Group Blog
 
<<
กุมภาพันธ์ 2556
 12
3456789
10111213141516
17181920212223
2425262728 
 
21 กุมภาพันธ์ 2556
 
All Blogs
 
เด็กมหิดลคนเหงา ๆ คนเดิม นำผลงานงานฝีมือยามว่างพร้อมสาระดีดีมาฝากเช่นเคย หวังว่าจะชอบกันนะครับ

ลานมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล พัลลภ อนุสนธิ์พรเพิ่ม นักเขียนภาพทางชีววิทยา นักเขียนภาพสัตว์ นักเขียนภาพทางการแพทย์ นักเขียนภาพปักษีวิทยา นักเขียนภาพวิทยาศาสตร์
ภาพวาดสีน้ำ ลานมหิดลศูนย์รวมศรัทธาผองเราชาวมหิดล
ดอกกันภัยมหิดล  พัลลภ อนุสนธิ์พรเพิ่ม นักเขียนภาพทางชีววิทยา นักเขียนภาพสัตว์ นักเขียนภาพทางการแพทย์ นักเขียนภาพปักษีวิทยา นักเขียนภาพวิทยาศาสตร์
เอางานอดิเรกยามว่างมาฝาก
กันภัยมหิดล gunpaimahidol ดอกไม้อันเป็นสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยมหิดล
วันนี้เอาต้นไม้อันมีชื่อเป็นมงคล ในการช่วยปกป้องคุ้มกันภัย ชื่อของดอกไม้ชนิดนี้คือดอกกันภัยมหิดล มาฝาก เพื่อให้ปกป้องคุ้มกันภัย และส่งไม่ดีต่าง ๆ  ต้นกันภัยมหิดล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Afgekia mahidoliae Burtt et Chermsir.) คือ ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีการค้นพบครั้งแรกที่ประเทศไทยเป็นครั้งแรกและแห่งเดียวในโลก ได้รับเกียรติให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยมหิดล สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประทานพระราชวินิจฉัยชี้ขาดให้ต้นกันภัยมหิดล เป็นต้นไม้สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยมหิดล
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  พัลลภ อนุสนธิ์พรเพิ่ม นักเขียนภาพทางชีววิทยา นักเขียนภาพสัตว์ นักเขียนภาพทางการแพทย์ นักเขียนภาพปักษีวิทยา นักเขียนภาพวิทยาศาสตร์
ภาพวาดยามว่าง ภาพสีน้ำ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตบางกอกน้อย) ผมจากคณะนี้เองครับ อาหารวังหลังอร่อยมากหลากหลายดี นอกจากนี้แถวนี้ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวน่าเดินทางมาเยือนมากมาย.
แมวขาวมณี พัลลภ อนุสนธิ์พรเพิ่ม นักเขียนภาพทางชีววิทยา นักเขียนภาพสัตว์ นักเขียนภาพทางการแพทย์ นักเขียนภาพปักษีวิทยา นักเขียนภาพวิทยาศาสตร์

