.geocities.com/nuttawong_charoenpol/Intranet.htm



โดย: น.ส.สุกญญา พรมสวัสดิ์ (หมู่ที่ 15 ศุกร์ เช้า ) IP: 61.19.119.253 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:16:39:00 น.  

 
อินทราเน็ตคืออะไร

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

ประโยชน์และข้อดีในการนำ อินทราเน็ต มาใช้ในองค์กรสถาปนิก

สามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วน คือ ประโยชน์ และข้อดีที่เกิดกับองค์กรทั่วไป และที่เกิดกับ บริษัท สถาปนิกโดยตรง รายละเอียดของประโยชน์ทั้งสองส่วนมีดังนี้
1. ประโยชน์และข้อดีที่เกิดกับองค์กรทั่วไป โดยประโยชน์นี้ จะเกิดกับทุกองค์กร ที่ได้นำ อินทราเน็ต มาใช้ รายละเอียดต่างๆมีดังนี้คือ
1.1 การนำ อินทราเน็ตมาใช้งาน จะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่า เมื่อเทียบกับซอฟต์แวร์ ประเภท GroupWare โดยสามารถทำงานได้คล้ายกันทั้งนี้เนื่องจาก ซอฟต์แวร์ หลายตัวของ อินเตอร์เน็ต ที่สามารถนำมาใช้ใน อินทราเน็ต สามารถ download จากอินเตอร์เน็ต มาใช้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย ตัวอย่างเช่น Microsoft Internet Explorer 1.2 ลดปัญหาเกี่ยวกับ ฮาร์ดแวร์ เนื่องด้วย อินทราเน็ต ที่พัฒนาจาก อินเตอร์เน็ต นั้นมีแนวความคิดหลักที่ให้ระบบนี้ สามารถทำงานได้บนฮาร์ดแวร์ หลากหลายรูปแบบเช่นสามารถใช้งาน อินเตอร์เน็ตบนเครื่องที่ใช้ Windows, Macintosh, หรือ UNIX เป็นต้น ระบบ อินทราเน็ต สามารถติดต่อสื่อสารกับ ฮาร์ดแวร์ เหล่านี้ได้ทั้งหมด และถ้าองค์กรใดมีระบบ Ethernet Local Area Network (LAN) อยู่แล้ว สามารถพัฒนาระบบนี้ บนเครือข่ายของปัจจุบันใช้ได้ทันที 1.3 ลดปัญหาในการพัฒนาระบบ จากเดิมที่มีหลากหลายรูปแบบ หลากหลายโปรแกรม โดยองค์กร สามารถใช้เครื่องมือพัฒนาในรูปแบบเดียวคือ ใช้เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบของ อินเตอร์เน็ต, อินทราเน็ต เช่นภาษา Java, ภาษา HTML (Hyper Text Markup Language) หรือ CGI (Common Gateway Interface) ซึ่งสามารถทำงานบน แพลทฟอร์มใดๆ ตัดปัญหาการจ้างผู้พัฒนาระบบจากหลาย แพลทฟอร์ม และการบำรุงรักษาระบบ รวมทั้งแก้ไขปัญหาระบบในภายหลังลงได้เป็นอย่างมาก 1.4 ลดเวลาในการฝึกอบรมพนักงาน (Users) เนื่องจากการทำงานของ อินทราเน็ต ใช้ ไคลเอนต์ซอฟต์แวร์ เป็น เวบเบราเซอร์เพียงตัวเดียว ข้อมูลทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นไปรษณีย์อิเล็กโทรนิคส์ การเรียกใช้ข้อมูลต่างๆ สามารถใช้งานบน เวบเบราเซอร์เพียงตัวเดียว หากผู้ใช้งานเคยใช้งาน อินเตอร์เน็ต มาก่อนแล้ว ยิ่งไม่ต้องเรียนรู้อะไรเพิ่มเติมอีก 1.5 ข้อมูลในระบบ อินทราเน็ต จะทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากระบบของ อินทราเน็ต สามารถเชื่อมต่อกับ ฐานข้อมูลของบริษัทได้โดยตรง เมื่อเราแก้ไขข้อมูลในฐานข้อมูลใดๆ ข้อมูลที่ปรากฏใน อินทราเน็ต จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย และด้วยระบบนี้จะช่วยกระจายข่าวสาร ไปทั้งองค์กรอย่างทั่วถึงในทันที 1.6 ระบบไปรษณีย์อิเล็กโทรนิคส์ เป็นประโยชน์อีกอย่างหนึ่งของ อินทราเน็ต และช่วยในการทำงานด้าน documentation work flow รวมทั้งไปรษณีย์อิเล็กโทรนิคส์ ที่ตั้งขึ้นในระบบอินทราเน็ต สามารถเชื่อมต่อกับ ระบบอินเตอร์เน็ตได้ในทันทีถ้าต้องการ 1.7 เราสามารถค้นหา ข้อมูลทั้งหมดในองค์กรได้ง่ายกว่าที่ผ่านมาในอดีต โดยจำลองเทคนิคการหาข้อมูล ที่ใช้กันอยู่ในอินเตอร์เน็ต มาใช้กับ ระบบอินทราเน็ตของเรา ตัวอย่าง การค้นหาข้อมูลที่นิยมกัน ได้แก่ โปรแกรมที่ใช้ ณ. site yahoo.com เป็นต้น
2. ประโยชน์และข้อดีในการใช้ อินทราเน็ต ภายในบริษัท สถาปนิก พอที่จะแจกแจงได้ดังนี้
