เกลียดจริง ๆ คนไม่จริงใจ
<<
มิถุนายน 2552
 
 123456
78910111213
14151617181920
21222324252627
282930 
 
10 มิถุนายน 2552
 
 
4. อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย



อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Equipment)

ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานนอกจากคอมพิวเตอร์ 2 ตัวขึ้นไป แล้วยังต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้


เน็ตเวิร์คการ์ด (Network Card)

การ์ดเน็ตเวิร์ก หมายถึง แผงวงจรสำหรับใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย จะติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ด คือ แปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้
NIC (Network Interface Card) การ์ดเน็ตเวิร์ก หรือการ์ดแลนด์ มีการนำมาใช้งานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ IBM PC นานร่วม 15 ปี มีหน้าที่ติดต่อสื่อสารและรับ-ส่งข้อมูลระหว่างเครื่องเมนเฟรม และ เครื่องไมโคคอมพิวเตอร์ ในอดีตการ์ดเน็ตเวิร์กจะเป็นแบบบัส ISA ซึ่งใช้เสียบลงไปบนสลอต ISA บนเครื่องคอมพิวเตอร์และต้องมานั่งเซตจั๊มเปอร์ของ IRQ. Address เพื่อไม่ให้ไปชนกับอุปกรณ์อื่น ๆ อีกด้วย



บัส ISA ซึ่งปัจจุบันไม่นิยมใช้งานแล้ว จะเห็นว่าที่ด้านหลังมีขั้วเชื่อมต่อแบบ RJ-4,BNC และ Au ขั้วเชื่อมต่อแบบ RJ-4 จะต้องทำงานร่วมกับกล่องฮับ ส่วนขั้วเชื่อมต่อ แบบ BNC ไม่ต้องใช้ฮับร่วมทำงาน เพราะใช้ T-Connector และ Terminator (ตัวปิดหัวท้าย) แทน การ์ดเน็ตเวิร์กจะมีหลายแบบด้วยกัน ขึ้นอยู่กับสลอตบนเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ISA, PCI, PCMCIA USB Port หรือ Compact Flash



PCI (Peripheral Component Interconnect) เป็นระบบบัสที่ได้รับความนิยมสูงมาก ซึ่งได้เข้า มาแทนบัสแบบ ISA PCI บัสมีอัตราการส่งผ่านข้อมูลสูงถึง 133 เมกกะไบต์ต่อวินาที นอกจากนี้ยังสามารถ กำหนดค่า IRQ,DMA, Memory Address ให้อุปกรณ์และการ์อินเทอร์เฟซอัตโนมัติ เมื่อเสียบการ์ดเน็ตเวิร์ก แบบ PCI ลงไปบนเครื่องแล้ว ส่วนมากจะมองเห็นและใช้งานได้ทันที



PCMCIA (Personal Computer Memory Card International Association) เป็นการ์ดเสียบขนาดเล็ก เท่ากับบัตรเครดิต เป็นอุปกรณ์ขยายระบบให้คอมพิวเตอร์ Notebook เช่น การ์ดหน่วยความจำ แฟกซ์ โมเด็ม การ์ดเน็ตเวิร์ก หรือ ฮาร์ดดิสก์ขนาดเล็ก



USB Port (Universal Serial Bus) เป็นพอร์ตเชื่อมต่อแบบใหม่ที่สามารถจะนำอุปกรณ์เข้ามาเชื่อมต่อได้ จำนวนมากถึง 100 กว่าตัว




โมเด็ม (Modem)


โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สำหรับการแปลงสัญญาณดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ด้านผู้ส่ง เพื่อส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก(Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะทำหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนำเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์เป็นสื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต

Modem มี 3 ชนิดคือ
1. Internal Modem เป็น Card Adapter ที่เสียบเข้าไปใน slot ของคอมพิวเตอร์ โดยมีวงจรพอร์ต อนุกรมของตัวเอง(COM3,COM4) และใช้พลังงานร่วมกับคอมพิวเตอร์


2. External Modem เป็นกล่องที่บรรจุวงจร modem มีแหล่งพลังงานของตัวเอง และจะต่อกับพอร์ต อนุกรม(COM1,COM2)ของคอมพิวเตอร์

3. wireless modemหรือโมเด็มไร้สาย มีลักษณะคล้ายกับโมเด็มภายนอก โดยโมเด็มภายนอกจะเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ทาง serial port โดยใช้สายทางโทรศัพท์ ในขณะที่โมเด็มไร้สายจะไม่ใช้สายโทรศัพท์เพื่อเชื่อมต่อ แต่จะสื่อสารโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อ



ฮับ (Hub)




ฮับ หรือตัวย้ำสัญญาณ เป็นอุปกรณ์ง่ายๆ ที่เชื่อมกลุ่มผู้ใช้ไว้ด้วยกัน ฮับจะส่งต่อทุกๆ ข้อมูลไม่ว่าจะเป็นอีเมล์ เอกสาร รูปภาพ คำสั่งพิมพ์งานจากผู้ใช้ที่ส่งมาไปยังผู้ใช้อื่นๆ ทุกคนที่ต่อร่วมกันบนฮับเดียวกัน ผู้ใช้ที่ต่ออยู่บนฮับตัวเดียว หรือต่อเชื่อมต่อผ่านฮับหลายตัวก็ตาม จะแบ่งกันใช้ความจุของสายร่วมกัน นั่นหมายถึง ยิ่งมีผู้ใช้เชื่อมต่อเพิ่มมากขึ้นเท่าไร ก็ต้องแบ่งความจุ ของสายในการรับส่งข้อมูลมากขึ้น ทำให้ผู้ใช้แต่ละคนจะส่งได้ช้าลง เมื่อมีผู้ใช้เพิ่มในฮับมากขึ้น




เพื่อให้เข้าใจชัดเจนขึ้นว่า ฮับช่วยระบบเครือข่าย ทางธุรกิจคุณได้อย่างไร ให้คุณนึกถึงโรงเรียน ที่มีสายโทรศัพท์เพียงสายเดียว สำหรับห้องพักครูทุกห้อง เมื่อครูในห้องพักครู ต้องการโทรไปยังอีกห้องพักครูหนึ่ง โทรศัพท์จะดังไปทุกๆ ห้อง ครูที่พักอยู่ในแต่ละห้องทุกห้อง ต้องรับโทรศัพท์แล้วฟังว่าเป็นสายของใคร และในขณะที่มีคนใช้โทรศัพท์อยู่ คนอื่นๆ จะไม่สามารถใช้โทรศัพท์ได้ในเวลานั้น ถ้าครูมาพักน้อย การวางระบบเช่นนี้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ในช่วงเวลาที่มีการใช้โทรศัพท์บ่อย การติดต่อก็จะทำให้ยาก เพราะโทรศัพท์สายไม่ว่างตลอด



บริดจ์ (ฺBridge)



เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระบบ LAN เข้าด้วยกัน โดยออกแบบมาเพื่อใช้ติดต่อระหว่างเครือข่ายท้องถิ่น LAN จำนวน 2 เครือข่าย ที่มีโปรโตคอลเหมือนกันหรือต่างกัน เพื่อให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้ โดยประสิทธิภาพในทางรวมลดลงไม่มาก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องอยู่ในเซกเมนด์เดียวกัน จะไม่มีการส่งผ่านต่างเซกเมนด์ (Segment)




สวิตช์ (Switch)


สวิตช์เป็นอุปกรณ์ที่ฉลาดกว่าฮับ และทำให้ได้ความจุ ในการรับส่งข้อมูลแก่ผู้ใช้แต่ละคน ได้มากกว่าฮับ สวิตช์จะส่งต่อข้อมูลไปยังเป้าหมายที่เหมาะสม ที่สามารถไปต่อยังผู้รับได้โดยตรง โดยตัดสินใจส่งจากส่วนหัว (Header) ของข้อมูล (Packet) โดยสร้างการเชื่อมต่อแบบชั่วคราว ระหว่างต้นทางและปลายทาง และปิดการเชื่อมต่อชั่วคราวนั้นทิ้ง เมื่อการติดต่อได้เสร็จสิ้นลง


สวิตช์เปรียบได้กับโทรศัพท์ ของโรงเรียนที่มีโอเปอเรเตอร์คอยต่อสายให้ เมื่อครูสมชาย ต้องการโทรไปหาครูสมบัติ อีกห้องหนึ่ง โอเปอเรเตอร์รับคำสั่งจากครูสมชาย แล้วต่อสายไปยังครูสมบัติโดยตรง การต่อแบบนี้ทำให้ใช้โทรศัพท์ จากห้องหนึ่งไปอีกห้องหนึ่งได้มากกว่า 1 สาย



เราท์เตอร์ (Router)


เปรียบเทียบระหว่างฮับ และสวิตช์แล้ว เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ฉลาดกว่า เราเตอร์ใช้เพื่อ การส่งต่อข้อมูลที่จุดหมายซับซ้อนกว่ามาก โดยตัดสินใจส่งต่อข้อมูลจาก "ตารางสำหรับการเราต์" อุปกรณ์เราเตอร์ จะทำให้การส่งต่อข้อมูลไปตามเส้นทาง ที่มีประสิทธิภาพที่สุด ไม่ว่าจะส่งต่อจากเราเตอร์ ไปยังเครื่องต่างๆ หรือส่งจากเราเตอร์ ไปยังเราเตอร์อีกตัว และถ้าการเชื่อมระหว่างเราเตอร์ 2 ตัวที่จะส่งไปขาด มันยังสามารถตัดสินใจ เปลี่ยนเส้นทางที่เหมาะสมเอง ได้อีกด้วย เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่น และไม่ขาดตอน


เราเตอร์อาจใช้เพื่อเชื่อมเข้ากับ ระบบเครือข่ายอื่นๆ ที่มีวิธีในการรับส่งข้อมูล ที่ต่างไปจากระบบเครือข่ายที่เราใช้งานอยู่ได้ โดยแต่ละระบบเครือข่าย อาจพูดต่างภาษากัน หรือในศัพท์ทางคอมพิวเตอร์คือ แต่ละระบบเครือข่ายใช่ต่าง "โพรโตคอล (Protocol)" ตัวอย่างของโพรโตคอล เช่น อินเทอร์เน็ตโพรโตคอล (ไอพี), อินเทอร์เน็ตแพ็กเก็ตเอ็กซ์เชนจ์ (ไอพีเอ็กซ์) หรือแอปเปิลทอล์ก นอกจากนั้น เราเตอร์ยังไม่ใช่ เพียงสามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายต่างๆ ในอาคารไว้ด้วยกันเท่านั้น แต่มีจุดเชื่อมต่อไปยังภายนอก (หรือเรียกว่า ซ็อกเก็ต (Socket) เชื่อมออกไปสู่บริการแบบ ระบบเครือข่ายพื้นที่กว้าง (Wide area Network-WAN) ได้อีกด้วย บริการแวนจะทำให้คุณสามารถ ติดต่อสื่อสารกระจายออกไปสู่ระบบเครือข่ายอื่นๆ ทั่วโลกได้



เพื่อเข้าใจความหมายการทำงานของเราเตอร์ (เรียกว่า เราติง) ให้เปรียบไปถึงโรงเรียน A และโรงเรียนอื่นๆ ทั้งหมดที่ได้ฝึกโอเปอเรเตอร์ ให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อครูที่ชื่อสมชายโทรศัพท์จากโรงเรียน A โทรไปครูชื่อสมบัติที่สอนอยู่อีกโรงเรียนที่ชื่อ B โอเปอเรเตอร์ที่โรงเรียน A จะรู้ทันทีว่าจะต้องต่อสายไปอย่างไรถึงดีที่สุด โดยต่อสายไปยังโอเปอเรเตอร์ชื่อสมศรีที่ทำงานอยู่ที่โรงเรียน B เพื่อให้สมศรีโอนสายไปครูสมบัติ และหากเกิดปัญหาในการต่อสายไปยังสมศรี โอเปอเรเตอร์ที่โรงเรียน A จะสามารถเลือกเส้นทางอื่น เช่น ต่อไปยังโอเปอเรเตอร์คนอื่นที่ประจำอยู่ที่โรงเรียน B เพื่อให้การติดต่อครั้งนี้สำเร็จ




เกตเวย์ (Gateway)


เป็นอุปกรณ์ที่ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่า ที่มีลักษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อกันได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน เปรียบเสมือนเป็นประตูทางผ่านในการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน เช่น ระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไปกับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรม ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นต้น อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็น Gateway นั้นอาจจะใช้คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งทำหน้าที่ก็ได้





แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร


Create Date : 10 มิถุนายน 2552
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 10:22:13 น. 117 comments
Counter : 24390 Pageviews.

