Bloggang.com : weblog for you and your gang
Group Blog
มิถุนายน 2548
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
22 มิถุนายน 2548
นกจาบคาเคราน้ำเงิน
All Blogs
นกแต้วแล้วใหญ่หัวสีน้ำตาล
นกจับแมลงสร้อยคอขาว
นกกะรางแก้มแดง
เขนน้อยข้างสีส้ม
นกจุนจู๋หัวสีตาล
นกกะรางสร้อยคอเล็ก
นกกาฝากท้องสีส้ม
Fairy Pitta
นกจาบคาเคราแดง
นกจับแมลงสีฟ้าท้องขาว
นกระวังไพรปากเหลือง
นกกะเต็นลาย
นกปลีกล้วยลาย
นกศิวะปีกสีฟ้า
นกจับแมลงสีน้ำตาลแดง
นกเค้าป่าสีน้ำตาล
นกจับแมลงอกสีฟ้า
นกจับแมลงคอขาวหน้าแดง
นกกะเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกะรางหัวหงอก
นกเดินดงลายเสือ
นกเดินดงอกเทา
นกเดินดงอกดำ
นกกระติ๊ดเขียวกับ ดอกไผ่บาน
นกแขกเต้า
นกกระเบื้องผา
นกมุ่นรกตาแดง
นกปรอดดำ
นกกาฝากอกสีเนื้อ
นกปลีกล้วยเล็ก
นกกาฝากก้นเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกกินปลีคอแดง
นกพญาปากกว้างสีดำ
นกยางลายเสือ
นกพญาปากกว้างลายเหลือง
นกตบยุงหางยาว
นกโพระดกคอสีฟ้าเคราดำ
นกตบยุงป่าโคก
นกแต้วแล้วธรรมดา
นกแต้วแล้วอกเขียว
นกศิวะหางสีตาล
นกเขนหัวขาวท้ายแดง
นกกินปลีหางยาวเขียว
นกเขนท้องแดง
นกเค้าแคระ
นกกระทาดงคอสีแสด
นกหางรำดำ
คัคคูเหยี่ยวใหญ่ : คัคคูที่ดูเหมือนเหยี่ยว
นกกินปลีคอสีม่วง
นกแซวสวรรค์
นกสาลิกาเขียว
นกกะรางคอดำ (นกซอฮู้)
นกพญาปากกว้างหางยาว
นกเดินดงหัวสีส้ม
นกกระจ้อยป่าโกงกาง
นกโพระดกคอสีฟ้า
นกเขนน้อยไซบีเรีย
นกกระเบื้องคอขาว
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกจับแมลงหัวเทา
นกแว่นตาขาวสีทอง
นกกาฮัง
นกพญาปากกว้างท้องแดง
นกเอี้ยงถ้ำ
นกกางเขนดง : the nightingale of india
นกปรอดคอลาย
นกพญาปากกว้างอกสีเงิน :เจ้าขุนช้างน้อย
นกจาบดินอกลาย
นกจับแมลงสีฟ้า : นกสีน้ำทะเล
นกเดินดงพันธุ์ญี่ปุ่น
นกโกโรโกโส
นกกะเต็นสร้อยคอสีน้ำตาล
นกจาบคาเคราน้ำเงิน
นกกะเต็นน้อยหลังดำ
นกจาบคาเคราน้ำเงิน
นกจาบคาเคราน้ำเงิน
Nyctyornis athertoni
(Blue-bearded Bee-eater) เป็นนกจาบคาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีความยาวจากปลายปากจรดปลายหางประมาณ 33-37 เซ็นติเมตร มีลำตัวเพรียว คอสั้น หัวโต ปากยาวโค้งงอ ขาและนิ้วเท้าเล็กไม่เหมาะสำหรับเดินหรือกระโดด สีสันโดยรวมเป็นสีเขียว ขนบริเวณอก คอ คาง สีฟ้าค่อนข้างยาวเป็นพิเศษจึงดูคล้ายมีเคราสีฟ้าเป็นที่มาของชื่อ บริเวณท้องมีลายขีดสีเขียวจางๆขนคลุมลำตัวด้านล่างส่วนใหญ่เป็นสีเหลือง นกตัวผู้และตัวเมียคล้ายคลึงกัน
นกจาบคาเคราน้ำเงินชอบเกาะกิ่งนิ่งๆนานๆหลายๆชั่วโมง ไม่ค่อยเกาะตามยอดไม้แบบนกจาบคาอื่นๆแต่จะเกาะที่ระดับกลางของต้นไม้ อาหารของนกจาบคาเคราน้ำเงินได้แก่ ผึ้ง แมลงปอ ด้วง เป็นต้น ในการกินอาหารนกจะบินออกไปโฉบอาหารกลับมากินที่กิ่งโดยขยับแมลงให้หันหัวเข้าก่อนเช่นเดียวกับนกจาบคาอื่นๆ แต่นกชนิดนี้มีวิธีการกินอาหารแบบอื่นๆด้วย เช่นบินเข้าไปในโพรงไม้ผุๆเพื่อจิกกินไรไม้และด้วงที่ขุดเจาะเนื้อไม้ เป็นต้น