2.1 ประโยชน์ในการอ่านข้อมูลที่จัดทำอยู่ในรูปแบบแบบก่อสร้างซึ่งมักจะจัดทำเป็น ไฟล์ ประเภท *.DWG ที่เป็นรูปแบบของ ไฟล์ แบบก่อสร้างที่บริษัท สถาปนิกในประเทศไทยเกือบทั้งหมดใช้กัน เราสามารถเรียกใช้ข้อมูลนี้ผ่าน เวบเบราเซอร์ได้หลายวิธี เช่น ผ่าน Web helper ซึ่งจะไปเรียกใช้ ซอฟต์แวร์ ที่อ่านข้อมูล “*.DWG” ได้โดยตรง เช่น โปรแกรม “AutoCAD”, โปรแกรม “Aview” หรือเราอาจ ใช้โปรแกรม DRAWING Librarianที่เป็น plug-ins ในเวบเบราเซอร์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลได้ในทันที ที่เราเลือกข้อมูลชนิดนี้ การตัดสินใจว่าองค์กรของเราจะใช้วิธีใด ขึ้นอยู่กับ ความต้องการที่ผู้ใช้จะแค่ดูข้อมูลคร่าวๆ หรือต้องการทำการแก้ไขข้อมูลด้วย นอกจากในโปรแกรม รุ่นใหม่ของ AutoCAD มีรูปแบบของข้อมูลชนิดใหม่ที่สามารถนำแบบที่ เก็บด้วยโปรแกรมนี้ นำมาแสดงได้ด้วย เวบบราวเซอร์ โดยตรงอีกด้วย 2.2 ถ้าสามารถแปลงข้อมูล แบบก่อสร้าง ในรูปแบบ *.DWG มาเป็นรูปภาพเช่น *.GIF, *.JIP เวบเบราเซอร์ ในระบบ อินทราเน็ต จะสามารถอ่านข้อมูลเหล่านี้ได้ทันที โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมใดๆเพิ่มเติมอีก ซึ่ง จะมีประโยชน์มาก ในการทำสารบัญข้อมูลของแบบก่อสร้างในโครงการต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการค้นหา และ อ้างอิงในภายหลัง การแปลงข้อมูลอยู่ในรูป GIF และ JIP นี้มีข้อดีที่ขนาดของ ไฟล์ ข้อมูล มีขนาดเล็ก การเรียกข้อมูลมาใช้งานจะทำได้เร็วกว่าการเรียกข้อมูลจาก file ข้อมูลใน AutoCAD โปรแกรม ที่ใช้แปลงข้อมูล จาก ไฟล์ AutoCAD เป็น ไฟล์ GIF หรือ JIP มีหลายโปรแกรมเช่นโปรแกรม Image Magick เป็นต้น หรือมีวิธีง่ายกว่านั้นแต่ต้องลงทุนซื้อฮาร์ดแวร์ประเภท สแกนเนอร์ ขนาดใหญ่ ( เครื่อง สแกนเนอร์ นี้ต้องสแกนเอกสารได้อย่างน้อยเท่ากับ กระดาษขนาด A0 ซึ่งเป็น ขนาด แบบก่อสร้าง มาตรฐาน) แล้ว ใช้วิธี สแกน แบบก่อสร้าง ที่มีอยู่แล้วเป็น ไฟล์รูปภาพที่ต้องการโดยตรง วิธีนี้ เสียค่าใช้จ่าย มากกว่า วิธีการ แปลง ไฟล์ แต่มีข้อดีคือ ข้อมูลของแบบก่อสร้างที่อยู่ใน ระบบ อินทราเน็ต จะ เป็น ข้อมูลที่มีความ ทันสมัยมากกว่าข้อมูลที่ได้จากการวิธีแปลง ไฟล์ ของ AutoCAD เป็น GIF หรือ JIP เพราะ ในระหว่างการทำงานจริง โดยเฉพาะช่วงการก่อสร้างอาคาร มัก จะมีการแก้ไข แบบก่อสร้าง เป็น ระยะๆ และ การแก้ไขในขั้นตอนนี้ จะใช้วิธีเขียนด้วยมือ มากกว่าการแก้ไขด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์ 2.3 การได้ประโยชน์จากการทำงานแบบ Documents Works Flow ซึ่งเดิม เป็น ความสามารถ อย่างหนึ่ง ของ GroupWare เช่น Lotus Note, Novell GroupWise เป็นต้น แต่ในปัจจุบัน เรา สามารถ นำความสามารถ ในเรื่องนี้ของระบบ อินทราเน็ต มาใช้แทนการทำงาน ของ GroupWare ใน ราคาที่ถูก กว่ามาก การทำงานแบบ Documents Works Flow มีประโยชน์อย่างมาก ในการทำงาน แบบ โครงการ เพราะ โครงการหนึ่งๆ มีเอกสาร และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับส่วนงานหลายส่วนในเวลาเดียวกัน 2.4 การพัฒนาทางเทคโนโลยี อินทราเน็ต ในด้านรูปภาพ 3 มิติ ที่เรา สามารถ เคลื่อนที่ เข้าไป ดูในวัตถุ นั้น ราวกับ มีสิ่งของนั้นจริง หรือที่เรียกว่า VRML (The Virtual Reality Modeling Language) เป็น ประโยชน์สำหรับ สถาปนิกที่ออกแบบ งานสถาปัตยกรรมเป็นอย่างมาก เพราะการพัฒนาการสร้าง Model สามมิติ ในปัจจุบัน แม้จะมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์มากมาย ที่ช่วยเหลือในการทำงาน แต่ โปรแกรมเหล่านั้น มัก จะ มีคำสั่งค่อนข้าง ซับซ้อน, ใช้เวลาที่จะเรียนรู้ และใช้เวลาทำงานแต่ละชิ้นงานค่อนข้างนาน อีกทั้ง การส่งผ่าน ข้อมูล และอ่านข้อมูล ต้องใช้โปรแกรมเฉพาะของผู้ผลิตแต่ละรายๆไป เช่น ไฟล์ ข้อมูล ของ โปรแกรม 3D-Studio ต้องใช้โปรแกรมนี้เปิดดูได้เท่านั้น เป็นต้น หรือถ้าต้องการให้โปรแกรมอื่นๆ เปิดดูได้ ต้องแปลงข้อมูล ออกมาเป็นข้อมูลรูปภาพเสียก่อน แต่ด้วยระบบของ อินทราเน็ต เรา สามารถ อ่านข้อมูลนี้ ผ่าน เวเลนซีราเบอร์ ที่มี Plug-ins เพิ่มเติมได้ สถาปนิก และผู้เกี่ยวข้อง หรือแม้แต่ลูกค้าสามารถดูข้อมูล งานออกแบบ งานสถาปัตยกรรม แบบสามมิติได้ทันที และสถาปนิกสามารถใช้ประโยชน์นี้ นำเสนอ ผลงานของตน ให้กับลูกค้า และเจ้าของงานได้อย่างกว้างขว้างยิ่งขึ้น เรา จะกล่าวถึงเรื่องนี้ โดยละเอียด อีกครั้ง ใน ภายหลัง
//student.ct.rmutk.ac.th/~ct49008/112.html






โดย: นาย ณัฐพงศ์ มันทะลา IP: 124.157.129.36 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:19:01:10 น.  