 
Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
ที่มา//www.vcharkarn.com/vcafe/11035


โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:14:28:50 น.  

 
Router ค่อยทำหน้าที่ routing และ สามารถแยกวงแลนได้ด้วยคับ

ฺส่วน Bridge หมายถึง สะพานคับ มันจะทำหน้าที่เชื่อมวงแลน 2 วงเป็นวงเดียวกันคับ

gateway หมายถึงประตูทางออกไปสู่โลกภายนอกคับ (internet)

ส่วนใหญ่สมัยนนี้ gateway กับ router จะทำมาในอุปกรณ์ชุดเดียวกันเลย เรียก gateway router

สมัยนี้ถ้าจะหาชื้อ gateway กับ router เดียวๆละก็หายากคับ

Switch Layer 3 มันจะมองในระดับ IP address และ MAC Address (L 2) และยังทำหน้าที่เป็น Routing ได้ด้วย

Switch Layer 2 มันจะมองในระบบ MAC Address อย่างเดียวเท่านั้น


ที่มา //www.thaiadmin.org/board/index.php?topic=56094.new


โดย: นางสาววิภาวี พลวี (หมู่ 08 พฤ เช้า ) IP: 125.26.168.206 วันที่: 17 มิถุนายน 2552 เวลา:20:47:41 น.  

 
4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


โดย: น.ส. วริศรา ทิมแดง (ม.08 พฤ. เช้า ) IP: 172.29.85.2, 58.137.131.62 วันที่: 1 กรกฎาคม 2552 เวลา:10:12:56 น.  

 
ฮับ (Hub). เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน. | คอมพิวเตอร์ | เซอร์เวอร์ | ฮับ | บริดจ์ | เราท์เตอร์ ...
www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายประเภทเดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มีใช้มานานแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่าย การติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันมีลักษณะการส่ง ข้อมูลแบบกระจาย (Broadcasting) ดังนั้น จึงกระจายได้เฉพาะเครือข่ายเดียวกันเท่านั้น การรับส่งภายในเครือข่ายมีข้อกำหนดให้แพ็กเก็ตที่ส่งกระจายไปยังตัวรับได้ทุกตัว แต่ถ้ามีการส่งมาที่แอดเดรสต่างเครือข่าย บริดจ์จะนำข้อมูลเฉพาะแพ็กเก็ตนั้นส่งให้ บริดจ์จึงเป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูล ระหว่างเครือข่ายให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย ของตน ไม่ปะปนไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง เพื่อลดปัญหาปริมาณข้อมูลกระจายในสายสื่อสารมากเกินไป ในระยะหลังมีผู้พัฒนาบริดจ์ให้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างชนิดกันได้ เช่น อีเทอร์เน็ตกับโทเก็นริง เป็นต้น หากมีการเชื่อมต่อเครือข่ายมากกว่าสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเครือข่ายที่เชื่อมมีลักษณะหลากหลาย ซึ่งเป็นทั้งเครือข่ายแบบ LAN และ WAN อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงคือ เราเตอร์ (Router)
//www.ku.ac.th/magazine_online/bridge.html
เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อ//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm

เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น //www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/gateway.htm







โดย: นางสาวเบญจมาศ โคตรเพชร (หมู่08 พฤหัสเช้า) IP: 172.29.9.61, 202.29.5.62 วันที่: 2 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:36:33 น.  

 
4.1

H U B หรือ Repeater
อุปกรณ์ทีใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการกระจายสัญญาณ หรือข้อมูล จะต้องใช้ไฟหล่อเลี้ยงในการทำงาน โดยปกติการเลือก Hub จะดูที่จำนวน Port ที่ต้องการ เช่น 8 ports, 12 ports, 24 ports รวมทั้ง 48 ports เป็นต้น จำนวน port หมายถึง จำนวนในการเชื่อมคอมพิวเตอร์แต่ละตัวเข้าด้วยกัน ดังนั้น Hub 24 ports หมายถึง สามารถเชื่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่าย เข้าด้วยกัน จำนวน 24 เครื่อง
Network Interface Card (NIC)
บางคนอาจเรียกสั้น ๆ ว่า LAN Card หมายถึง Card ที่จะติดตั้งภายในเครื่อง PC ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็ก เท่ากับ VGA Card หรือ Sound Card สำหรับ Lan Card ยังแบ่งออกได้หลายประเภท ทั้งนี้ขึ้นกับความเร็วที่ต้องการ เช่น 10 Mbps, 10/100 Mbps, 100 Mpbs เป็นต้น
Network Cable
สายสัญญาณที่มีลักษณะคล้ายสายโทรศัพท์ ที่นิยมใช้มีดังนี้ UTB, STB ซึ่งการเลือกสายแต่ละประเภทนี้จะขึ้นกับการนำไปใช้ เช่น ติดตั้งภายใน ภายนอก หรือระยะทางไกลแค่ไหน เป็นต้น (UTP สามารถติดตั้งได้ในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร)

นอกจากอุปกรณ์พื้นฐานข้างต้นแล้ว ยังมีอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายอื่นๆ อีกที่น่าสนใจดังนี้
Switch หรือ Bridge
เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยจะต้องเป็นประเภทเดียวกันและโปรโตคอลเหมือนกันเท่านั้น ความสามารถที่ต่างจาก Hub คือสามารถตรวจสอบความผิดพลาดได้ด้วย ส่วนวิธีการติดตั้งจะไม่แตกต่างจาก Hub
Router
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกัน คล้ายกับ Switch แต่ Router สามารถเชื่อมต่อโปรโตคอลเหมือนกัน แต่ media ต่างกัน (หมายถึง ระบบสายเคเบิลต่างกัน)
Gateway
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยใช้โปรโตคอลต่างกัน รวมทั้งการใช้ media ต่างกัน โดยจะทำหน้าที่แปลงโปรโตคอลให้ตรงกับปลายทาง อุปกรณ์ Gateway เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาแพงและติดตั้งค่อนข้างยาก

ที่มา //www.easyzonecorp.net/network/view.php?ID=146


โดย: นางสาวเจนจิรา จุตตะโน หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) รหัส 52040302126 IP: 1.1.1.176, 58.137.131.62 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:21:07:27 น.  

 
ข้อ 1 ฮับ (Hub)


เป็นอุปกรณ์ที่มี Repeater หลายๆ ตัวอยู่ในตัวอุปกรณ์เดียวกัน โดยสัญญาณที่เข้าจาก Port หนึ่ง จะถูกปรับปรุงคุณภาพก่อน แล้วส่งออกไปให้ Port ที่เหลือทั้งหมดแบบ Broadcast
Bridge


จะทำงานอยู่ในระดับ Datalink Layer ของ OSI
วิธีการทำงานคล้าย Repeaters แต่จะดีกว่า คือจะมี
การแบ่ง Segment

เป็นอุปกรณ์ใช้เชื่อมต่อวง LAN 2 วงเข้าด้วยกัน
เป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟ์ตแวร์
Router


- ทำงานอยู่ใน Network Layer ของ OSI

- สามารถเลือกหาเส้นทางที่ดีได้/ แต่ไม่ได้แบ่งตายตัว

- ทำงานเสมือนเป็นคอมพิวเตอร์ 1 ตัว ที่มี Mainboard / CPU/RAM/ROM

- เชื่อมต่อเครือข่ายที่มีโปรโตคอลต่างกันได้

- อาจเป็นซอร์ฟแวร์หรือฮาร์ดแวร์ก็ได้

เกตเวย์ (Gateway)


ใช้เชื่อมต่อ LAN ที่ต่างโปรโตคอล , ต่าง Media กันได้
ใช้เชื่อมต่อ LAN ที่ต่างสถาปัตยกรรมกันได้
จะใช้ Routing Table และมักมีฟังก์ชั่น Firewall ด้วย
ราคาแพง การติดตั้งยุ่งยากและซับซ้อนมาก
ปกติมักเป็น Software ที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์

ที่มา //74.125.153.132/search?q=cache:FcFy6jMoS-AJ:st.mengrai.ac.th/users/network/text1.ppt+hub+bridge+router+gateway+%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3&cd=5&hl=th&ct=clnk&gl=th







โดย: นางสาว ปาริสา แคนหนอง 52040332140 หมู่ 15 ศุกร์ (เช้า) IP: 125.26.237.81 วันที่: 6 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:58:04 น.  

 
ข้อ 1Hub


ใช้สำหรับสร้างและขยายระบบเครือข่าย ภายใต้สถาปัตยกรรมแบบดาว Star Topology เช่น มาตรฐาน 100BaseT


*** Hub ใช้สำหรับขยายระบบเครือข่าย LAN

ไม่สามารถใช้ขยายเครือข่าย LAN ให้เป็น WAN ได้
Repeater





เนื่องจากสัญญาณในสายเคเบิลจะอ่อนลงและถูกทำลาย เพราะเกิดการลดทอนสัญญาณ (Attenuation) Repeater จึงใช้ในการทวนสัญญาณและทำการส่งสัญญาณออกไปใหม่

*** ทำงานใน Physical Layer

การทำงานของ Bridge

ทำการกรองข้อมูลและแยก Traffic
ทำการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายเข้าหากัน
Routing Table ของ Bridge จะเก็บข้อมูล MAC Sublayer Address ของแต่ละ เครื่อง (Node) ไว้
Router





Router ทำงานใน Network Layer สามารถเชื่อมโยงได้หลาย Segment
Routing Table ของ Router จะทำการเก็บข้อมูล Network Number เพื่อใช้ในการหาเส้นทางการส่งข้อมูลไปยังปลายทาง


Gateway





ทำงานโดยรับข้อมูลจากสภาพแวดล้อมหนึ่ง แล้วเปลี่ยนแปลง protocol ให้สามารถเข้าใจได้โดยเครื่องปลายทาง

โดยปกติ Gateway คือเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งที่ ทำหน้าที่ในการแปลงข้อมูลในระดับของ Protocol โดยส่วนมากจะทำงานที่ระดับ Application Layer

ที่มา//74.125.153.132/search?q=cache:-uED2lLXo1EJ:www.thaiwebtech.com/kitisak/NetworkEquipment.ppt+hub+bridge+router+gateway+%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3&cd=8&hl=th&ct=clnk&gl=th


โดย: นางสาว อนุสรา แคนหนอง 52040332139 หมู่เรียน 15 ศุกร์ เช้า IP: 125.26.237.81 วันที่: 7 กรกฎาคม 2552 เวลา:0:03:33 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

HUBเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
ที่มา
//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm


BRIDGE เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/bridge.htm

ROUTER เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm


GATEWAY เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น
//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/gateway.htm






โดย: นางสาวเกศรินทร์ ไชยปัญญา หมู่08 พฤหัส เช้า IP: 172.29.16.27, 58.137.131.62 วันที่: 9 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:17:34 น.  

 
น่าเบื่อ


โดย: ม่อน IP: 118.172.164.166 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:20:35 น.  

 
เเม้งโคตรเซง


โดย: ม่อน IP: 118.172.164.166 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:24:44 น.  

 
สังเเฟนโบ


โดย: ม่อน IP: 118.172.164.166 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:25:43 น.  