สกน้องแมวให้เป็นภาพสีน้ำ ขอเสกน้องแมวน้อยสีขาวสะอาดตา ไม่มีสีอื่นเจือปน เป็นสีขาวปลอดทั้งตัวบริสุทธิ์ ไร้สิ่งเจือปน ขนสั้น นุ่ม น่าสัมผัส นัยตาสีเหลืองอำพัน คงจะเป็นแมวชนิดไหนไม่ได้ นอกจากแมวน้อยแสนสวย อัญมณีล้ำค่าแห่งกรุงรัตนโกสิน ที่มีนามว่าอันไพเราะว่า ขาวมณี หรือที่มีชื่อเรียกว่า ขาวปลอด แมวไทยยอดนิยม ทีีถือว่าเป็นแมวไทยดังเดิม ที่ยังพบเห็นค่อนข้างมากในปัจจุบัน แม้จะไม่ได้อยู่ในบันทึกสมุดข่อยโบราณที่ว่าด้วยแมวดี 17 ชนิด และแมวร้าย 6 ชนิด ซึ่งบันทึกไว้ในสมัยอยุธยา อาจเพราะเจ้าแมวขาวมณ๊นี้ถือกำเนิดในสมัยรัตนโกสิน โดยกล่าวกันว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดแมวชนิดนี้มาก
ได้มีการกล่าวไว้ว่า สีขาวล้วน ดวงตาสีฟ้า และอาการหูหนวกแต่กำเนิดในแมวมีจุดเชื่อมโยงกันอยู่เนี่ยนจากชั้น Tapetum Lucidum ซึ่งเป็นชั้นที่ฉาบเนื้อเยื้อในดวงตา ผลิตขึ้นจากเซลต้นกำเนิด stem cell เดียวกับ melamocytes หรือเซลล์ที่ทำหน้าที่สร้างเม็ดสีให้แก่ผิวหนังและเส้นขน ขณะที่อาการหูหนวกแต่กำเนิด จะเป็นผลมาจากการขาดแคลนชั้นเซลล์ของหูชั้นใน ซึ่งผลิตขึ้นจากเซลล์ต้นกำเนิดแห่ล่งดังกล่าวนี้ด้วยเช่นกัน โดยแมวตาสองสีจะมีโอกาสหูหนวกเฉพาะหูข้างเดียวกันกับดวงตาสีฟ้า ส่วนหูข้างดวงตาสีเหลืองมักได้ยินปกติ แต่ไม่เสนมอไปที่แมวตาสีฟ้าจะหูหนวกโดยกำเนิด โดยเฉพาะหากแมวต่างพ่อต่างแม่ เนื่องจากความผิดปกติดังกล่าวเกิดจากพันธุกรรมที่ได้รับสืบทอดกันมาจากผู้ให้กำเนิด สรุปน้องแมวขาวมณีตัวนี้ หูได้ยินทั้งสองข้างครับ แอบเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาฝากด้วยครับ
ภาพวาดสีน้่ำปลา พัลลภ อนุสนธิ์พรเพิ่ม นักเขียนภาพทางชีววิทยา นักเขียนภาพสัตว์ นักเขียนภาพทางการแพทย์ นักเขียนภาพปักษีวิทยา นักเขียนภาพวิทยาศาสตร์
ได้รับ โปสการ์ดจากคุณจอม แฟนพันธ์แท้หอย ส่งมาจากแดนไกล ปานนี้คงตะเวณเก็บเปลือยหอยอยู่ ทำให้นึกขึ้นได้ว่าอยากลองวาดสัตว์ ในกลุ่มสัตว์น้ำดู ได้เปลีอยหอยจากคุณจอมมา สวยทุก ชิ้นเลย เลยลองหัดวาดภาพปลาสิงโตดู ปลาที่ดูแล้วสวยประหาร เพราะดูภายนอกสวย แต่แฝงไปด้วยพิษ บริเวณครีมจะมีเยื่อที่เป็นพิษต่อร่างกายถ้าไปสัมผัส จะทรมานมาก วิธีแก้คือการนำส่วนที่โดนพิษไปอังไฟ เพราะพิษเป็นโปรตีนจะละลายไปกับความร้อน ปล แต่ถ้าไปเจอปลาแมงป่องซึ่งอยู่ในตระกูลเดียวกัน ก็คงต้องร้องนะโมนะโม ลาก่อน ใครชอบดำน้ำ อย่าไปเผลอจับล่ะ
บีเกิ้ล พัลลภ อนุสนธิ์พรเพิ่ม นักเขียนภาพทางชีววิทยา นักเขียนภาพสัตว์ นักเขียนภาพทางการแพทย์ นักเขียนภาพปักษีวิทยา นักเขียนภาพวิทยาศาสตร์
ภาพวาดยามว่าง น้องหมาบีเกิ้ล
ภาพนี้เอาไปแสดงนิทรรศการช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วมที่พารากอน กับเอาไปอัดเป็นเข็มกลัดมอบรายได้มอบบ้านหมาแมวราชบุรี
พัลลภ อนุสนธิ์พรเพิ่ม นักเขียนภาพทางชีววิทยา นักเขียนภาพสัตว์ นักเขียนภาพทางการแพทย์ นักเขียนภาพปักษีวิทยา นักเขียนภาพวิทยาศาสตร์
เหยี่ยวแดง (อังกฤษ: Brahminy Kite หรือ Red-backed Sea-eagle) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลางในวงศ์ Accipitridae สามารถพบได้ในอนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ ประเทศออสเตรเลีย เหยี่ยวแดงมีสีที่ตัดกันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ทั้งตัวจะมีสีน้ำตาลแดงยกเว้นที่หัวและอกมีสีขาว ปลายปีกมีสีดำ ขามีสีเหลือง ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้มีความยาวจากปลายปีกจดปลายหาง 51 ซม. ตัวผู้ยาว 43 ซม.[2] นกวัยอ่อนมีสีน้ำตาลแกมดำคล้ายกับเหยี่ยวดำ แต่มีสีจางกว่า ปีกสั้น และ หางมน 
เหยี่ยวแดงมีขนาดพอๆกับเหยี่ยวดำและมีลักษณะการบินที่คล้ายกันจากมุมปีก แต่มันมีปลายหางมนเหมือนกับนกในสกุล Milvus ขณะที่เหยี่ยวดำมีหางเป็นแฉ



Create Date : 21 กุมภาพันธ์ 2556
Last Update : 21 กุมภาพันธ์ 2556 8:12:27 น. 1 comments
Counter : 2756 Pageviews.

 
สวยทุกรูปเลย แต่น้องหมาแต่แอบเหงานิดนึง

สงสัย อารมณ์เดียวกับคนวาด



โดย: ฝนโปรย วันที่: 21 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา:8:30:02 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

nuchock
Location :
กรุงเทพฯ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 14 คน [?]




สนใจอยากเรียนรู้ ขอคำแนะนำในการวาดภาพวาดสีน้ำ ภาพวาดวิทยาศาสตร์ ภาพวาดทางการแพทย์ มาแลกเปลี่ยนพูดคุยแอดเมลผมได้ที่ kunkruchock@gmail.com ได้นะครับยินดีที่ได้รู้จักทุกท่านครับ
Friends' blogs
[Add nuchock's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.