 

แบบฝึกหัด
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
อินทราเน็ต คืออะไร
ความจริงแล้วเรื่อง อินทราเน็ตคืออะไรนี้ น่าจะเป็นบทความแรกที่ผมเขียน แต่กลายเป็นบทความที่เกี่ยวกับอินทราเน็ตบทความที่ 6 มันก็น่าแปลกใจอยู่เหมือนกันครับว่า ทำไมถึงเพิ่งมาเขียน แล้วถ้าท่านได้อ่านบทความอื่นๆไปก่อนแล้ว ท่านก็อาจพบว่าผมได้เขียนอธิบายไว้มากแล้ว ว่าอินทราเน็ตคืออะไร แต่ผมก็มีเหตุผลครับที่จะต้องมาเขียนเรื่องนี้อีกครั้ง แม้เขียนแล้วจะซ้ำๆกับของเดิมก็ตาม เหตุผลแรกคือเพื่อให้ความหมายของ Intranet อย่างเด่นชัด ผู้อ่านใหม่ๆที่ยังไม่รู้จักอินทราเน็ต จะได้มาอ่านบทความนี้ จะได้เข้าใจอินทราเน็ตได้อย่างชัดเจน อีกเหตุผลหนึ่งคือก็เหตุผลที่มาจากเหตุผลแรก คือผมพบคนที่รู้จักอินทราเน็ต แบบงงๆเยอะเหลือเกิน นี่แหละครับทำให้ผมตัดสินใจเขียนเรื่องนี้อีกที
อินทราเน็ต คือการใช้เทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ต สำหรับงานภายในองค์กร จะเรียกนิยามข้างต้นว่านิยาม หรือคำจำกัดความก็ได้ ส่วนผมขอเรียกว่านิยาม เพราะก่อนเรียนคอมพิวเตอร์ผมเรียนคณิตศาสตร์มาก่อน เลยนิยมใช้นิยามเพราะรู้สึกว่ามันแน่นอนดี แต่ในหนังสือภาษาไทยหลายเล่ม แม้การพูดอธิบายในวิทยุ ที่ผมเคยได้ยินได้อ่านมา เขาบอกว่า อินทราเน็ต ก็คือเครือข่ายในองค์กร หรือจะแปลอินทราเน็ตว่าเครือข่ายในองค์กร แล้วเรียกอินเตอร์เน็ตว่า เครือข่ายระหว่างองค์กร พูดตามตรงว่าผมได้เห็นได้ยินแล้วหงุดหงิด ในฐานะที่ผมเป็นนักกฎหมาย รู้สึกว่าคำว่าเครือข่ายในองค์กรนั้นมันคลุมเคลือ คนได้ยินได้อ่านแล้วเข้าใจผิด คนที่คุ้นเคยกับอินเตอร์เน็ตดี อ่านรู้สึกเฉยๆเพราะเข้าใจ แต่ผมซึ่งต้องไปคุยไปพบกับหลายคน ซึ่งจะคุยกันเรื่องอินทราเน็ต ตอนแรกก็ดีใจที่เขาสนใจอินทราเน็ต แต่คุยแล้วพบว่าเขาเข้าใจผิด ซึ่งเกิดมาจากการแปลอินทราเน็ตว่า เครือข่ายภายในองค์กรนี้นั่นเอง เขาเข้าใจว่า LAN หรือ Network อะไรที่เขามีอยู่นั่นแหละคืออินทราเน็ต คือเขาตีความต่อจากคำว่าเคลือข่ายภายในองค์กร นี่แหละครับผมถึงบอกว่ามันคลุมเคลือ
ในเมื่อมันคลุมเคลือหรือมันเคลือบคลุม ก็ไม่น่าจะใช้คำว่าเครือข่ายภายในองค์กร ถ้าไม่อยากใช้นิยามของผม ซึ่งความจริงก็แปลฝรั่งมาอีกที ผมว่าใช้ทับศัพท์ไปเลยว่า อินทราเน็ตจะดีกว่า อย่าไปแปลเลยครับ มันไม่เข้าท่า อินเตอร์เน็ตหรืออินทราเน็ตนั้น ถ้าจะเทียบไปแล้วก็เหมือนยี่ห้อ เวลาคุณไปซื้อผงซักฟอกยี่ห้อบรีส คุณก็ไม่จำเป็นต้องไปสั่งว่า ขอซื้อผงซักฟอกยี่ห้อลมหายใจสดชื่น หรืออาจเทียบได้กับชื่อภาพยนตร์ เวลาเราซื้อภาพยนตร์จากต่างประเทศ เข้ามาฉายในประเทศไทย เราก็ต้องตั้งชื่อเป็นภาษาไทย เราไม่ได้แปลชื่อฝรั่งเป็นไทยนะครับ ผมได้ยินคนบ่นเพราะเข้าใจผิดหลายคน เขาบ่นว่าภาษาอังกฤษอย่างหนึ่ง ทำไมแปลเป็นไทยได้อีกอย่างหนึ่ง เขาคิดว่าแปลผิด แต่ความจริงไม่ได้แปลผิด แต่เข้าตั้งชื่อใหม่เป็นภาษาไทย อย่างเช่นหนั่งฝรั่งเรื่อง Ghost ก็ไม่ได้ตั้งชื่อภาษาไทยว่าผี แต่ตั้งว่า วิญญาณ ความรัก ความรู้สึก ถ้าในประเทศลาวก็ไม่ได้แปล หรือไม่ได้ตั้งตามชื่อไทย แต่ตั้งเป็นภาษาลาวเองว่าปั้นหม้อล่อผัว (มาจากคุณอุดม แต้พานิช ผิดถูกอย่างไรไปว่าแกเอง) ดังนั้นอินทราเน็ตถ้าหาชื่อภาษาไทยไม่ได้ ก็ไม่ต้องไปแปลว่าเครือข่ายในองค์กร ในคนฟังเข้าใจผิด เรียกมันอินทราเน็ตนั่นแหละ
คราวนี้มาถึงนิยาม การใช้เทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ต สำหรับงานภายในองค์กร กันบ้าง บางท่านก็อาจบอกว่า ฟังไม่เห็นรู้เรื่องเลย บางท่านก็อาจแย้งว่า มันก็คลุมเคลือเหมือนกัน อะไรคือเทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ต อะไรคืองานภายในองค์กร ถ้าใช้ภาษาเลียนแบบรัฐธรรมนูญ ก็ต้องเขียนว่า ความหมายของเทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ต ให้เป็นไปตามที่กฎหมายลูกบัญญัติ ความหมายของงานภายในองค์กร ก็ให้เป็นไปตามที่กฎหมายลูกบัญญัติเหมือนกัน นั่นก็เป็นวิธีทำให้นิยามไม่คลุมเคลือ ส่วนกฎหมายลูกจะออกมา แล้วคลุมเคลือหรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่ง
เอาล่ะคราวนี้เราก็มาออกกฎหมายลูก เอ๊ะ!ไม่ใช่!เรามานิยามต่อดีกว่า คำถามคือเทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ตคืออะไร ถ้าจะนิยามต่อก็ต้องนิยามเทคโนโลยี ต้องนิยามอินเตอร์เน็ต สงสัยผมคงต้องเขียนอีกหลายวันกว่าจะจบ ถ้าอย่างนั้นบอกไปเลยดีกว่าว่า เทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ตมีอะไรบ้าง แบบนี้จะง่ายกว่านะครับ คราวนี้มาลองไล่ดูว่ามีอะไรบ้าง 1. World Wide Web 2. E-mail 3. FTP 4. IRC 5. Firewall 6. อ่านดูในบทความเรื่อง การใช้เทคโนโลยีอื่นนอกจาก World Wide Web สำหรับอินทราเน็ต 7. และอื่นๆอีกมากที่ยังไม่ได้กล่าวถึง
ต่อมาก็ต้องนิยาม งานภายในองค์กรบ้าง คราวนี้ยิงนิยามยากใหญ่ เพราะองค์กรแต่ละประเภท จะให้เหมือนกันได้อย่างไร งานภายในมหาวิทยาลัย ย่อมไม่เหมือนกับบริษัทน้ำมัน และทั้งคู่ก็ไม่เหมือนกับโรงงานปูนซิเมนต์ เอาเป็นว่าก่อนมีอินเตอร์เน็ต ถ้าองค์กรของคุณใช้คอมพิวเตอร์ทำอะไร ทั้งหมดนั้นก็คืองานภายในองค์กร ที่คุณจะนำอินทราเน็ตเข้าไปใช้ได้ทั้งนั้น แล้วงานอะไรที่คุณยังไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์ทำ แต่คิดว่าจะทำหรือควรทำ ทั้งหมดนี้ก็เป็นงานในความหมายของอินทราเน็ตทั้งนั้น แปลว่าอินทราเน็ตทำได้ทุกอย่างที่ใช้คอมพิวเตอร์ทำ ส่วนจะเหมาะสมหรือไม่ หรือต้องเสียเงินแค่ไหนนั้นเราไม่พูดกันนะครับ มาถึงตรงนี้ก็แปลว่าอินทราเน็ตทำได้ทุกอย่าง เขียนแบบนี้คนที่ไม่รู้จักก็จะงงไม่รู้จะเริ่มยังไง ถ้าอย่างนั้นผมแนะนำว่างานแรก ก็พยายามทำ home page เพื่อให้ข้อมูลทุกอย่างที่พนักงานในบริษัทคุณควรรู้ เช่นระเบียบการของพนักงาน ผลิตภัณฑ์ของบริษัทคุณที่ขายอยู่ มีรายละเอียดและราคาด้วย ข่าวสารภายในก็ควรมี ทำตอนแรกข้อมูลไม่ต้องเยอะหรอกครับ ความสำคัญอยู่ตรงที่ข้อมูลนั้นพนักงานต้องการ การจะไปค้นหาจากกระดาษยุ่งยากกว่า ใน home page ควรจัดหมวดหมู่ให้ดี ไม่ใช่หายากพอๆกับค้นในกระดาษ และที่สำคัญข้อมูลจะต้องถูกต้อง คอยปรับปรุงแก้ไขอยู่เสมอ ถ้าราคาที่เห็นใน home page เชื่อถือไม่ได้ คุณอย่าหวังว่าคราวหน้าเขาจะดู home page ของคุณอีกเลย ถ้าคุณไม่พร้อม ทำให้ดีไม่ได้ อย่าทำเสียดีกว่าครับ
//itnet.rsu.ac.th/surachai/intranet6.html

15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
อินทราเน็ตเกิดจากความคิดของระบบอินเทอร์เน็ตในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หลากหลายชนิดจากทุกมุมโลกเข้าด้วยกันได้ รวมทั้งการที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลจากที่ต่าง ๆ การมีบริการที่เป็นประโยชน์และความสามารถในการแสดงผลได้ตามต้องการแบบ 4ท (ที่เดียวทั่วโลก ทันที ทุกเวลา) นี้เอง ทำให้เกิดแนวคิดในการนำเทคโนโลยีของระบบดังกล่าวมาใช้งานในหน่วยงานหรือองค์กรซึ่งเมื่อย่อระบบอินเตอร์เน็ตลงมาในองค์กรก็เป็นระบบอินทราเน็ตนั่นเอง ดังนั้นอินทราเน็ตต้องมีทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตถือเป็นการปฎิรูประบบงานในองค์กรใหม่และก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานในปัจจุบันและอนาคต ในปัจจุบันได้มีผู้ให้คำจำกัดความของอินทราเน็ตไว้ต่าง ๆ ดังนี้

อินทราเน็ตเป็นระบบเครือข่ายภายในที่เชื่อมโยงเครือข่ายย่อยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และให้ทุกคนในองค์กรใช้ร่วมกัน
อินทราเน็ต เป็นรูปแบบของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในองค์กร
อินทราเน็ต เป็นคำที่สื่อความหมายถึงการนำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ตมาใช้ เพื่อตอบสนองระบบงานภายในองค์กรโดยเฉพาะ
อินทราเน็ตเป็นระบบอินเทอร์เน็ตที่ใช้งานเฉพาะในองค์กร
อินทราเน็ต เป็นการนำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ ในองค์กรหรือหน่วยงาน
อินทราเน็ต เป็นการรวมสารสนเทศที่มีอยู่ โดยวิธีการปรับปรุงให้เข้าถึงและกระจายข้อมูลผ่านไอพี เครือข่ายโดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวก ปรับปรุงวิธีการเข้าถึงสารสนเทศ การกระจายใช้สารสนเทศ และการบริหารสารสนเทศ
อินทราเน็ต เป็นการนำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ต ที่ได้รับการยอมรับและเป็นมาตรฐานในการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ทั่วโลกเข้าด้วยกัน มาประยุกต์ใช้ในองค์กร หรือหน่วยงาน
จากนานาทัศนะดังกล่าวข้างต้น สามารถจำกัดความได้ว่าอินทราเน็ต เป็นระบบเครือข่ายภายใน

ที่นำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้งานภายในองค์กร โดยการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายย่อยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และนำมาใช้เพื่อตอบสนองระบบงานภายในองค์กรโดยเฉพาะและให้ทุกคนในองค์กรใช้ร่วมกัน อินทราเน็ตจึงถือว่าเป็น Corparate Portal หรือเว็บท่าองค์กร เป็นที่ที่ทุกคนต้องมาใช้เพื่อทำงานตามหน้าที่

e-company

อี-คอมพานี (e-company) หมายถึง องค์กรที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินธุรกรรมจากระบบเดิม ซึ่งใช้เอกสารในการประสานงานกัน มาเป็นระบบที่ใช้เอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยประยุกต์เทคโนโลยีในปัจจุบัน ปรับให้เข้ากับการดำเนินธุรกิจของแต่ละองค์กร ซึ่งจะทำให้การประสานงานกันทั้งภายในองค์กรเองและต่างองค์กรมีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับบริษัทคู่แข่งและทำให้บริษัทเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืนยิ่งขึ้น

ปัจจุบันธุรกิจแบบเดิมที่เราคุ้นเคยกำลังหมดยุคไปทุกวันนี้การแข่งขันในตลาดโลกเริ่มรุนแรงขึ้น ไอที มีบทบาทมากขึ้น ดังนั้นบุคลากรด้านไอทีที่มีความสามารถ รวมถึงการติดต่อสัมพันธ์ทางการค้าที่ดีต่อกันระหว่าง ลูกค้าและซัพพลายเออร์ คุณภาพของการบริการจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่มีต่อการเจริญเติบโตของบริษัทฯ ต่างจากในอดีตที่เป็นเพียงส่วนเสริมของการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เท่านั้น

อี-คอมพานี เป็นการรวมเอาการดำเนินธุรกิจขององค์กรกับเว็บเทคโนโลยีเพื่อสร้างจุดแข็งให้กับบริษัทฯ เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า และลดค่าใช้จ่ายในส่วนปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งสำหรับบริษัทขนาดใหญ่ กลางและเล็ก รวมไปถึงธุรกิจเน็ตเจเนอเรชัน อันหมายถึงบริษัทในโลกยุคใหม่ที่ไม่มีข้อจำกัดทางด้านขนาดของการลงทุนจำนวนพนักงาน หรือแม้แต่ช่องทางในการทำธุรกิจ ที่ทุกแห่งเริ่มต้นในจุดเดียวกันแต่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ทั่วโลกและไม่มีข้อจำกัดของระยะทางอีกต่อไป

การทำธุรกิจบนระบบคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์กอย่างอีคอมเมิร์ซ และอี-บิซิเนส ที่เริ่มแพร่หลาย โดยเกิดจากกระแสการเจริญเติบโตของอินเทอร์เน็ตที่รวดเร็ว อัตราความเจริญเติบโตของสังคมบนอินเทอร์เน็ตที่มีมากขึ้นอย่างทวีคูณ ทำให้ธุรกิจทุกประเภทต้องแสวงหาแนวทางการทำธุรกิจใหม่ หรือไม่ก็ต้องหาทางผนวกธุรกิจที่มีอยู่เพื่อให้สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วนี้ โดยนอกจากต้องปรับปรุงระบบธุรกิจที่มีอยู่เดิมให้มีประสิทธิผลสูงขึ้นก็ยังต้องพัมนาระบบไอทีในองค์กรควบคู่กันไปด้วย

ดังนั้น อี-คอมพานีต้องมีอินทราเน็ต ที่นำเทคโนโลยีของระบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้งานภายในองค์กร โดยปรับให้เข้ากับการดำเนินธุรกิจของแต่ละองค์กรด้วยซอฟต์แวร์

Corporate Portal
อินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่าย จะต้องมีซอฟต์แวร์มาจัดระบบ ซอฟต์แวร์ที่ว่านี้จะทำให้เกิดเว็บท่าองค์กร Corparate Portal ซึ่งเป็นจุดที่ทุกคนในองค์กรจะต้องมาพบ มาใช้เพื่อการทำงาน การสื่อสาร การเรียนรู้ และการสันทนาการประเภทหลัก ๆ ของแอปบลิเคชั่นที่ประกอบเป็นเว็บท่าบริษัทมีทั้งส่วนทั่วไป และส่วนเฉพาะกิจกับองค์กรนั้น ซอฟต์แวร์เว็บท่าองค์กรจึงพอสรุปเป็นประเภท ดังนี้

Document Access
Product Information
Search Engine
Policies and Procedures
Phone Directory
Newsletters
Project information
Official Travel Guide
Employee Infobases
Catalogs
Newswire Clippings
Software Libraries
Art Libraries
Application Gateways
Access to Legacy Systems (HR,Accounting)
Access to Data Warehouse
Access to Design Manaagement
Product Support Databases
Customer support
Sales & Marketing Support Centers
Training and Registration
Subscription Services
Group Wares
e-mail
Conferencing
Calendar Management
Electronic meeting
Workflow Management
Voice Video Conferencing
Whiteboard
Document Sharing
Chat
Knoledge Application
Knowledge Management
Information Mapping
Decision
Support
Knowledge Filtering
Knowledge Preservation
e-Learning
Experience Factory
การกระจาย Informantion

การที่จะทำให้ข้อมูลขององค์กรหาง่ายใช้งานได้สะดวกเป็นวัตถุประสงค์หลักของอินทราเน็ต ดังนั้นจึงจำเป็นต้องควบคุมเนื้อหาของสารสนเทศในองค์กรให้เหมาะสม ซึ่งรูปแบบการใช้สารสนเทศแบ่งได้เป็น 3 อย่าง คือ สารสนเทศทางการ สารสนเทศกลุ่ม สารสนเทศไม่เป็นทางการ

สารสนเทศทางการ ได้แก่ สารสนเทศที่เกี่ยวกับกฎระเบียบบริษัทฯ ที่ใช้ในองค์กรประวัติ
ผลงานล่าสุด รายละเอียดของผลิตภัณฑ์ การบริการต่าง ๆ เป็นต้น

สารสนเทศกลุ่ม ได้แก่ สารสนเทศที่ใช้ภายในกลุ่ม/แผนก, กลุ่มงานโครงการ เป็นเครื่อง
มือในการติดต่อประสานงานกัน การกระจายความคิด ร่วมมือกันในการทำกิจกรรมหรือการจัดการงานต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับการทำงานแบบเดิมที่ต้องการส่งเอกสาร ถึงกันไม่ว่าจะเป็นการถ่ายเอกสารหรือ FAX ให้กันเป็นต้น

สารสนเทศที่ไม่เป็นทางการ ได้แก่ สารสนเทศที่ใช้ในการบริหารงาน การปฏิบัติงานและ
การใช้สารสนเทศในการพัฒนาเสริมสร้างความรู้ ทักษะในแขนงวิชาต่าง ๆ ให้บังเกิดผลสำเร็จ สามารถนำไปใช้ในการสนับสนุนการทำงานในแต่ละฝ่ายงานต่าง ๆ การที่เราจะมี Information ที่ดีมีประโยชน์นั้นจะมีส่วนในการประสานงานกับงานด้านการเก็บข้อมูลทุกชนิด ทุกประเภท เก็บข้อมูลอย่างมีระเบียบ แบบแผน ซึ่งจะทำให้ได้สารสนเทศนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งต้องมีการเปลี่ยนแปลง Work Process เพื่อลดขั้นตอนงานที่ไม่จำเป็น และให้เกิดความคล่องตัวในการทำงาน จำเป็นต้องปรับปรุงองค์กรและคนในองค์กรด้วย

ประโยชน์
ประโยชน์ และเป้าหมายของระบบเว็บท่าองค์กรทั้งต่อภายในองค์กร และนอกองค์กรมีมากมายสามารถแยกเป็นหัวข้อได้ดังนี้

เพื่อสร้างลูกค้า เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ ทำการตลาดอย่างรวดเร็ว เพื่อช่วยให้ลูกค้าทำงานได้ง่ายขึ้น และสุดท้ายเกิดกำไรกับบริษัทฯ โดยใช้ต้นทุนต่ำ


กระจายสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในพื้นที่ที่กว้างมากเท่าที่ต้องการ เช่น
บริษัทฯ อีซูซุ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศญี่ปุ่น และมีสาขามากมายในประเทศต่าง ๆ สามารถทำให้มี สารสนเทศเดียวกัน ใช้ร่วมกัน และยังสามารถตัดขั้นตอนงานที่ซ้ำซ้อนลงได้ ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

การเชื่อมต่อระบบกับธุรกิจอื่น และสามารถสร้างรายได้ในช่องทางใหม่ อีกทั้งยังช่วยผลักดันและเป็นหนทางให้บริษัทเติบโตหรือขยายธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว
ช่วยให้การประสานงานดีขึ้น การจัดทำ Web จำนวนมากนอกจากช่วยการประสานงานภายในแล้ว หุ้นส่วนอื่น ๆ ก็ได้รับประโยชน์ด้วย ช่วยให้มีการกระจายข่าวสารถึงกันได้อย่างรวดเร็วขึ้น
ช่วยในเรื่องการจัดองค์ความรู้ เริ่มตั้งแต่หน่วยงานย่อย ๆ รวมกันเป็นรูปบริษัทฯ บริษัทในเครือหุ้นส่วนสารสนเทศกระจายถึงกัน ส่งผลให้เกิดเป็นการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ ๆ ทำให้เกิดเป็นสังคมข้อมูลข่าวสารที่กว้างสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้น
เป็นช่องทางหาธุรกิจใหม่
อุปสรรคของการทำอินทราเน็ตและเว็บท่าบริษัท
บริษัทฯ หรือองค์กรหลาย ๆ องค์กร ที่นำอินทราเน็ตมาใช้ บางบริษัทก็ประสบความสำเร็จ บางบริษัทก็ประสบกับความล้มเหลว ซึ่งมีสาเหตุต่าง ๆ พอสรุปได้ดังนี้

ผู้บริหารไม่ได้ให้ความสนใจอย่างจริงจังผู้บริหารไม่ปรับตัว ทำให้พนักงานไม่กระตือรือร้นในการใช้ระบบ
ข้อมูลที่อยู่บนระบบไม่ทันสมัย ทำให้เกิดความไม่น่าเชื่อถือ
ปัญหาเครื่องทำงานช้า ผู้ใช้เสียเวลารอข้อมูลนาน
ข้อมูลไม่น่าสนใจ ใช้ยาก ไม่มีเครื่องช่วยให้เข้าหา Information
ดังนั้นการที่จะให้ ระบบอินทราเน็ตที่พัฒนาขึ้น ประสบผลสำเร็จได้ ผู้บริหารจะต้องให้ความสำคัญด้วย โดยถือเป็นนโยบายหลัก โดยให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น จัดทำ ซึ่งจะทำให้เกิดความร่วมมือกันด้วยความเต็มใจ สะท้อนให้เกิดความร่วมมือกันด้วยความเต็มใจ สะท้อนให้เกิดประโยชน์กับบริษัทฯ ในภาพรวม โดยได้รับการสนับสนุนอย่างจริงจังจากผู้บริหาร
//74.125.153.132/search?q=cache:U8j6Bw2AHEUJ:www.comsci98.com/forum/index.php%3Faction%3Ddlattach%3Btopic%3D174.0%3Battach%3D661+.+%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87+Intranet&cd=5&hl=th&ct=clnk


โดย: น.ส.จิราภรณ์ ศุกรักษ์(หมู่15 ศุกร์ เช้า) IP: 117.47.233.39 วันที่: 1 ตุลาคม 2552 เวลา:15:00:38 น.  

 
15.1 อินทราเน็ตคืออะไร (จาก doothai.com)
ในยุคที่อินเตอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริษัทธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่มหันมาใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ต ในการโฆษณา การขายหรือเลือกซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริการข้อมูลอินเตอร์เน็ตระหว่างเครือข่าย ภายนอก แต่จัดสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิดให้บริการในรูปแบบเดียวกับที่มีอยู่ในโลก ของอินเตอร์เน็ตจริง ๆ โดยมีเป้าหมายให้บริการแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร เรียกว่า "เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครือข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ.2539 แต่แท้ที่จริงแล้วได้มีผู้ริเริ่มพูดถึงชื่อนี้ตั้งแต่ สี่ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึงได้ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเตอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
กล่าวได้ว่าการใช้งานอินทราเน็ต ก็คือ การใช้งานของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตโดยจำกัดขอบเขตการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของหน่วยงานเท่านั้น และนอกจากนี้ระบบ อินทราเน็ตยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้เช่นกัน ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานอินทราเน็ตสามารถใช้ทั้งอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กันได้ โดยทั่วไปอินทราเน็ตจะไม่เน้นการเชื่อมต่อไปสู่อินเตอร์เน็ตภายนอก เพื่อสืบค้นหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายนอก หากแต่มุ่งหวังที่จะจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศภายในองค์กร ด้วยการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเตอร์เน็ต และขยายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปถึงบุคลากรทุกหน่วยงาน ให้สามารถ เรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้ รูปแบบสำคัญที่มีในอินทราเน็ต คือ การใช้ระบบเวบเป็นศูนย์บริการข้อมูลและข่าวสารภายใน สามารถให้ข้อมูลได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อน ไหวและเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน โดยได้ผนวกบริการข้อมูลอื่นรวมไว้ในตัวเช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูล หรือกระดานข่าว เป็นต้น
อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทำสำเนาแจกจ่าย ไม่ว่าจะเป็นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากร มาจัดทำให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ แทน ผู้ใช้สามารถเรียกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็นการปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ช่วยให้การดำเนินงานเป็น ไปได้อย่างคล่องตัว และลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผนงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครือข่ายอินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกันโดยตรงระหว่างเครือข่ายอินทราเน็ตนั้นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ข้อดีของบริการบนอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุด

//www.thaiall.com/internet/internet02.htm

15.2 ประโยชน์อินทราเน็ต (จาก doothai.com)
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบได้อีกมาก

//www.thaiall.com/internet/internet02.htm


โดย: นางสาวกฤตยา อินทร์กอ หมู่ 22 IP: 118.174.20.84 วันที่: 4 ตุลาคม 2552 เวลา:11:48:16 น.  

 
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet


อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาด ใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (Protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้


ที่มา : //th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B9%87%E0%B8%95


โดย: น.ส. นาริณี อินทร์ดี IP: 113.53.169.140 วันที่: 7 ตุลาคม 2552 เวลา:16:21:56 น.  

 
15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง


ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต สรุปได้โดยสังเขปดังนี้คะ

1) การบริการทางธุรกิจ : อินเตอร์เน็ตเป็นลู่ทางใหม่ทางการค้า เพราะผู้ขายสามารถประกอบธุรกิจทางการค้าผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ กับอินเตอร์เน็ต ลูกค้าสามารถชมภาพ และรายละเอียดของสินค้าเพื่อใช้ในการตัดสินใจได้ทันที ณ เครื่องของลูกค้าเอง ผู้ขายเพียงแค่จัดเตรียมข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ของตน ก็สามารถบริการขายลูกค้าได้ทั่วโลกพร้อม ๆ กัน โดยไม่ต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในการประชาสัมพันธ์มากเท่าวิธีอื่น สามารถซื้อสินค้าและชำระเงินผ่านอินเตอร์เน็ตได้โดยตรง เพียงแต่ลูกค้าจะต้องมีบัตรเครดิต เมื่อสั่งซื้อสินค้าต่าง ๆ ก็กรอกหมายเลขบัตร แล้วระบุสินค้าที่ต้องการ จากนั้นสินค้าจะถูกส่งมาทางไปรษณีย์ และเงินจะถูกหักจากบัญชีเครดิต

2). การบริการข้อมูลข่าวสาร : ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญไม่ว่าเรื่องใด ๆ สามารถเผยแพร่ความรู้ของตนไปยังผู้คนทั่วโลกได้โดยง่าย เช่น ถ้ามีความชำนาญในการสอนนวดแผนไทย ก็สามารถนำข้อมูลการสอนนวดฯ พร้อมกับภาพประกอบไปใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต เพื่อให้ผู้คนที่สนใจอาหารไทยทั่วโลกได้รับทราบอย่างง่ายดาย ในทางกลับกันก็สามารถค้นหาข้อมูลได้แทบทุกชนิดจากอินเตอร์เน็ต โดยอาจจะอาศัยเครื่องมือค้นหาในอินเตอร์เน็ตซึ่งมีประสิทธิภาพสูงและมีให้ เลือกมากมาย

3) การพบปะและสนทนากับผู้คน : สามารถส่งจดหมายที่เรียกว่า "อีเมล์ (Electronic Mail : e-mail)" หรือพิมพ์ประโยคโต้ตอบกับผู้คนที่อยู่กันคนละซีกโลกได้ ยิ่งไปกว่านั้นยังสามารถคุยโต้ตอบผ่านอินเตอร์เน็ตในลักษณะโทรศัพท์ไปทั่ว โลกโดยไม่ต้องเสียค่าโทรศัพท์ได้อีกด้วย หรือคุยกันผ่านเว็บแคม เห็นหน้า ได้ยินเสียงแบบเรียลไทม์ก็ได้

4) การบริการซอฟต์แวร์ : ในอินเตอร์เน็ตมีบริการซอฟต์แวร์ที่ทันสมัยให้ได้ใช้ และสามารถโอนย้ายซอฟต์แวร์จากอินเตอร์เน็ตมาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อีก ด้วย
มีทั้งแบบที่ให้ทดลองใช้ก่อน แบบให้ใช้ฟรี และแบบที่ต้องเสียเงิน

5) ความบันเทิง : มีความสามารถในการนำเสนอความบันเทิงรูปแบบต่างๆ เช่น เพลง รายการวิทยุ เกมส์ ได้

6) การศึกษา ในระบบการศึกษาได้นำอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในการศึกษามากขึ้น ทั้งช่วยในการสืบค้นข้อมูลและในการเรียนการสอนด้วยทั้ง E-libaray, E-learning


ทีมา : //guru.google.co.th/guru/thread?tid=253fa1fddbd9ac90


โดย: น.ส. นาริณี อินทร์ดี IP: 113.53.169.140 วันที่: 7 ตุลาคม 2552 เวลา:16:24:11 น.  

 
แบบฝึกหัด
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet
ตอบ
อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นั่นเอง แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น


15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง
ตอบ
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้
2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย
3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ
4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง
5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้
ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก






โดย: นายธีรยุทธ วันทอง คบ.ภาษาอังกฤษ รหัส 52100102145 หมู่ 08 พฤหัสเช้า IP: 202.29.5.244 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:17:49:36 น.  

 
แบบฝึกหัด
15.1. จงอธิบายลักษณะของ Intranet

อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาด ใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (Protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้



15.2. ประโยชน์ของ Intranet มีอะไรบ้าง

ประโยชน์ที่ได้รับจากอินทราเน็ตสำหรับองค์กรหนึ่งๆ ก็คือ สามารถใช้ความสามารถต่างๆที่มีอยู่ในระบบอินเตอร์เน็ตได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ไม่ถูกจำกัดด้วยแบนวิดธ์หรือความกว้างของถนนในการส่งถ่ายข้อมูล แปลความให้ชัดเจนก็คือ เราสามารถดูวิดิโอ (ที่ต้องโหลดมาก่อนทั้งไฟล์) วิดิโอตามสาย (streaming line โหลดมาและดูเกือบจะพร้อมๆกันได้เป็นชั่วโมงๆ) และเรียกใช้ไฟล์ .exeที่มีขนาดหลายๆ MB ได้ในเวลาที่รอคอยได้

การใช้งานอีเมล์ติดต่อกันกับเจ้าหน้าที่ในอินทราเน็ตกันเองก็รวดเร็วกว่ามาก แน่นอน ประโยชน์ที่ได้จากงานนี้ก็คือ การแนบไฟล์ (attach file) ขนาดใหญ่ๆไปกับอีเมล์ ซึ่งทำได้สะดวกและรวดเร็วมากในระบบอินทราเน็ต

ส่วนการใช้งานโปรแกรมอื่นๆในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) นั้น เป็นการใช้งานที่ไม่ได้ใช้โปรโตคอล IP ของอินเตอร์เน็ต เราจะไม่เรียกการใช้งานอย่างนั้นว่าอินทราเน็ต โดยเรายังคงเรียกมันว่า เป็นการใช้งานโปรแกรมในระบบเครือข่าย LAN (เช่น โปรแกรมบริการผู้ป่วยของโรงพยาบาลราชวิถี) ดูจะเข้าใจได้ง่ายและถูกต้องกว่า ซ้ำยังไม่สับสนกับการใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตของระบบอินทราเน็ตด้วย



โดย: ***นายสุรศักดิ์ พฤคณา 52100102101 คบ.ภาษาอังกฤษ 1/2 ปี 1 หมู่ 1 พฤหัสบดี เช้า IP: 172.29.5.133, 202.29.5.242 วันที่: 11 มกราคม 2553 เวลา:17:59:45 น.  

 
15.1

คำจำกัดความของ อินทราเน็ต นั้นสามารถกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การที่องค์กรหนึ่งนำวิธีการใช้งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจำกัดขอบเขตการใช้งานส่วนใหญ่ อยู่เฉพาะภายในเครือข่ายของตนเท่านั้น แต่ถ้ามีการใช้ระบบเดียวกันเชื่อมต่อกับภายนอก จะถือว่าส่วนที่เชื่อมต่อกับภายนอกนั้น เป็นการทำงานด้านระบบ อินเตอร์เน็ต ประวัติของ อินทราเน็ต นั้น เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในปี พ.ศ. 2539 (1996) นี้เอง แต่ มีผู้เริ่มพูด ถึงชื่อนี้ ตั้งแต่เมื่อ สี่ปีก่อนหน้านี้ มาแล้ว หลังจากนั้น ระบบ อินทราเน็ต ได้ก่อกระแสความนิยม ที่เหมือนคลื่นกระแทกไปทั่วโลก จน ทำให้ ดูราวกับว่า เทคโนโลยี และการพัฒนาเกือบทั้งหมดในวงการคอมพิวเตอร์ มุ่งไปสู่ การพัฒนา เทคโนโลยี ด้านนี้เพียง ด้านเดียว ในยุคแรกๆ ระบบนี้มีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น แคมปัสเน็ตเวอร์ท, โลเคอร์อินเตอร์เน็ต, เอ็นเตอร์ไพร์ทเน็ตเวอร์ท เป็นต้น แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้กลายเป็นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปัจจุบัน
หลายๆองค์กรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มมองเห็นอนาคตและประโยชน์ของระบบนี้ จึงเริ่มพัฒนาและนำระบบอินทราเน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรทดแทน หรือเสริมระบบเดิมแบบทีละน้อยๆ ตัวอย่างของบริษัทเหล่านี้ได้แก่ บริษัท Tower Records ซึ่งเป็นบริษัทจำหน่าย ซีดีเพลง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทนี้ต้องการกระจายข้อมูลต่างๆเป็นจำนวนมากไปยังพนักงาน และส่วนการทำงานต่างๆ ตัวอย่างของข้อมูลที่กระจายออกไปเช่น รายชื่อเพลงใหม่ของบริษัท, กำหนดการแสดงต่างๆ รวมทั้งราคาขายสินค้า บริษัทนี้ใช้ อินทราเน็ต ทำงานด้านนี้ทดแทนการทำงานของโปรแกรม GroupWare ของเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ บริษัท Boeing ซึ่งเป็น บริษัทออกแบบ และประกอบเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบอินทราเน็ตส่งข่าวสารการออกแบบ ไปยังส่วนงานต่าง
บริษัท Entertainment Group ได้ใช้ระบบอินทราเน็ต กระจายข่าวสารและงานประชาสัมพันธ์ของบริษัท ทำให้องค์กรนี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้เป็นอย่างมาก เป็นต้น
มีตัวเลขอ้างว่าในปี พ.ศ. 2538 (1995) มี อินเตอร์เน็ต Web Site ทั่วโลกถึงสามหมื่นแห่ง แต่จะมี Web Site ของอินทราเน็ต มากกว่าถึงสี่เท่าหรือ หนึ่งแสนสองหมื่นแห่งเลยทีเดียวด้วยตัวเลขอ้างอิงนี้ย่อมทำให้ เราเห็นภาพได้อย่างชัดเจนแล้วว่า อินทราเน็ต แพร่หลายมากเพียงใด

15.2

ประโยชน์อินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนำอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

1. การสื่อสารเป็นแบบสากล ผู้ใช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่งข่าวสารในรูปของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานสากลระหว่างผู้ร่วมงานภายในหน่วยงานและผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งอยู่ภายนอกหน่วยงานได้

2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครือข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีใช้อย่างแพร่หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริยาย โดยมีทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย

3. การลงทุนต่ำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่ำ จึงทำให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายต่ำกว่าเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนกับระบบอื่น ๆ

4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้นั้นได้ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง จนกระทั่งอยู่ในสถานภาพที่มีความเชื่อถือได้สูง

5. สมรรถนะ สามารถสื่อสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสียงได้

้ในปัจจุบัน บริษัทธุรกิจชั้นนำในประเทศต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรกันอย่างแพร่หลาย สำหรับอินทราเน็ตในประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็มีศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก



โดย: นาย นุกูลกิจ ลีทุม 52100102146 คบ.อังกฤษ หมู่ที่ 8 พฤหัส(เช้า) IP: 202.29.5.240 วันที่: 20 มกราคม 2553 เวลา:15:22:55 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 
 
 

neaup
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 35 คน [?]




มาเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้กันนะคะ
[Add neaup's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com
pantip.com pantipmarket.com pantown.com