 
Hybrid HUB คืออะไร?
Hybrid HUB คืออุปกรณ์อิเล็คโทรนิคอัจฉริยะ จากเทคโนโลยีชั้นสูง ที่จะช่วยให้องค์กร หรือสำนัก งานของท่าน ลดค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียไปกับค่าโทรศัพท์ในแต่ละเดือน ซึ่งสามารถลดค่าโทรศัพท์ได้ทุก รูปแบบการใช้งานในแต่ละเดือน (เห็นผลถึงความประหยัดทันทีตั้งแต่เดือนแรกที่ติดตั้ง)
1. ช่วยลดค่าโทรศัพท์ จากการโทรติดต่อกับโทรศัพท์มือถือ ได้มากถึง 60% - 100%
2. ช่วยลดค่าโทรศัพท์ จากการโทรติดต่อทางไกลต่างจังหวัด ได้มากถึง 60% – 100%
3. ช่วยลดค่าโทรศัพท์ จากการโทรติดต่อทางไกลระหว่างประเทศ ได้มากถึง 40% – 80%
4. ช่วยลดค่าโทรศัพท์ จากการโทรติดต่อกับเบอร์ในพื้นที่เดียวกัน(Local) ได้มากถึง 60% - 100%
นอกจากนี้ เรายังมีอุปกรณ์เสริมที่จะช่วยให้ลดค่าส่งโทรสาร(Fax)ด้วยเช่นกัน และที่สำคัญพนัก งานในองค์หรือสำนักงานของท่าน ไม่ต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการโทรใดใดทั้งสิ้น จึงเป็นที่สนใจ ของบริษัทชั้นนำมากมายที่ต้องการจะลดค่าใช้จ่ายสำหรับองค์กร ทดแทนการตัดงบประมาณในส่วน อื่นๆ
//www.hybridhubmobile.com/index.php?option=com_content&view=article&id=2&Itemid=8

บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายประเภทเดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มีใช้มานานแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่าย การติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันมีลักษณะการส่ง ข้อมูลแบบกระจาย (Broadcasting) ดังนั้น จึงกระจายได้เฉพาะเครือข่ายเดียวกันเท่านั้น การรับส่งภายในเครือข่ายมีข้อกำหนดให้แพ็กเก็ตที่ส่งกระจายไปยังตัวรับได้ทุกตัว แต่ถ้ามีการส่งมาที่แอดเดรสต่างเครือข่าย บริดจ์จะนำข้อมูลเฉพาะแพ็กเก็ตนั้นส่งให้ บริดจ์จึงเป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูล ระหว่างเครือข่ายให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย ของตน ไม่ปะปนไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง เพื่อลดปัญหาปริมาณข้อมูลกระจายในสายสื่อสารมากเกินไป ในระยะหลังมีผู้พัฒนาบริดจ์ให้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างชนิดกันได้ เช่น อีเทอร์เน็ตกับโทเก็นริง เป็นต้น หากมีการเชื่อมต่อเครือข่ายมากกว่าสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเครือข่ายที่เชื่อมมีลักษณะหลากหลาย ซึ่งเป็นทั้งเครือข่ายแบบ LAN และ WAN อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงคือ เราเตอร์ (Router)




เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์จะรับข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตเข้ามาตรวจสอบแอดเดรสปลายทาง จากนั้นนำมาเปรียบเทียบกับตารางเส้นทางที่ได้รับการโปรแกรมไว้ เพื่อหาเส้นทางที่ส่งต่อ หากเส้นทาง ที่ส่งมาจากอีเทอร์เน็ต และส่งต่อออกช่องทางของ Port WAN ที่เป็นแบบจุดไปจุด ก็จะมีการปรับปรุงรูปแบบสัญญาณให้เข้ากับมาตรฐานใหม่ เพื่อส่งไปยังเครือข่าย WAN ได้

ปัจจุบันอุปกรณ์เราเตอร์ได้รับการพัฒนาไปมากทำให้การใช้งานเราเตอร์มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อเชื่อมอุปกรณ์เราเตอร์หลาย ๆ ตัวเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ เราเตอร์สามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการหาเส้นทางเดินที่สั้นที่สุด เลือกตามความเหมาะสมและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเองได้

เมื่อเทคโนโลยีทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ได้รับการพัฒนาให้มีขีดความสามารถในการทำงานได้เร็วขึ้น จึงมีผู้พัฒนาอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่คัดแยกแพ็กเก็ต หรือเรียกว่า "สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล" (Data Switched Packet) โดยลดระยะเวลาการตรวจสอบแอดเดรสลงไป การคัดแยกจะกระทำในระดับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ เชิงความเร็วและความแม่นยำสูงสุด อุปกรณ์สวิตช์ข้อมูลจึงมีเวลาหน่วงภายในตัวสวิตช์ต่ำมาก จึงสามารถนำมาประยุกต์กับงานที่ต้องการเวลาจริง เช่น การส่งสัญญาณเสียง วิดีโอ ได้ดี
สวิตช์ (Switch)

อุปกรณ์สวิตช์มีหลายแบบ หากแบ่งกลุ่มข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตเล็ก ๆ และเรียกใหม่ว่า "เซล" (Cell) กลายเป็น "เซลสวิตช์" (Cell Switch) หรือที่รู้จักกันในนาม "เอทีเอ็มสวิตช์" (ATM Switch) ถ้าสวิตช์ข้อมูลในระดับเฟรมของอีเทอร์เน็ต ก็เรียกว่า "อีเทอร์เน็ตสวิตช์" (Ethernet Switch) และถ้าสวิตช์ตามมาตรฐานเฟรมข้อมูลที่เป็นกลาง และ สามารถนำข้อมูลอื่นมาประกอบภายในได้ก็เรียกว่า "เฟรมรีเลย์" (Frame Relay)

อุปกรณ์สวิตชิ่งจึงเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ และมีแนวโน้มที่จะพัฒนาให้ใช้กับความเร็วของการรับส่งข้อมูลจำนวนมาก เช่น เฟรมรีเลย์ (Frame Relay) และเอทีเอ็ม สวิตช์ (ATM Switch) สามารถสวิตช์ข้อมูลขนาดหลายร้อยล้านบิตต่อวินาทีได้ เทคโนโลยีนี้จึงเป็นเทคโนโลยีที่กำลังได้รับความนิยม
การออกแบบและจัดรูปแบบเครือข่ายองค์กรที่เป็น "อินทราเน็ต" ซึ่งเชื่อมโยงได้ทั้งระบบ LAN และ WAN จึงต้องอาศัยอุปกรณ์เชื่อมโยงต่าง ๆ เหล่านี้ อุปกรณ์เชื่อมโยง ทั้งหมดนี้รองรับมาตรฐานการเชื่อมต่อได้หลากหลายรูปแบบ เช่น จากเครือข่ายพื้นฐานเป็นอีเทอร์เน็ต ก็สามารถเชื่อมเข้าสู่ ATM Switch, Frame Relay, or Bridge, Router ได้ ทำให้ขนาดของเครือข่ายมีขนาดใหญ่ขึ้น
//www.ku.ac.th/magazine_online/bridge.html
gateway
Gateway เป็นจุดต่อเชื่อมของเครือข่ายทำหน้าที่เป็นทางเข้าสู่ระบบเครือข่ายต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต ในความหมายของ router ระบบเครือข่ายประกอบด้วย node ของ gateway และ node ของ host เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ในเครือข่าย และคอมพิวเตอร์ที่เครื่องแม่ข่ายมีฐานะเป็น node แบบ host ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ควบคุมการจราจรภายในเครือข่าย หรือผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต คือ node แบบ gateway

ในระบบเครือข่ายของหน่วยธุรกิจ เครื่องแม่ข่ายที่เป็น node แบบ gateway มักจะทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายแบบ proxy และเครื่องแม่ข่ายแบบ firewall นอกจากนี้ gateway ยังรวมถึง router และ switch

//www.widebase.net/knowledge/itterm/it_term_desc.php?term_id=gateway


โดย: นางสาวอรนิดา วรินทรา ม. 15 ศ.เช้า IP: 192.168.1.103, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:20:10 น.  

 
Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
ที่มา//www.vcharkarn.com/vcafe/11035
Router ค่อยทำหน้าที่ routing และ สามารถแยกวงแลนได้ด้วยคับ

ฺส่วน Bridge หมายถึง สะพานคับ มันจะทำหน้าที่เชื่อมวงแลน 2 วงเป็นวงเดียวกันคับ

gateway หมายถึงประตูทางออกไปสู่โลกภายนอกคับ (internet)

ส่วนใหญ่สมัยนนี้ gateway กับ router จะทำมาในอุปกรณ์ชุดเดียวกันเลย เรียก gateway router

สมัยนี้ถ้าจะหาชื้อ gateway กับ router เดียวๆละก็หายากคับ

Switch Layer 3 มันจะมองในระดับ IP address และ MAC Address (L 2) และยังทำหน้าที่เป็น Routing ได้ด้วย

Switch Layer 2 มันจะมองในระบบ MAC Address อย่างเดียวเท่านั้น


ที่มา //www.thaiadmin.org/board/index.php?topic=56094.new





โดย: นางสาววิภายี กลางหล้า ม. 15 ศุกร์เช้า IP: 192.168.1.102, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:34:22 น.  

 
Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
ที่มา//www.vcharkarn.com/vcafe/11035


โดย: นางสาว ธัญธิตา แก้วมีศรี ม. 15 ศุกร์เช้า 52041151239 IP: 192.168.1.104, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:43:09 น.  

 
4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


โดย: นส.บลสิการ ดอนโสภา หมู่15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151217 IP: 192.168.1.115, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:43:56 น.  

 
5.1. จงอธิบายลักษณะหรือคุณสมบัติของระบบเครือข่ายทั้ง 3 แบบ

1.เครือข่ายท้องถิ่น ( LAN)
เครือข่ายแลน หรือเครือข่ายท้องถิ่น เป็นเครือข่ายขนาดเล็ก ใช้กันอยู่ในบริเวณไม่กว้าง ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องที่บริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก เครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็น เครือข่ายเฉพาะขององค์การ การสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์การสามารถดำเนินการทำเองได้ โดยวางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคาร หรือภายในพื้นที่ของตนเอง เครือข่ายแลนมีตั้งแต่
เครือข่ายขนาดเล็ก ที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป ภายในห้องเดียวกัน จนถึงเชื่อมโยงระหว่างห้อง หรือองค์การขนาดใหญ่ เช่น มหาวิทยาลัย

2.เครือข่ายระดับเมือง (MAN)
เป็นเครือข่ายที่ใช้ภายในเมือง หรือภายในจังหวัด เป็นระบบที่มีขนาดกลางอยู่ระหว่าง เครือข่ายแลน กับ เครือข่าย แวน

3.เครือข่ายระดับประเทศ (WAN)
เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะห่างไกล เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ มีการติดต่อต่อสื่อสารกันในบริเวณกว้าง เช่น เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ การสร้างเครือข่ายระยะไกลจึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ เช่น การสื่อสารแห่ง ประเทศไทย ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้ บริการแบบสาธารณะ เครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่ายที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกล และต้องการเชื่อมสาขา เหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร มีสาขาทั่วประเทศ มีบริการรับฝากและถอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม

ที่มา
//www.nonhanwit.com/elearning/internet/text/p011.html


โดย: นส.บลสิการ ดอนโสภา หมู่15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151217 IP: 192.168.1.115, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:45:18 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบข้อ4.1
- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238




โดย: นายบดินทร์ แก้วมีศรี หมู่01 (พิเศษ) 52240210214 สาธารณสุขศาตร์ IP: 119.42.83.148 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:20:55:04 น.  

 




โดย: ดัน IP: 118.172.170.173 วันที่: 14 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:09:03 น.  

 
แรน
เป็นหัวหน้าอย่าเกินหน้าเกินตา


โดย: ดัน IP: 118.172.170.173 วันที่: 14 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:11:14 น.  

 
ดกพด้เ


โดย: แรน IP: 118.172.170.173 วันที่: 14 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:13:14 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

ตอบข้อ4.1
- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238







โดย: นางสาวสุทธิดา ยาโย หมู่ 01(พิเศษ) 52240210217 สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:58:17 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238



โดย: โดยน.ส อังคณา สุทธิแพทย์52240210209หมู่01(พิเศษ)พฤ.ค่ำสาขา สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:42:48 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
=เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238



โดย: นางสาว อุไรวรรณ หาญศึก หมู1 (พิเศษ)พฤ. ค่ำ IP: 124.157.145.152 วันที่: 16 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:56:23 น.  

 
ฮับ (Hub)

เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน


ระบบสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์




บริดจ์ เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น .


Bridge

บริดจ์มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่
เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่


//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/bridge.htm


ระบบสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์



เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ


//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm


ระบบสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์



เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น


//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/gateway.htm



โดย: นางสาวอรธิรา บัวลา หมู่ 29 พุธเช้า รหัส 52040501332 IP: 124.157.145.197 วันที่: 22 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:09:02 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

ตอบ
Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
//www.chakkham.ac.th/technology/network/equ.html


โดย: นางสาวมาริษา ดวงกุลสา รหัส 52040305128 หมู่ 8 เรียนเช้าวันพฤหัสบดี IP: 1.1.1.102, 58.137.131.62 วันที่: 22 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:19:54 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
HUBเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
ที่มา
//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm


BRIDGE เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/bridge.htm

ROUTER เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm





นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1


โดย: นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1 IP: 124.157.146.74 วันที่: 23 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:37:26 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

-HUBเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
ที่มา
//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm


BRIDGE เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/bridge.htm

ROUTER เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm


โดย: นายอดิศักดิ์ รักวิชา ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427132 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:7:05:25 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

-HUBเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
ที่มา
//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm


BRIDGE เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/bridge.htm

ROUTER เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm


โดย: นายนิรัช วิจิตรกุล ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427117 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:7:06:05 น.  

 
Gateway เป็นจุดต่อเชื่อมของเครือข่ายทำหน้าที่เป็นทางเข้าสู่ระบบเครือข่ายต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต ในความหมายของ router ระบบเครือข่ายประกอบด้วย node ของ gateway และ node ของ host เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ในเครือข่าย และคอมพิวเตอร์ที่เครื่องแม่ข่ายมีฐานะเป็น node แบบ host ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ควบคุมการจราจรภายในเครือข่าย หรือผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต คือ node แบบ gateway




BRIDGE เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ




Hub
ใช้ในการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นระบบเครือข่ายเดียวกัน Bandwidth 10/100/1000 Mbps
แต่ละพอร์ตใช้งานร่วมกัน(เชื่อมกันหมด)

Router
ใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายที่มีการเชื่อมต่อภายในแตกต่างกัน หรือเชื่อมระหว่าง LAN และ WAN



//th.answers.yahoo.com/question/index?qid=20070730043420AAXil14


โดย: นางสาวปวีณา บรรยงค์ รหัส 50040302112 เรียนบ่าย - จันทร์ หมู่ 1 IP: 115.67.50.91 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:0:03:32 น.  

 
ตอบแบบทดสอบที่ 4 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย

ข้อที่ 1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ
ความแตกต่างระหว่างฮับและเราท์เตอร์
อุปกรณ์ฮับ (Hub) จะถูกใช้สำหรับการเชื่อโยงคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง ให้ทำงานร่วมกันเป็นเครือข่าย โดยสายเคเบิลที่เชื่อมต่อจากคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต่อกลับเข้ามาที่ตัวฮับ ซึ่งทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายสามารถแชร์ไฟล์ และเครื่องพิมพ์ ได้เป็นต้น

ส่วนอุปกรณ์ที่เรียกว่า Router จะถูกนำไปใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่ง (เช่นที่บ้านของคุณ) เข้ากับอีกเครือข่ายหนึ่ง (อินเตอร์เน็ต) ในกรณีนี้แนะนำให้ใช้อุปกรณ์เราเตอร์ที่มาพร้อมกับฮับในตัว เพราะมันจะช่วยให้คุณสามารถใช้ฮับเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในบ้านได้ และเราเตอร์สำหรับเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั่นเอง
(Bridge)
จะทำหน้าที่เหมือน Repeater ที่สามารถทำการเชื่อมต่อ Segment หรือเครือข่ายแบบ Workgroup ใช้เชื่อมต่อระบบเครือข่าย 2 กลุ่มเข้าด้วยกัน อย่างไรก็ตาม Bridge สามารถใช้ในการแยกระบบเครือข่าย และแก้ปัญหาสัญญาณในระบบได้ ตัวอย่างเช่น ถ้ามีเครื่องใด หรือกลุ่มคอมพิวเตอร์ใดที่มีการส่งข้อมูลออกมาเป็นปริมาณมาก จนเป็นผลให้ความเร็วของระบบลดลง การเลือกใช้ Bridge สามารถที่จะทำการแยกเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น หรือกลุ่มของคอมพิวเตอร์ที่มีปัญหาออกจากระบบโดยรวมได้
Gateway ช่วยให้เครือข่ายมีความแตกต่างกันในด้านโครงสร้างและสภาพแวดล้อม สามารถทำการติดต่อสื่อสารกันได้ โดยการแปลงลักษณะของข้อมูล Packet จากรูปแบบหนึ่งไปสู่อีกรูปแบบหนึ่ง ทำให้สามารถทำการติดต่อสื่อสารกันได้ การแปลงลักษณะของ Packet นั้นจะเป็นการแปลงให้สามารถใช้งานกับระบบเครือข่ายปลายทางได้ จากความสามารถนี้ทำให้ Gateway ทำหน้าที่ในด่านสุดท้ายในการส่งข้อมูล ตัวอย่างเช่น Electronic Mail Gateway เช่น x.400 Gateway จะทำการรับข้อมูลในรูปแบบหนึ่ง และทำการแปลงก่อนที่จะทำการส่งออกไป รับข้อมูลในรูปแบบของ x.400 ที่ปลายทางเข้าใจได้ และกระทำเช่นเดียวกันในขั้นตอนการรับข้อมูล
Gateway จะทำการเชื่อมต่อระบบที่มีความแตกต่างในด้าน
- Protocol ที่ใช้ในการสื่อสาร
- โครงสร้างข้อมูลที่ต่างกัน
- ภาษาที่ต่างกัน
- โครงสร้างที่ต่างกัน
Gateway จะทำการเชื่อมระบบเครือข่ายต่างชนิดกัน เช่น สามารถเชื่อมเครือข่ายของ Microsoft Windows NT Server ไปยังเครือข่ายของ IBM ที่เรียกว่า System Network Architeture (SNA) ได้โดย Gateway จะทำการเปลี่ยนรูปแบบของข้อมูลจากรูปแบบที่เป็นอยู่ ให้เป็นรูปแบบเดียวกับเครือข่ายปลายทาง

ที่มา
https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=numpuang&date=10-06-2009&group=10&gblog=13
//www.cptd.chandra.ac.th/rawin/chap6.doc


โดย: นางสาวจิลวรรณ ปัดถาวะโร รหัส 52040281130 ม. 08 ( พฤ.เช้า ) IP: 124.157.148.182 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:01:27 น.  

 
Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
ที่มา//www.vcharkarn.com/vcafe/11035



โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:14:28:50 น.







Router ค่อยทำหน้าที่ routing และ สามารถแยกวงแลนได้ด้วยคับ

ฺส่วน Bridge หมายถึง สะพานคับ มันจะทำหน้าที่เชื่อมวงแลน 2 วงเป็นวงเดียวกันคับ

gateway หมายถึงประตูทางออกไปสู่โลกภายนอกคับ (internet)

ส่วนใหญ่สมัยนนี้ gateway กับ router จะทำมาในอุปกรณ์ชุดเดียวกันเลย เรียก gateway router

สมัยนี้ถ้าจะหาชื้อ gateway กับ router เดียวๆละก็หายากคับ

Switch Layer 3 มันจะมองในระดับ IP address และ MAC Address (L 2) และยังทำหน้าที่เป็น Routing ได้ด้วย

Switch Layer 2 มันจะมองในระบบ MAC Address อย่างเดียวเท่านั้น


ที่มา

//surasak009.blogspot.com/



โดย: นางสาววิภาดา นาสิห์ขันธ์ (หฤ เช้า หมู่ 8) IP: 125.26.243.111 วันที่: 26 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:56:59 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

ตอบ
ฮับ (hub)ทำหน้าที่เป็นตัวกลางสำหรับการเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ายอื่นๆ
Bridge

Bridge เป็นสิ่งที่ใช้แก้ไขปัญหาในเรื่องสัญญาณที่วิ่งอยู่ในเครือข่ายมากเกินไปได้โดยจะจัดแบ่งเครือข่ายออกเป็นเครือข่ายย่อยหรือ Network Segment และจะทำการกลั่นกรองสัญญาณเท่าที่จำเป็นเพื่อส่งให้กับเครือข่ายย่อยที่ถูกต้องได้ ทำให้สัญญาณไม่มารบกวนกันหรือมีสัญญาณที่ไม่เกี่ยวข้องมาในเครือข่ายย่อย โดยไม่จำเป็น แต่ในทางกลับกัน ถ้ามีความจำเป็นต้องการสื่อสารกันข้ามเครือข่ายเป็นจำนวนมากแล้ว อุปกรณ์ Bridge ก็อาจกลายเป็นเสมือนคอขวดที่ทำให้เครือ่ข่าย มีการทำงานช้าลงได้
Router

Router เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่า Bridge โดยทำงานเสมือนเครื่อง Node หนึ่งใน Lan ซึ่งทำหน้าที่รับข้อมูลแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง โดยอาจส่งในรูปของ Packet ที่ ต่างออกไป เพื่อให้ผ่านสายสัญญาณแบบอื่น ๆ เช่น สายโทรศัพท์ที่ต่อผ่านโมเด็มก็ได้ ดังนั้นจึงอาจใช้ Routerr ในการเชื่อมต่อ Lan หลายแบบเข้า ด้วยกันผ่าน Wan ได้ด้วย และเนื่องจากการที่มันทำตัวเสมือนเป็น Node หนึ่งใน Lan นี้ยังทำให้มันสามารถทำงานแบบอื่น ๆ ได้อีกมาก เช่น รวบรวมข้อมูลเพื่อ หาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งข้อมูลต่อหรือตรวจสอบว่าข้อมูลที่เข้ามานั้นมาจากไหนควรจะให้ผ่านหรือไม่ เพื่อช่วยในการรักษาความปลอดภัย
ที่มา
www.dld.go.th/ict/article/hard/hw04.html


Default Gateway คือ ทางหลักในการสื่อสารกับ PC ที่อยู่ subnet อื่น โดยส่วนใหญ่แล้วจะหมายถึง PC ที่ทำหน้าที่ DHCP Server ( แจก IP ) เมื่อมีข้อมูลที่ต้องส่งออกไป subnet อื่น ข้อมูลก็จะวิ่งผ่าน Default Gatewayจ้า

ที่มา
//guru.google.co.th/guru/thread?tid=2d896b64566fdb02


โดย: น.ส.ชฎาพร โสภาคำ ชีววิทยา(จุลชีววิทยา)ม.08พฤ(เช้า) 52040281117 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 27 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:35:12 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกัน

Hybrid HUB คือ
Hybrid HUB คืออุปกรณ์อิเล็คโทรนิคอัจฉริยะ จากเทคโนโลยีชั้นสูง ที่จะช่วยให้องค์กร หรือสำนัก งานของท่าน ลดค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียไปกับค่าโทรศัพท์ในแต่ละเดือน ซึ่งสามารถลดค่าโทรศัพท์ได้ทุก รูปแบบการใช้งานในแต่ละเดือน (เห็นผลถึงความประหยัดทันทีตั้งแต่เดือนแรกที่ติดตั้ง)
1. ช่วยลดค่าโทรศัพท์ จากการโทรติดต่อกับโทรศัพท์มือถือ ได้มากถึง 60% - 100%
2. ช่วยลดค่าโทรศัพท์ จากการโทรติดต่อทางไกลต่างจังหวัด ได้มากถึง 60% – 100%
3. ช่วยลดค่าโทรศัพท์ จากการโทรติดต่อทางไกลระหว่างประเทศ ได้มากถึง 40% – 80%
4. ช่วยลดค่าโทรศัพท์ จากการโทรติดต่อกับเบอร์ในพื้นที่เดียวกัน(Local) ได้มากถึง 60% - 100%
นอกจากนี้ เรายังมีอุปกรณ์เสริมที่จะช่วยให้ลดค่าส่งโทรสาร(Fax)ด้วยเช่นกัน และที่สำคัญพนัก งานในองค์หรือสำนักงานของท่าน ไม่ต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการโทรใดใดทั้งสิ้น จึงเป็นที่สนใจ ของบริษัทชั้นนำมากมายที่ต้องการจะลดค่าใช้จ่ายสำหรับองค์กร ทดแทนการตัดงบประมาณในส่วน อื่นๆ

BRIDGE คือ
BRIDGE เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น

เราเตอร์ (Router)
เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

Router คือ
Router ทำงานใน Network Layer สามารถเชื่อมโยงได้หลาย Segment
Routing Table ของ Router จะทำการเก็บข้อมูล Network Number เพื่อใช้ในการหาเส้นทางการส่งข้อมูลไปยังปลายทาง
//www.tanti.ac.th/Com tranning/NetWork/router.htm





โดย: นางสาวสุพัตรา ธรรมสาร(หมู่15ศ.เช้า)52040302208 IP: 222.123.57.186 วันที่: 28 กรกฎาคม 2552 เวลา:23:28:22 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

ฮับ (Hub)

เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน

บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายประเภทเดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มีใช้มานานแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่าย การติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันมีลักษณะการส่ง ข้อมูลแบบกระจาย (Broadcasting) ดังนั้น จึงกระจายได้เฉพาะเครือข่ายเดียวกันเท่านั้น การรับส่งภายในเครือข่ายมีข้อกำหนดให้แพ็กเก็ตที่ส่งกระจายไปยังตัวรับได้ทุกตัว แต่ถ้ามีการส่งมาที่แอดเดรสต่างเครือข่าย บริดจ์จะนำข้อมูลเฉพาะแพ็กเก็ตนั้นส่งให้ บริดจ์จึงเป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูล ระหว่างเครือข่ายให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย ของตน ไม่ปะปนไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง เพื่อลดปัญหาปริมาณข้อมูลกระจายในสายสื่อสารมากเกินไป ในระยะหลังมีผู้พัฒนาบริดจ์ให้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างชนิดกันได้ เช่น อีเทอร์เน็ตกับโทเก็นริง เป็นต้น หากมีการเชื่อมต่อเครือข่ายมากกว่าสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเครือข่ายที่เชื่อมมีลักษณะหลากหลาย ซึ่งเป็นทั้งเครือข่ายแบบ LAN และ WAN อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงคือ เราเตอร์ (Router)

(Router)เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ




เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น

ที่มา //www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm


โดย: นางสาวจิราพรรรณ สุวรรณไตร หมู่29 (พุธเช้า) IP: 1.1.1.84, 58.147.7.66 วันที่: 30 กรกฎาคม 2552 เวลา:19:50:28 น.  

 
ฮับ (Hub)

เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น .


Bridge

บริดจ์มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่
เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้

เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น


//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/gateway.htm


โดย: นายนารายณ์ แก้วภักดี ม. 15 ศ.เช้า IP: 58.147.7.66 วันที่: 2 สิงหาคม 2552 เวลา:10:29:09 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ ฮับ (Hub)
เป็นอุปกรณ์ที่มี Repeater หลายๆ ตัวอยู่ในตัวอุปกรณ์เดียวกัน โดยสัญญาณที่เข้าจาก Port หนึ่ง จะถูกปรับปรุงคุณภาพก่อน แล้วส่งออกไปให้ Port ที่เหลือทั้งหมดแบบ Broadcast
Bridge
- จะทำงานอยู่ในระดับ Datalink Layer ของ OSI
- วิธีการทำงานคล้าย Repeaters แต่จะดีกว่า คือจะมี
การแบ่ง Segment
- เป็นอุปกรณ์ใช้เชื่อมต่อวง LAN 2 วงเข้าด้วยกัน
- เป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟ์ตแวร์
Router
- ทำงานอยู่ใน Network Layer ของ OSI
- สามารถเลือกหาเส้นทางที่ดีได้/ แต่ไม่ได้แบ่งตายตัว
- ทำงานเสมือนเป็นคอมพิวเตอร์ 1 ตัว ที่มี Mainboard / CPU/RAM/ROM
- เชื่อมต่อเครือข่ายที่มีโปรโตคอลต่างกันได้
- อาจเป็นซอร์ฟแวร์หรือฮาร์ดแวร์ก็ได้
เกตเวย์ (Gateway)
- ใช้เชื่อมต่อ LAN ที่ต่างโปรโตคอล , ต่าง Media กันได้
- ใช้เชื่อมต่อ LAN ที่ต่างสถาปัตยกรรมกันได้
- จะใช้ Routing Table และมักมีฟังก์ชั่น Firewall ด้วย
- ราคาแพง การติดตั้งยุ่งยากและซับซ้อนมาก
- ปกติมักเป็น Software ที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์
- ทำงานในระดับ Transport ถึง Application Layer

ที่มา: //www.vcharkarn.com/vcafe/11035 -


โดย: นางสาวสุภาพร รัตนา 50240210102 วท.บ.สาธารณสุขศาสตร์ (เรียน พฤ-ค่ำ เวลา 17.00-21.00 น.) IP: 114.128.128.66 วันที่: 5 สิงหาคม 2552 เวลา:21:06:31 น.  

 
1.ตอบ HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกัน คือ

ฮับ (HUB) เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน


บริดจ์( BRIDGE) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น


เราท์เตอร์ (ROUTER) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เกตเวย์ (GATEWAY) เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น

//edu.swu.ac.th/edtech/e_learn_lesson/com_edu/nuch/unit6_3.htm


โดย: 52040281122 นางสาวณัฐติยา โกศิลา (หมู่08 วันพฤหัสเช้า) สาขาชีววิทยา (จุลชีววิทยา) IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 6 สิงหาคม 2552 เวลา:11:12:41 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

คำตอบ...
- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238




โดย: นางสาวศศิวิมล ภาณุพงศ์ภูสิทธิ์ หมู่ 8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.49, 202.29.5.62 วันที่: 6 สิงหาคม 2552 เวลา:13:41:44 น.  

 
4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)
เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)
เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


โดย: นางสาวชลดา บุญรุ่ง (หมู่8 พฤหัส เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 15 สิงหาคม 2552 เวลา:14:33:14 น.  

 
4.1- เราเตอร์ (Router)
เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)
เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238
โดยน.สอภิญญา อุ้ยปะโค 52041278104 ม.15 ศ. เช้า


โดย: อภิญญา อุ้ยปะโค IP: 117.47.128.146 วันที่: 15 สิงหาคม 2552 เวลา:15:33:27 น.  

 
1.
ความแตกต่างระหว่างฮับและเราท์เตอร์
อุปกรณ์ฮับ (Hub) จะถูกใช้สำหรับการเชื่อโยงคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง ให้ทำงานร่วมกันเป็นเครือข่าย โดยสายเคเบิลที่เชื่อมต่อจากคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต่อกลับเข้ามาที่ตัวฮับ ซึ่งทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายสามารถแชร์ไฟล์ และเครื่องพิมพ์ ได้เป็นต้น

ส่วนอุปกรณ์ที่เรียกว่า Router จะถูกนำไปใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่ง (เช่นที่บ้านของคุณ) เข้ากับอีกเครือข่ายหนึ่ง (อินเตอร์เน็ต) ในกรณีนี้แนะนำให้ใช้อุปกรณ์เราเตอร์ที่มาพร้อมกับฮับในตัว เพราะมันจะช่วยให้คุณสามารถใช้ฮับเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในบ้านได้ และเราเตอร์สำหรับเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั่นเอง
(Bridge)
จะทำหน้าที่เหมือน Repeater ที่สามารถทำการเชื่อมต่อ Segment หรือเครือข่ายแบบ Workgroup ใช้เชื่อมต่อระบบเครือข่าย 2 กลุ่มเข้าด้วยกัน อย่างไรก็ตาม Bridge สามารถใช้ในการแยกระบบเครือข่าย และแก้ปัญหาสัญญาณในระบบได้ ตัวอย่างเช่น ถ้ามีเครื่องใด หรือกลุ่มคอมพิวเตอร์ใดที่มีการส่งข้อมูลออกมาเป็นปริมาณมาก จนเป็นผลให้ความเร็วของระบบลดลง การเลือกใช้ Bridge สามารถที่จะทำการแยกเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น หรือกลุ่มของคอมพิวเตอร์ที่มีปัญหาออกจากระบบโดยรวมได้
Gateway ช่วยให้เครือข่ายมีความแตกต่างกันในด้านโครงสร้างและสภาพแวดล้อม สามารถทำการติดต่อสื่อสารกันได้ โดยการแปลงลักษณะของข้อมูล Packet จากรูปแบบหนึ่งไปสู่อีกรูปแบบหนึ่ง ทำให้สามารถทำการติดต่อสื่อสารกันได้ การแปลงลักษณะของ Packet นั้นจะเป็นการแปลงให้สามารถใช้งานกับระบบเครือข่ายปลายทางได้ จากความสามารถนี้ทำให้ Gateway ทำหน้าที่ในด่านสุดท้ายในการส่งข้อมูล ตัวอย่างเช่น Electronic Mail Gateway เช่น x.400 Gateway จะทำการรับข้อมูลในรูปแบบหนึ่ง และทำการแปลงก่อนที่จะทำการส่งออกไป รับข้อมูลในรูปแบบของ x.400 ที่ปลายทางเข้าใจได้ และกระทำเช่นเดียวกันในขั้นตอนการรับข้อมูล
Gateway จะทำการเชื่อมต่อระบบที่มีความแตกต่างในด้าน
- Protocol ที่ใช้ในการสื่อสาร
- โครงสร้างข้อมูลที่ต่างกัน
- ภาษาที่ต่างกัน
- โครงสร้างที่ต่างกัน
Gateway จะทำการเชื่อมระบบเครือข่ายต่างชนิดกัน เช่น สามารถเชื่อมเครือข่ายของ Microsoft Windows NT Server ไปยังเครือข่ายของ IBM ที่เรียกว่า System Network Architeture (SNA) ได้โดย Gateway จะทำการเปลี่ยนรูปแบบของข้อมูลจากรูปแบบที่เป็นอยู่ ให้เป็นรูปแบบเดียวกับเครือข่ายปลายทาง

ที่มา
https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=numpuang&date=10-06-2009&group=10&gblog=13
//www.cptd.chandra.ac.th/rawin/chap6.doc


โดย: นางสาวประทุมพร ปากเจริญ พุธเช้า หมู่ที่29 รหัส 52040501339 บช.บ IP: 124.157.147.47 วันที่: 16 สิงหาคม 2552 เวลา:16:08:22 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
//www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=11035
Bridge
อุปกรณ์ Bridge เป็นสิ่งที่ใช้แก้ไขปัญหาในเรื่องสัญญาณที่วิ่งอยู่ในเครือข่ายมากเกินไปได้โดยจะจัดแบ่งเครือข่ายออกเป็นเครือข่ายย่อยหรือ Network Segment และจะทำการกลั่นกรองสัญญาณเท่าที่จำเป็นเพื่อส่งให้กับเครือข่ายย่อยที่ถูกต้องได้ ทำให้สัญญาณไม่มารบกวนกันหรือมีสัญญาณที่ไม่เกี่ยวข้องมาในเครือข่ายย่อย โดยไม่จำเป็น แต่ในทางกลับกัน ถ้ามีความจำเป็นต้องการสื่อสารกันข้ามเครือข่ายเป็นจำนวนมากแล้ว อุปกรณ์ Bridge ก็อาจกลายเป็นเสมือนคอขวดที่ทำให้เครือ่ข่าย มีการทำงานช้าลงได้

การทำงานของ Bridge
หลักการทำงานของ Bridge จะดูแลข้อมูลที่ส่งโดยพิจารณาหมายเลขของเครื่อง หรือตามศัพท์ทางเครือข่าย คือ Media Access Control (MAC Address หรือ Station Address) Bridge จะทำงานใน Data Link Layer หรือ Layer ที่ 2 ของ OSI โมเดล คือ มองข้อมูลที่รับส่งกัน เป็น Packet แล้วเท่านั้น โดยไม่ต้องสนใจโปรโตคอลสื่อสารที่ใช้ ไม่ว่าจะเป็น IP หรือ IPX หรือโปรโตคอลใด ๆ หรือก็คือ ไม่ว่าจะเป็น Packet อะไรส่งออกมาในเครือข่าย Bridge จะดูเฉพาะ Address ปลายทางแล้วถ้าพบว่าเป็นเครื่องที่อยู่คนละฟากกันก็จะส่งต่อให้เท่านั้น ไม่สนใจว่าการส่งให้ถึงเครื่อง ที่เป็นผู้รับปลายทางนั้นอาจทำได้หลายเส้นทางต่าง ๆ กัน
ข้อจำกัดอีกประการหนึ่งของ Bridge คือในขณะที่คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งต้องการส่งข้อมูลไปยังอีกเครื่องหนึ่ง แต่ไม่ทราบ Station Address จะมีการส่งข้อมูล พิเศษที่เรียกว่า Broadcast Frame เข้าไปในเครือข่าย เมื่อข้อมูลนั้นผ่านมาที่ Bridge ก็จะมีการส่งข้อมูล Broadcast นี้ต่อไปยังทุกเครือข่ายย่อยทั้งหมดที่ ตนอยู่ โดยไม่มีการเลือกหรือกลั่นกรองใด ๆ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายทั้งหมดถูกขัดจังหวะเพื่อรับข้อมูลดังกล่าว ดังนั้นถ้าข้อมูลที่ Broadcast มากก็จะ ทำให้เครือข่ายมีปัญหาเรื่องปริมาณข้อมูลหนาแน่น และความเร็วในการทำงานลดลงได้

//www.kunkroo.com/network1.html

Router
Router เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่า Bridge โดยทำงานเสมือนเป็นเครื่องหรือ node หนึ่งใน LAN ซึ่งจะทำหน้าที่รับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง โดยอาจส่งในรูปแบบของ packet ที่ต่างออกไป เพื่อไปผ่านสายสัญญาณแบบอื่นๆ เช่น สายโทรศัพท์ที่ต่อผ่านโมเด็มก็ได้ ดังนั้นจึงอาจใช้ Router ในการเชื่อมต่อ LAN หลายแบบเข้าด้วยกันผ่าน WAN ได้ด้วย และเนื่องจากการที่มันทำตัวเสมือนเป็น node หนึ่งใน LAN นี้ยังทำให้มันสามารถทำงานอื่นๆได้อีกมาก เช่น รวบรวมข้อมูลเพื่อหาเส้นทางที่ดที่สุดในการส่งข้อมูลต่อหรือตรวจสอบข้อมูลที่เข้ามานั้นมาจากไหน ควรจะให้ผ่านหรือไม่ เพื่อช่วยในเรื่องการรักษาความปลอดภัยด้วย

การทำงานของ Router
สิ่งที่แตกต่างกันระหว่าง Bridge กับ Router คือ Bridge ทำงานในระดับ Data Link Layer คือจะใช้ข้อมูล station address ในการทำงานส่งข้อมูลไปยังที่ใดๆ ซึ่งหมายเลข station address นี้มีการกำหนดมาจากฮาร์ดแวร์หรือที่ส่วนของ Network Interface Card (NIC) และถูกกำหนดมาเฉพาะตัวจากโรงงานไม่ให้ซ้ำกัน ถ้ามีการเปลี่ยน NIC นี้ไป ก็จำทำให้ station address เปลี่ยนไปด้วย ส่วน Network Layer address ในกการส่งผ่านข้อมูลโปรโตคอลของเครือข่ายชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น IPX, TCP/IP หรือ AppleTalk ซึ่งจะเป็นโปรโตคอลที่ทำงานใน Network Layer การกำหนด Network address ทำได้โดยผู้ดูแลระบบเครือข่ายนั้น ทำให้สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ง่าย และสามารถใช้อุปกรณ์ Router เชื่อมโยงเครือข่ายที่แยกจากกันให้สามารถส่งผ่านข้อมูลร่วมกันได้และทำให้เครือข่ายขยายออกไปได้เรื่อยๆ
หน้าที่หลักของ Router คือการหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่ดีที่สุด และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น ทั้งนี้ Router สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายที่ใช้สื่อสัญญาณหลายแบบแตกต่างกันได้ไม่ว่าจะเป็น Ethernet, Token Rink หรือ FDDI ทั้งๆที่ในแต่ละระบบจะมี packet เป็นรูปแบบของตนเองซึ่งแตกต่างกัน โดยโปรโตคอลที่ทำงานในระดับบนหรือ Layer 3 ขึ้นไปเช่น IP, IPX หรือ AppleTalk เมื่อมีการส่งข้อมูลก็จะบรรจุข้อมูลนั้นเป็น packet ในรูปแบบของ Layer 2 คือ Data Link Layer เมื่อ Router ได้รับข้อมูลมาก็จะตรวจดูใน packet เพื่อจะทราบว่าใช้โปรโตคอลแบบใด จากนั้นก็จะตรวจดูเส้นทางส่งข้อมูลจากตาราง Routing Table ว่าจะต้องส่งข้อมูลนี้ไปยังเครือข่ายใดจึงจะต่อไปถึงปลายทางได้ แล้วจึงบรรจุข้อมูลลงเป็น packet ของ Data Link Layer ที่ถูกต้องอีกครั้ง เพื่อส่งต่อไปยังเครือข่ายปลายทาง

//www.tlcthai.com/webboard/view_topic.php?mode=quote&comment=4&index=3&table_id=1&cate_id=20&post_id=3493
Gateway เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น

Gateway, ประตูสื่อสาร ช่องทางสำหรับเชื่อมต่อข่ายงานคอมพิวเตอร์ที่ต่างชนิดกันให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ โดยทำให้ผู้ใช้บริการของคอมพิวเตอร์หนึ่งหรือในข่ายงานหนึ่งสามารถติดต่อเข้าสู่เครื่องบริการหรือข่ายงานที่ต่างประเภทกันได้ ทั้งนี้โดยการใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า "บริดจ์" (bridges) โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะทำให้การแปลข้อมูลที่จำเป็นให้ นอกจากในด้านของข่ายงาน เกตเวย์ยังเป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (LAN) สองข่ายงานที่มีลักษณะ ไม่เหมือนกันให้สามารถเชื่อมต่อกันได้ หรือจะเป็นการเชื่อมต่อข่ายงานบริเวณเฉพาะที่เข้ากับข่ายงานบริเวณกว้าง (WAN) หรือต่อเข้ากับมินิคอมพิวเตอร์หรือต่อเข้ากับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ก็ได้เช่นกัน ทั้งนี้เนื่องจากเกตเวย์มีไมโครโพรเซสเซอร์และหน่วยความจำของตนเอง

Gateway จะเป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถมากที่สุดคือสามารถเครือข่ายต่างชนิดกันเข้าด้วยกันโดยสามารถเชื่อมต่อ LAN ที่มีหลายๆโปรโตคอลเข้าด้วยกันได้ และยังสามารถใช้สายส่งที่ต่างชนิดกัน ตัวgateway จะสามารถสร้างตาราง ซึ่งสารารถบอกได้ว่าเครื่องเซิร์ฟเวอร์ไหนอยู่ภายใต้ gatewayตัวใดและจะสามารถปรับปรุงข้อมูลตามเวลาที่ตั้งเอาไว้

Gateway เป็นจุดต่อเชื่อมของเครือข่ายทำหน้าที่เป็นทางเข้าสู่ระบบเครือข่ายต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต ในความหมายของ router ระบบเครือข่ายประกอบด้วย node ของ gateway และ node ของ host เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ในเครือข่าย และคอมพิวเตอร์ที่เครื่องแม่ข่ายมีฐานะเป็น node แบบ host ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ควบคุมการจราจรภายในเครือข่าย หรือผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต คือ node แบบ gateway ในระบบเครือข่ายของหน่วยธุรกิจ เครื่องแม่ข่ายที่เป็น node แบบ gateway มักจะทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายแบบ proxy และเครื่องแม่ข่ายแบบ firewall นอกจากนี้ gateway ยังรวมถึง router และ switch

Gateway เป็นอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ที่ช่วยในการสื่อสารข้อมูล หน้าที่หลักของเกตเวย์คือช่วยทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์2 เครือข่ายหรือมากกว่าที่มีลักษณะไม่เหมือนกัน คือลักษณะของการเชื่อมต่อ( Connectivity ) ของเครือข่ายที่แตกต่างกัน และมีโปรโตคอลสำหรับการส่ง - รับ ข้อมูลต่างกัน เช่น LAN เครือหนึ่งเป็นแบบ Ethernet และใช้โปรโตคอลแบบอะซิงโครนัสส่วน LAN อีกเครือข่ายหนึ่งเป็นแบบ Token Ring และใช้โปรโตคอลแบบซิงโครนัสเพื่อให้สามารถติดต่อกันได้เสมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน เพื่อจำกัดวงให้แคบลงมา เกตเวย์โดยทั่วไปจะใช้เป็นเครื่องมือส่ง - รับข้อมูลกันระหว่างLAN 2เครือข่ายหรือLANกับเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือระหว่าง LANกับ WANโดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะเช่น X.25แพ็คเกจสวิตซ์ เครือข่าย ISDN เทเล็กซ์ หรือเครือข่ายทางไกลอื่น ๆ
//jaypan44.blogspot.com/2007/01/gateway.html


โดย: สุจิตรา มหาฤทธิ์ 51040305111 สาขาภาษาอังกฤธุรกิจ หมู่01 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 18 สิงหาคม 2552 เวลา:18:29:02 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ อุปกรณ์เครือข่าย (Network Devices)




การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็น LAN หรือ WAN ได้นั้นจะต้องอาศัยสิ่งที่เรียกว่า “อุปกรณ์เครือข่าย (Network Device)” มีด้วยกันทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก่ อุปกรณ์ทวนสัญญา (Repeater) ฮับ (Hub) บริดจ์ (Bridge) เราเตอร์ (Router) สวิตซ์ (Switch) และเกตเวย์ (Gateway) ดังรายละเอียดต่อไปนี้




- อุปกรณ์ทวนสัญญาณ (Repeater)
อุปกรณ์ทวนสัญญาณ ทำงานใน Layer ที่ 1 OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับสัญญาณดิจิตอลเข้ามาแล้วสร้างใหม่ (Regenerate) ให้เป็นเหมือนสัญญาณ (ข้อมูล) เดิมที่ส่งมาจากต้นทาง จากนั้นค่อยส่งต่อออกไปยังอุปกรณ์ตัวอื่น เหตุที่ต้องใช้ Repeater เนื่องจากว่าการส่งสัญญาณไปในตัวกลางที่เป็นสายสัญญาณนั้น เมื่อระยะทางมากขึ้นแรงดันของสัญญาณจะลดลงเรื่อย ๆ จึงไม่สามารถส่งสัญญาณในระยะทางไกล ๆ ได้ ดังนั้นการใช้ Repeater จะทำให้สามารถส่งสัญญาณไปได้ไกลขึ้น โดยที่สัญญาณไม่สูญหาย

เครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 (Segment หมายถึง ส่วนย่อย ๆ ของเครือข่าย LAN) เชื่อมต่อยู่กับคอมพิวเตอร์ใน Segment 2 แต่ทั้งสองเครื่องนี้มีระยะห่างกันมาก จึงต้องใช้ Repeater แต่จะกระจายสัญญาณที่ทวนนั้นออกไปยังคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับฮับด้วย
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังรูปที่ 4.40






- เราเตอร์ (Router)
เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด



- สวิตซ์
สวิตซ์ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ Layer-2 Switch และ Layer-3 Switch ดังรายละเอียดต่อไปนี้
Layer-2 Switch หรือ L2 Switch ก็คือ Bridge แต่เป็น Bridge ที่มี Interface ในการเชื่อมต่อกับ Segment มากขึ้น ทำให้สามารถแบ่งเครือข่าย LAN ออกเป็น Segment ย่อย ๆ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการเครือข่ายได้ดียิ่งขึ้น และประสิทธิภาพในการทำงานของ L2 Switch ก็สูงกว่า Bridge ทำให้ในปัจจุบันนิยมใช้งาน L2 Switch แทน Bridge
Layer-3 Switch หรือ L3 Switch ก็คือ Router ที่ได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่มีราคาถูกลง โดย L3 Switch นี้จะสามารถจัดการกับเครือข่ายที่มี Segment มาก ๆ ได้ดีกว่า Router


- เกตเวย์ (Gateway)
เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว

ที่มา:www.surasak009.blogspot.com


โดย: 52040263105 ชื่อ น.ส.อรวรรณ ไชยยงค์ (สาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) หมู่เรียนที่22 (อังคารเช้า) IP: 125.26.165.99 วันที่: 21 สิงหาคม 2552 เวลา:19:31:56 น.  

 
4.1. 4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ฮับ (HUB) เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน


บริดจ์( BRIDGE) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น


เราท์เตอร์ (ROUTER) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เกตเวย์ (GATEWAY) เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น

//edu.swu.ac.th/edtech/e_learn_lesson/com_edu/nuch/unit6_3.htm






โดย: น.ส ผกาพรรณ หงษ์ทอง หมู่ 1 จันทร์-บ่าย IP: 124.157.151.177 วันที่: 25 สิงหาคม 2552 เวลา:19:53:19 น.  

 
4.1- เราเตอร์ (Router)
เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)
เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


โดย: นางสาววินภา พินิจมนตรี รหัส 51241151116 รูปแบบพิเศษหมู่ 5 วันเสาร์บ่ายโมง IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:51:23 น.  

 
Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
ที่มา//www.vcharkarn.com/vcafe/11035


โดย: ส.ต.ต.หญิงพิพิทย์ชยานันต์ สีลาเวช 51241151133 หมู่ 5 รุปแบบพิเศษวันเสาร์ IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:51:54 น.  

 
ฮับ (Hub). เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน. | คอมพิวเตอร์ | เซอร์เวอร์ | ฮับ | บริดจ์ | เราท์เตอร์ ...
www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายประเภทเดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มีใช้มานานแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่าย การติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันมีลักษณะการส่ง ข้อมูลแบบกระจาย (Broadcasting) ดังนั้น จึงกระจายได้เฉพาะเครือข่ายเดียวกันเท่านั้น การรับส่งภายในเครือข่ายมีข้อกำหนดให้แพ็กเก็ตที่ส่งกระจายไปยังตัวรับได้ทุกตัว แต่ถ้ามีการส่งมาที่แอดเดรสต่างเครือข่าย บริดจ์จะนำข้อมูลเฉพาะแพ็กเก็ตนั้นส่งให้ บริดจ์จึงเป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูล ระหว่างเครือข่ายให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย ของตน ไม่ปะปนไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง เพื่อลดปัญหาปริมาณข้อมูลกระจายในสายสื่อสารมากเกินไป ในระยะหลังมีผู้พัฒนาบริดจ์ให้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างชนิดกันได้ เช่น อีเทอร์เน็ตกับโทเก็นริง เป็นต้น หากมีการเชื่อมต่อเครือข่ายมากกว่าสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเครือข่ายที่เชื่อมมีลักษณะหลากหลาย ซึ่งเป็นทั้งเครือข่ายแบบ LAN และ WAN อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงคือ เราเตอร์ (Router)
//www.ku.ac.th/magazine_online/bridge.html
เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อ//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm

เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น //www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/gateway.htm



โดย: นายอัศวิน บัวน้ำอ้อม 51241151118 รูปแบบพิเศษหมู่ 5 วันเสาร์บ่ายโมง IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:52:35 น.  

 
4.1)
Hub ทำหน้าที่เปรียบศูนย์กลางที่กระจายข้อมูล ใช้ในการต่อแลนแบบดาว
การเลือกซื้อฮับก็ตามปริมาณช่อง (port) ที่ใช้ว่าจะเชื่อมโยงกี่เครื่อง

เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภท
พีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น

เราท์เตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถ
ทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและเลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

บริดจ์ เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกันทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกัน
ในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น

ที่มา //host.psu.ac.th/~s5040111370/index-1.html


โดย: น.ส.วิไลวรรณ พงค์พันธ์ ม.29 (พุธเช้า) 52040501303 IP: 114.128.129.186 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:18:52:01 น.  

 
ตอบ ข้อ 1

-ฮับ (Hub)

เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน

-BRIบริดจ์ เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น

- เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

-เกตเวย์ (Gateway)

-เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น


-



โดย: นาย วรวัฒน์ ศรีใจ รหัส 52040332110 พฤหัส เช้า หมู่ 08 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:12:18:17 น.  

 

4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238





โดย: นาย ปิยะ ศรีกุลวงศ์ เสาร์บ่าย 51241151204 IP: 222.123.59.23 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:14:09:16 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ ฮับ (Hub) ฮับ หรือตัวย้ำสัญญาณ เป็นอุปกรณ์ง่ายๆ ที่เชื่อมกลุ่มผู้ใช้ไว้ด้วยกัน ฮับจะส่งต่อทุกๆ ข้อมูลไม่ว่าจะเป็นอีเมล์ เอกสาร รูปภาพ คำสั่งพิมพ์งานจากผู้ใช้ที่ส่งมาไปยังผู้ใช้อื่นๆ ทุกคนที่ต่อร่วมกันบนฮับเดียวกัน ผู้ใช้ที่ต่ออยู่บนฮับตัวเดียว หรือต่อเชื่อมต่อผ่านฮับหลายตัวก็ตาม จะแบ่งกันใช้ความจุของสายร่วมกัน นั่นหมายถึง ยิ่งมีผู้ใช้เชื่อมต่อเพิ่มมากขึ้นเท่าไร ก็ต้องแบ่งความจุ ของสายในการรับส่งข้อมูลมากขึ้น ทำให้ผู้ใช้แต่ละคนจะส่งได้ช้าลง เมื่อมีผู้ใช้เพิ่มในฮับมากขึ้น
เพื่อ ให้เข้าใจชัดเจนขึ้นว่า ฮับช่วยระบบเครือข่าย ทางธุรกิจคุณได้อย่างไร ให้คุณนึกถึงโรงเรียน ที่มีสายโทรศัพท์เพียงสายเดียว สำหรับห้องพักครูทุกห้อง เมื่อครูในห้องพักครู ต้องการโทรไปยังอีกห้องพักครูหนึ่ง โทรศัพท์จะดังไปทุกๆ ห้อง ครูที่พักอยู่ในแต่ละห้องทุกห้อง ต้องรับโทรศัพท์แล้วฟังว่าเป็นสายของใคร และในขณะที่มีคนใช้โทรศัพท์อยู่ คนอื่นๆ จะไม่สามารถใช้โทรศัพท์ได้ในเวลานั้น ถ้าครูมาพักน้อย การวางระบบเช่นนี้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ในช่วงเวลาที่มีการใช้โทรศัพท์บ่อย การติดต่อก็จะทำให้ยาก เพราะโทรศัพท์สายไม่ว่างตลอด
บริดจ์ (ฺBridge) เป็น อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระบบ LAN เข้าด้วยกัน โดยออกแบบมาเพื่อใช้ติดต่อระหว่างเครือข่ายท้องถิ่น LAN จำนวน 2 เครือข่าย ที่มีโปรโตคอลเหมือนกันหรือต่างกัน เพื่อให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้ โดยประสิทธิภาพในทางรวมลดลงไม่มาก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องอยู่ในเซกเมนด์เดียวกัน จะไม่มีการส่งผ่านต่างเซกเมนด์ (Segment)
เราท์เตอร์ (Router) เปรียบเทียบระหว่างฮับ และสวิตช์แล้ว เราท์เตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ฉลาดกว่า เราท์เตอร์ใช้เพื่อ การส่งต่อข้อมูลที่จุดหมายซับซ้อนกว่ามาก โดยตัดสินใจส่งต่อข้อมูลจาก "ตารางสำหรับการเราต์" อุปกรณ์เราท์เตอร์ จะทำให้การส่งต่อข้อมูลไปตามเส้นทาง ที่มีประสิทธิภาพที่สุด ไม่ว่าจะส่งต่อจากเราท์เตอร์ ไปยังเครื่องต่างๆ หรือส่งจากเราท์เตอร์ ไปยังเราท์เตอร์อีกตัว และถ้าการเชื่อมระหว่างเราท์เตอร์ 2 ตัวที่จะส่งไปขาด มันยังสามารถตัดสินใจ เปลี่ยนเส้นทางที่เหมาะสมเอง ได้อีกด้วย เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่น และไม่ขาดตอน เราท์เตอร์อาจใช้เพื่อเชื่อมเข้ากับ ระบบเครือข่ายอื่นๆ ที่มีวิธีในการรับส่งข้อมูล ที่ต่างไปจากระบบเครือข่ายที่เราใช้งานอยู่ได้ โดยแต่ละระบบเครือข่าย อาจพูดต่างภาษากัน หรือในศัพท์ทางคอมพิวเตอร์คือ แต่ละระบบเครือข่ายใช่ต่าง "โพรโตคอล (Protocol)" ตัวอย่างของโพรโตคอล เช่น อินเทอร์เน็ตโพรโตคอล (ไอพี), อินเทอร์เน็ตแพ็กเก็ตเอ็กซ์เชนจ์ (ไอพีเอ็กซ์) หรือแอปเปิลทอล์ก นอกจากนั้น เราท์เตอร์ยังไม่ใช่ เพียงสามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายต่างๆ ในอาคารไว้ด้วยกันเท่านั้น แต่มีจุดเชื่อมต่อไปยังภายนอก (หรือเรียกว่า ซ็อกเก็ต (Socket) เชื่อมออกไปสู่บริการแบบ ระบบเครือข่ายพื้นที่กว้าง (Wide area Network-WAN) ได้อีกด้วย บริการแวนจะทำให้คุณสามารถ ติดต่อสื่อสารกระจายออกไปสู่ระบบเครือข่ายอื่นๆ ทั่วโลกได้ เพื่อ เข้าใจความหมายการทำงานของเราท์เตอร์ (เรียกว่า เราติง) ให้เปรียบไปถึงโรงเรียน A และโรงเรียนอื่นๆ ทั้งหมดที่ได้ฝึกโอเปอเรเตอร์ ให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อครูที่ชื่อสมชายโทรศัพท์จากโรงเรียน A โทรไปครูชื่อสมบัติที่สอนอยู่อีกโรงเรียนที่ชื่อ B โอเปอเรเตอร์ที่โรงเรียน A จะรู้ทันทีว่าจะต้องต่อสายไปอย่างไรถึงดีที่สุด โดยต่อสายไปยังโอเปอเรเตอร์ชื่อสมศรีที่ทำงานอยู่ที่โรงเรียน B เพื่อให้สมศรีโอนสายไปครูสมบัติ และหากเกิดปัญหาในการต่อสายไปยังสมศรี โอเปอเรเตอร์ที่โรงเรียน A จะสามารถเลือกเส้นทางอื่น เช่น ต่อไปยังโอเปอเรเตอร์คนอื่นที่ประจำอยู่ที่โรงเรียน B เพื่อให้การติดต่อครั้งนี้สำเร็จ



เกตเวย์ (Gateway) เป็น อุปกรณ์ที่ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่า ที่มีลักษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อกันได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน เปรียบเสมือนเป็นประตูทางผ่านในการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ต่างชนิด กัน เช่น ระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไปกับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรม ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นต้น อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็น Gateway นั้นอาจจะใช้คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งทำหน้าที่ก็ได้



โดย: นางฉวีวรรณ แสงเลิศ 51241151132 รูปแบบพิเศษ รปศ. เรียนเวลา บ่ายโมงวันเสาร์ IP: 117.47.14.74 วันที่: 1 กันยายน 2552 เวลา:19:45:16 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ - เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว

-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238









โดย: นาย สุระทิน ใจใส หมู่ 15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151202 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 5 กันยายน 2552 เวลา:11:58:49 น.  

 
4. อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย



อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Equipment)



ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานนอกจากคอมพิวเตอร์ 2 ตัวขึ้นไป แล้วยังต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้




เน็ตเวิร์คการ์ด (Network Card)


การ์ดเน็ตเวิร์ก หมายถึง แผงวงจรสำหรับใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย จะติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ด คือ แปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้
NIC (Network Interface Card) การ์ดเน็ตเวิร์ก หรือการ์ดแลนด์ มีการนำมาใช้งานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ IBM PC นานร่วม 15 ปี มีหน้าที่ติดต่อสื่อสารและรับ-ส่งข้อมูลระหว่างเครื่องเมนเฟรม และ เครื่องไมโคคอมพิวเตอร์ ในอดีตการ์ดเน็ตเวิร์กจะเป็นแบบบัส ISA ซึ่งใช้เสียบลงไปบนสลอต ISA บนเครื่องคอมพิวเตอร์และต้องมานั่งเซตจั๊มเปอร์ของ IRQ. Address เพื่อไม่ให้ไปชนกับอุปกรณ์อื่น ๆ อีกด้วย



บัส ISA ซึ่งปัจจุบันไม่นิยมใช้งานแล้ว จะเห็นว่าที่ด้านหลังมีขั้วเชื่อมต่อแบบ RJ-4,BNC และ Au ขั้วเชื่อมต่อแบบ RJ-4 จะต้องทำงานร่วมกับกล่องฮับ ส่วนขั้วเชื่อมต่อ แบบ BNC ไม่ต้องใช้ฮับร่วมทำงาน เพราะใช้ T-Connector และ Terminator (ตัวปิดหัวท้าย) แทน การ์ดเน็ตเวิร์กจะมีหลายแบบด้วยกัน ขึ้นอยู่กับสลอตบนเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ISA, PCI, PCMCIA USB Port หรือ Compact Flash



PCI (Peripheral Component Interconnect) เป็นระบบบัสที่ได้รับความนิยมสูงมาก ซึ่งได้เข้า มาแทนบัสแบบ ISA PCI บัสมีอัตราการส่งผ่านข้อมูลสูงถึง 133 เมกกะไบต์ต่อวินาที นอกจากนี้ยังสามารถ กำหนดค่า IRQ,DMA, Memory Address ให้อุปกรณ์และการ์อินเทอร์เฟซอัตโนมัติ เมื่อเสียบการ์ดเน็ตเวิร์ก แบบ PCI ลงไปบนเครื่องแล้ว ส่วนมากจะมองเห็นและใช้งานได้ทันที



PCMCIA (Personal Computer Memory Card International Association) เป็นการ์ดเสียบขนาดเล็ก เท่ากับบัตรเครดิต เป็นอุปกรณ์ขยายระบบให้คอมพิวเตอร์ Notebook เช่น การ์ดหน่วยความจำ แฟกซ์ โมเด็ม การ์ดเน็ตเวิร์ก หรือ ฮาร์ดดิสก์ขนาดเล็ก



USB Port (Universal Serial Bus) เป็นพอร์ตเชื่อมต่อแบบใหม่ที่สามารถจะนำอุปกรณ์เข้ามาเชื่อมต่อได้ จำนวนมากถึง 100 กว่าตัว






โมเด็ม (Modem)



โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สำหรับการแปลงสัญญาณดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ด้านผู้ส่ง เพื่อส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก(Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะทำหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนำเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์เป็นสื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต

Modem มี 3 ชนิดคือ
1. Internal Modem เป็น Card Adapter ที่เสียบเข้าไปใน slot ของคอมพิวเตอร์ โดยมีวงจรพอร์ต อนุกรมของตัวเอง(COM3,COM4) และใช้พลังงานร่วมกับคอมพิวเตอร์


2. External Modem เป็นกล่องที่บรรจุวงจร modem มีแหล่งพลังงานของตัวเอง และจะต่อกับพอร์ต อนุกรม(COM1,COM2)ของคอมพิวเตอร์

3. wireless modemหรือโมเด็มไร้สาย มีลักษณะคล้ายกับโมเด็มภายนอก โดยโมเด็มภายนอกจะเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ทาง serial port โดยใช้สายทางโทรศัพท์ ในขณะที่โมเด็มไร้สายจะไม่ใช้สายโทรศัพท์เพื่อเชื่อมต่อ แต่จะสื่อสารโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อ




ฮับ (Hub)





ฮับ หรือตัวย้ำสัญญาณ เป็นอุปกรณ์ง่ายๆ ที่เชื่อมกลุ่มผู้ใช้ไว้ด้วยกัน ฮับจะส่งต่อทุกๆ ข้อมูลไม่ว่าจะเป็นอีเมล์ เอกสาร รูปภาพ คำสั่งพิมพ์งานจากผู้ใช้ที่ส่งมาไปยังผู้ใช้อื่นๆ ทุกคนที่ต่อร่วมกันบนฮับเดียวกัน ผู้ใช้ที่ต่ออยู่บนฮับตัวเดียว หรือต่อเชื่อมต่อผ่านฮับหลายตัวก็ตาม จะแบ่งกันใช้ความจุของสายร่วมกัน นั่นหมายถึง ยิ่งมีผู้ใช้เชื่อมต่อเพิ่มมากขึ้นเท่าไร ก็ต้องแบ่งความจุ ของสายในการรับส่งข้อมูลมากขึ้น ทำให้ผู้ใช้แต่ละคนจะส่งได้ช้าลง เมื่อมีผู้ใช้เพิ่มในฮับมากขึ้น





เพื่อให้เข้าใจชัดเจนขึ้นว่า ฮับช่วยระบบเครือข่าย ทางธุรกิจคุณได้อย่างไร ให้คุณนึกถึงโรงเรียน ที่มีสายโทรศัพท์เพียงสายเดียว สำหรับห้องพักครูทุกห้อง เมื่อครูในห้องพักครู ต้องการโทรไปยังอีกห้องพักครูหนึ่ง โทรศัพท์จะดังไปทุกๆ ห้อง ครูที่พักอยู่ในแต่ละห้องทุกห้อง ต้องรับโทรศัพท์แล้วฟังว่าเป็นสายของใคร และในขณะที่มีคนใช้โทรศัพท์อยู่ คนอื่นๆ จะไม่สามารถใช้โทรศัพท์ได้ในเวลานั้น ถ้าครูมาพักน้อย การวางระบบเช่นนี้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ในช่วงเวลาที่มีการใช้โทรศัพท์บ่อย การติดต่อก็จะทำให้ยาก เพราะโทรศัพท์สายไม่ว่างตลอด




บริดจ์ (ฺBridge)




เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระบบ LAN เข้าด้วยกัน โดยออกแบบมาเพื่อใช้ติดต่อระหว่างเครือข่ายท้องถิ่น LAN จำนวน 2 เครือข่าย ที่มีโปรโตคอลเหมือนกันหรือต่างกัน เพื่อให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้ โดยประสิทธิภาพในทางรวมลดลงไม่มาก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องอยู่ในเซกเมนด์เดียวกัน จะไม่มีการส่งผ่านต่างเซกเมนด์ (Segment)





สวิตช์ (Switch)



สวิตช์เป็นอุปกรณ์ที่ฉลาดกว่าฮับ และทำให้ได้ความจุ ในการรับส่งข้อมูลแก่ผู้ใช้แต่ละคน ได้มากกว่าฮับ สวิตช์จะส่งต่อข้อมูลไปยังเป้าหมายที่เหมาะสม ที่สามารถไปต่อยังผู้รับได้โดยตรง โดยตัดสินใจส่งจากส่วนหัว (Header) ของข้อมูล (Packet) โดยสร้างการเชื่อมต่อแบบชั่วคราว ระหว่างต้นทางและปลายทาง และปิดการเชื่อมต่อชั่วคราวนั้นทิ้ง เมื่อการติดต่อได้เสร็จสิ้นลง



สวิตช์เปรียบได้กับโทรศัพท์ ของโรงเรียนที่มีโอเปอเรเตอร์คอยต่อสายให้ เมื่อครูสมชาย ต้องการโทรไปหาครูสมบัติ อีกห้องหนึ่ง โอเปอเรเตอร์รับคำสั่งจากครูสมชาย แล้วต่อสายไปยังครูสมบัติโดยตรง การต่อแบบนี้ทำให้ใช้โทรศัพท์ จากห้องหนึ่งไปอีกห้องหนึ่งได้มากกว่า 1 สาย




เราท์เตอร์ (Router)



เปรียบเทียบระหว่างฮับ และสวิตช์แล้ว เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ฉลาดกว่า เราเตอร์ใช้เพื่อ การส่งต่อข้อมูลที่จุดหมายซับซ้อนกว่ามาก โดยตัดสินใจส่งต่อข้อมูลจาก "ตารางสำหรับการเราต์" อุปกรณ์เราเตอร์ จะทำให้การส่งต่อข้อมูลไปตามเส้นทาง ที่มีประสิทธิภาพที่สุด ไม่ว่าจะส่งต่อจากเราเตอร์ ไปยังเครื่องต่างๆ หรือส่งจากเราเตอร์ ไปยังเราเตอร์อีกตัว และถ้าการเชื่อมระหว่างเราเตอร์ 2 ตัวที่จะส่งไปขาด มันยังสามารถตัดสินใจ เปลี่ยนเส้นทางที่เหมาะสมเอง ได้อีกด้วย เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่น และไม่ขาดตอน



เราเตอร์อาจใช้เพื่อเชื่อมเข้ากับ ระบบเครือข่ายอื่นๆ ที่มีวิธีในการรับส่งข้อมูล ที่ต่างไปจากระบบเครือข่ายที่เราใช้งานอยู่ได้ โดยแต่ละระบบเครือข่าย อาจพูดต่างภาษากัน หรือในศัพท์ทางคอมพิวเตอร์คือ แต่ละระบบเครือข่ายใช่ต่าง "โพรโตคอล (Protocol)" ตัวอย่างของโพรโตคอล เช่น อินเทอร์เน็ตโพรโตคอล (ไอพี), อินเทอร์เน็ตแพ็กเก็ตเอ็กซ์เชนจ์ (ไอพีเอ็กซ์) หรือแอปเปิลทอล์ก นอกจากนั้น เราเตอร์ยังไม่ใช่ เพียงสามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายต่างๆ ในอาคารไว้ด้วยกันเท่านั้น แต่มีจุดเชื่อมต่อไปยังภายนอก (หรือเรียกว่า ซ็อกเก็ต (Socket) เชื่อมออกไปสู่บริการแบบ ระบบเครือข่ายพื้นที่กว้าง (Wide area Network-WAN) ได้อีกด้วย บริการแวนจะทำให้คุณสามารถ ติดต่อสื่อสารกระจายออกไปสู่ระบบเครือข่ายอื่นๆ ทั่วโลกได้




เพื่อเข้าใจความหมายการทำงานของเราเตอร์ (เรียกว่า เราติง) ให้เปรียบไปถึงโรงเรียน A และโรงเรียนอื่นๆ ทั้งหมดที่ได้ฝึกโอเปอเรเตอร์ ให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อครูที่ชื่อสมชายโทรศัพท์จากโรงเรียน A โทรไปครูชื่อสมบัติที่สอนอยู่อีกโรงเรียนที่ชื่อ B โอเปอเรเตอร์ที่โรงเรียน A จะรู้ทันทีว่าจะต้องต่อสายไปอย่างไรถึงดีที่สุด โดยต่อสายไปยังโอเปอเรเตอร์ชื่อสมศรีที่ทำงานอยู่ที่โรงเรียน B เพื่อให้สมศรีโอนสายไปครูสมบัติ และหากเกิดปัญหาในการต่อสายไปยังสมศรี โอเปอเรเตอร์ที่โรงเรียน A จะสามารถเลือกเส้นทางอื่น เช่น ต่อไปยังโอเปอเรเตอร์คนอื่นที่ประจำอยู่ที่โรงเรียน B เพื่อให้การติดต่อครั้งนี้สำเร็จ





เกตเวย์ (Gateway)



เป็นอุปกรณ์ที่ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่า ที่มีลักษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อกันได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน เปรียบเสมือนเป็นประตูทางผ่านในการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน เช่น ระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไปกับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรม ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นต้น อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็น Gateway นั้นอาจจะใช้คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งทำหน้าที่ก็ได้





แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร



Create Date : 10 มิถุนายน 2552
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 10:22:13 น.

Counter : Pageviews. 52 comments

Add to







Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
ที่มา//www.vcharkarn.com/vcafe/11035



โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:14:28:50 น.







Router ค่อยทำหน้าที่ routing และ สามารถแยกวงแลนได้ด้วยคับ

ฺส่วน Bridge หมายถึง สะพานคับ มันจะทำหน้าที่เชื่อมวงแลน 2 วงเป็นวงเดียวกันคับ

gateway หมายถึงประตูทางออกไปสู่โลกภายนอกคับ (internet)

ส่วนใหญ่สมัยนนี้ gateway กับ router จะทำมาในอุปกรณ์ชุดเดียวกันเลย เรียก gateway router

สมัยนี้ถ้าจะหาชื้อ gateway กับ router เดียวๆละก็หายากคับ

Switch Layer 3 มันจะมองในระดับ IP address และ MAC Address (L 2) และยังทำหน้าที่เป็น Routing ได้ด้วย

Switch Layer 2 มันจะมองในระบบ MAC Address อย่างเดียวเท่านั้น


ที่มา //www.thaiadmin.org/board/index.php?topic=56094.new



โดย: นางสาววิภาวี พลวี (หมู่ 08 พฤ เช้า ) IP: 125.26.168.206 วันที่: 17 มิถุนายน 2552 เวลา:20:47:41 น.







4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238





โดย: นางสาวเกษร อัครฮาด รหัสนักศึกษา 52040003135 หมู่ 29 เรียนพุธเช้า IP: 125.26.172.40 วันที่: 7 กันยายน 2552 เวลา:19:58:14 น.  

 
HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น



โดย: นายจักรกริช โพธิวงษ์ หมู่ 15 ศุกรเช้า IP: 192.168.1.103, 119.42.83.235 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:20:51:48 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้ว
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer
ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
ที่มา; //www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=11035





โดย: นางสาวเบญจมาศ ปวงสุข หมู่ 1 เรียนจันทร์-บ่าย รหัส 5040302108 IP: 119.31.12.25 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:21:01:35 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


โดย: นางสาวกฤติยา เหล่าผักสาร รหัส 52040263134 คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หมู่ 22 อังคารเช้า IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:9:49:00 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

HUBเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
ที่มา
//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm


BRIDGE เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/bridge.htm

ROUTER เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm


GATEWAY เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น


โดย: น.สชไมพร ตะโคตร ม.29 พุธ(ช้า) 520404103 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:12:01:26 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

HUBเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
ที่มา
//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm


BRIDGE เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/bridge.htm

ROUTER เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm




โดย: นางสาว ศิริพร คมกล้า 51040901250 สาขานิติศาสตร์ หมู่ 01 (จันทร์-บ่าย) IP: 222.123.14.135 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:12:20:32 น.  

 
H U B หรือ Repeater
อุปกรณ์ทีใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการกระจายสัญญาณ หรือข้อมูล จะต้องใช้ไฟหล่อเลี้ยงในการทำงาน โดยปกติการเลือก Hub จะดูที่จำนวน Port ที่ต้องการ เช่น 8 ports, 12 ports, 24 ports รวมทั้ง 48 ports เป็นต้น จำนวน port หมายถึง จำนวนในการเชื่อมคอมพิวเตอร์แต่ละตัวเข้าด้วยกัน ดังนั้น Hub 24 ports หมายถึง สามารถเชื่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่าย เข้าด้วยกัน จำนวน 24 เครื่อง
Network Interface Card (NIC)
บางคนอาจเรียกสั้น ๆ ว่า LAN Card หมายถึง Card ที่จะติดตั้งภายในเครื่อง PC ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็ก เท่ากับ VGA Card หรือ Sound Card สำหรับ Lan Card ยังแบ่งออกได้หลายประเภท ทั้งนี้ขึ้นกับความเร็วที่ต้องการ เช่น 10 Mbps, 10/100 Mbps, 100 Mpbs เป็นต้น
Network Cable
สายสัญญาณที่มีลักษณะคล้ายสายโทรศัพท์ ที่นิยมใช้มีดังนี้ UTB, STB ซึ่งการเลือกสายแต่ละประเภทนี้จะขึ้นกับการนำไปใช้ เช่น ติดตั้งภายใน ภายนอก หรือระยะทางไกลแค่ไหน เป็นต้น (UTP สามารถติดตั้งได้ในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร)

นอกจากอุปกรณ์พื้นฐานข้างต้นแล้ว ยังมีอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายอื่นