|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 |
8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 |
15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 |
22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 |
29 | 30 | 31 | |
|
|
|
|
|
|
|
ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม
ธรรมะหลัก ๔ ข้อ คือ - ความถูก ธรรมะ ทางสายกลาง - ธรรมฝ่ายดีงาม ความดีงาม - วิชา - ความไม่มีอธรรม ความไม่มีกิเลส มีความสุข แก้ปัญหา อย่างถูกต้อง
ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ถูก ดี ได้ดี ไม่ได้ไม่ดี มีความสุขอย่างถูกต้อง ไม่ทุกข์ได้ ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้เป็นอิสระได้ ธรรมะหลัก ๔ เป็นทางเจริญ รุ่งเรือง ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้ชนะ ธรรมะหลัก ๔ เป็นธรรมที่ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้ ธรรมะหลัก ๔ เป็นสิ่งที่คุ้มครองผู้ปฏิบัติได้ ควรเก็บธรรมะหลัก ๔ เอาไว้ในใจ เพื่อนำไปปฏิบัติ จะทำให้ดีขึ้นได้ ไม่เป็นแนวติดลบ เป็นแนวกลาง หรือเป็นแนวติดบวก ได้โดยธรรมะหลัก ๔
ธรรมะหลัก หรือ ธรรมฝ่ายดีงาม ๒๕ ข้อ คือ - ความถูก ศีล สติ สัมปชัญญะ สมาธิ ปัญญา ความว่าง ทางสายกลาง - ทักษะที่ถูกที่ดี วิชาที่ถูกที่ดี ไม่เป็นอธรรม ไม่เป็นกิเลส - จิตสำนึกที่ถูกที่ดี ความเห็นที่ถูกที่ดี เจตนาที่ถูกที่ดี เก็บ สะสมธรรมะ ความถูกความดี ความไม่เป็นกิเลส ไม่สะสมอธรรม ความผิดความไม่ดี หรือกิเลส - ความคิดที่ถูกที่ดี ตั้งจิตปรารถนาที่ถูกที่ดี ความปรารถนาดี ความคาดหวังที่ถูกที่ดี มีแรงบันดาลใจที่ถูกที่ดี การตัดสินใจ การตัดสินใจเองอย่างถูกต้อง - การเจรจาที่ถูกที่ดี สนทนาธรรมอย่างเหมาะสมตามกาล - ความประพฤติที่ถูกที่ดี การปฏิบัติที่ถูกที่ดี สุจริต มีการเชื่อมต่อที่ถูกที่ดี การช่วยเหลือ พึ่งพา พัฒนาตนเอง อย่างถูกต้อง การช่วยเหลือ พัฒนาผู้อื่น อย่างถูกต้อง - ความไม่เบียดเบียน การไม่รับสิ่งตอบแทนจากการปฏิบัติอธรรมหรือกิเลส - ความเพียร พยายามที่ถูกที่ดี ความมุ่งมั่นที่ถูกที่ดี ความไม่ประมาท รอบคอบ - ความตั้งจิตมั่นปรารถนาที่ถูกที่ดี ความตั้งมั่นที่ถูกที่ดี ตั้งจิตไว้ที่ถูกที่ดี ไม่ตั้งจิตไว้ที่ผิดที่ไม่ดี - การเรียงความสำคัญถูกต้อง ถูกอันดับ ถูกลำดับ การเรียงถูกต้อง ถูกเนื้อนาม ถูกลำดับ เป็นระเบียบ การจัดกลุ่มอย่างถูกต้อง - ความเข้มแข็ง ความอดทนในความถูกความดีหรือในการกระทำความถูกความดี ฝืน อดทนอดกลั้นต่อความยากลำบากในทางที่ถูกที่ดี - ความเหมาะสม พอเหมาะ พอดี มีจังหวะที่ถูกที่ดี รู้จักผ่อนหนักผ่อนเบา รู้จักพอ ความไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน ไม่เกินขอบเขตจำกัด ไม่เกินขีดจำกัด รู้จักประหยัด มัธยัสถ์ ทันเวลาที่จำกัด มีความสมดุลอย่างถูกต้อง - ตั้งค่า ปรับค่าต่างๆ จัดสัดส่วนต่างๆ แบ่งกลุ่ม อย่างถูกต้อง เหมาะสม การจัดสัดส่วนต่างๆ ของขันธ์ การรู้จักปรับตัว อย่างถูกต้อง - ความแม่นยำ ความสม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย อย่างถูกต้อง - การรู้จักให้รู้จักรับ รู้จักเก็บ รู้จักแบ่งปัน การรู้จักสละ อย่างถูกต้อง - การรู้จักหยุด รู้จักยับยั้ง การรู้จักพัก การรู้จักออกจาก - การรู้จักบันทึก รู้จักเก็บบันทึก - การรู้จักวางเฉย รู้จักปล่อยวาง ละวาง ไม่ยึดติด ไม่ยึดมั่นถือมั่น - ความเป็นกลางในสภาวธรรม ความเป็นกลาง - ความเป็นธรรม - การรู้คุณแทนคุณ อย่างถูกต้อง - ความตรง - สัจจะ ความจริง จริงใจ - ความอิสระ อย่างถูกต้อง - ความไม่เป็นอธรรม ความไม่มีอธรรม ความไม่เป็นกิเลส ความไม่มีกิเลส มีความสุข แก้ปัญหา อย่างถูกต้อง
ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นสิ่งมีคุณ ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นบารมีที่ถูกที่ดี ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นธรรมที่ทำให้มีแรง มีพลัง มีกำลังเพียงพอ มีได้โดยการปฏิบัติธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม ธรรมะหลัก เป็นสิ่งที่คุ้มครองผู้ปฏิบัติได้
Create Date : 02 สิงหาคม 2564 |
Last Update : 11 ตุลาคม 2567 20:10:21 น. |
|
0 comments
|
Counter : 303 Pageviews. |
|
|
|
|
|
|
|