ในฤดูร้อน นกจาบคาเคราน้ำเงินจะเกี้ยวพาราสีโดยเกาะชิดๆกัน แผ่ขนหางเป็นรูปพัดแล้วก้มหัวลงติดๆกันเป็นเวลา 1 นาที พร้อมทั้งส่งเสียงร้อง ในบางโอกาสก็คาบเหยื่อไว้ในปากด้วย นกชนิดนี้ทำรังโดยการเจาะโพรงดินเช่นเดียวกับนกจาบคาอื่นๆ โดยเริ่มขุดโพรงก่อนวางไข่ประมาณ 1 เดือนหรือมากกว่า ในการเจาะโพรงบางครั้งนกอาจเปลี่ยนใจย้ายที่ขุดได้ บางโพรงก็ขุดสูงถึง 6-8 เมตรจากระดับพื้น บางโพรงก็เกือบจะติดดิน นกทั้งสองตัวจะสลับกันขุดโพรงรัง ในการขุดนกจะใช้ปากขุดและใช้เท้าเขี่ยดินออกมาทางด้านหลัง โพรงรังอาจมีปากโพรงกว้าง 7.5-9.5 เซ็นติเมตร และลึกได้ถึง 1.3-3 เมตร ขนานกับพื้นด้านล่าง หรือเอียงลง ปลายโพรงเป็นห้องกว้างราว 20*13เซ็นติเมตรสำหรับวางไข่และเลี้ยงลูก นกจะไม่หาวัสดุมารองรังแต่ในโพรงรังจะมีชิ้นส่วนของแมลงที่ย่อยไม่ได้ที่นกสำรอกออกมาเต็มไปหมด เพราะในระหว่างที่ยังไม่ได้วางไข่ นกจะอาศัยนอนในโพรงรังนี้ด้วย
นกจะวางไข่ครั้งละประมาณ 6 ฟองหรือน้อยกว่า เมื่อวางไข่ใหม่ๆไข่จะขาวสะอาดเป็นมัน แต่นานๆไปก็จะเลอะเทอะขึ้นและด้าน ไข่ค่อนข้างกลมมีขนาด 28.2*25.4มม. พ่อแม่นกช่วยกันกกไข่จนฟักเป็นตัว ลูกนกที่ยังไม่เต็มวัยรูปร่างหน้าตาคล้ายตัวเต็มวัย
นกจาบคาเคราน้ำเงินถูกพบครั้งแรกในอินเดีย และพบที่เชิงเขาหิมาลัย เนปาล สิกขิม ภูฐาน บังคลาเทศ พม่า จีน ไทย ลาว เขมร เวียตนาม สำหรับประเทศไทย นกชนิดนี้อาศัยในป่าผสมผลัดใบและป่าดิบแล้งบนที่ราบต่ำจนถึงป่าดิบเขาที่ความสูง 2200 เมตรจากระดับน้ำทะเล รวมทั้งป่าเต็งรัง ตั้งแต่ภาคเหนือ ภาคตะวันตก ตะวันตกเฉียงเหนือของภาคอีสาน และภาคตะวันออก
ภาพนกในบล็อกถ่ายจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมาช่วงกลางเดือนเมษายน นกกำลังป้อนอาหารลูกที่คลานออกมากินอาหารจากปากพ่อแม่นกที่ปากโพรงรัง
ข้อมูลจาก :
//www.bird-home.com
Create Date : 22 มิถุนายน 2548
Last Update : 30 สิงหาคม 2551 12:05:55 น.
3 comments
Counter : 4740 Pageviews.
Share
Tweet
สวยจังคะ
โดย: แพนด้า (
ซุ้มลำโพง
) วันที่: 1 กันยายน 2548 เวลา:15:53:51 น.
ภาพสวยนารักดีครับเคยพบนกชนิดนี้ที่บริเวณการเต็นท์ผากล้วยไม้บริเวณหลังห้องอาบนำตกดชายป่า
โดย: baracuda1961 IP: 125.26.234.117 วันที่: 9 กรกฎาคม 2550 เวลา:11:55:12 น.
อยากเจอ
โดย: โรนิน IP: 118.173.127.165 วันที่: 13 ธันวาคม 2552 เวลา:18:53:57 น.
ชื่อ :
Comment :
*ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
จันทร์น้อย
Location :
ปทุมธานี Thailand
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 15 คน [
?
]
เล็กๆน้อยๆ
" ฤดูที่เหมาะสมในการดูนกในเมืองและใกล้เมืองคือฤดูหนาว เพราะเป็นเวลาที่นกอพยพเดินทางไกลมาอาศัยร่วมพื้นที่กับนกท้องถิ่น ทำให้มีปริมาณมากขึ้นและมีนกหลากหลายชนิดขึ้น "
เรื่องเล่าวันนี้
เมษายน เดือน "ฮ็อต"
นกใหม่วันนี้
ค้นหาในGOOGLE.CO.TH
ขอบคุณ:
ไฟล์เสียงเพลงประกอบบล็อกและสคริปต์ อนุเคราะห์โดย
ป้ามด
ตัวหนังสือที่ใช้ทำปุ่มต่างๆและโลโก้จาก
www.f0nt.com
ภาพวาดการ์ตูนนกน่ารักสีสันสดใสจากบล็อกคุณ
Pichsud
Friends' blogs
VA_Dolphin
SevenDaffodils
มัชชาร
9A
I am just fine^^
กระจิบหญ้าสีเรียบ
Pichsud
พนาไพร
WaxGourd
quin toki
PANDIN
weraj
ระเบียงดอกไม้
เขาพนม
Webmaster - BlogGang
[Add จันทร์น้อย's blog to your web]
Links
ห้องบลูแพลนเน็ต
บ้านนก
ทัวร์ทโมน
birder's journal
ไทยเบิร์ดพิค
ornithology
birdlinks
นกไต้หวัน
พจนานุกรม
dictionary
นกอังกฤษ
นกอิตาลี
cornell all about birds
นกเกาหลี
encyclopedia
honolulu zoo
ชื่อผีเสื้อ
ผีเสื้อเมืองไทย
รักษ์ผีเสื้อ
โค้ดบล็อกของป้ามด
เซฟเบิร์ด
what bird
Thailand nature
oriental bird images
ลานนาเบิร์ด
BlogGang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.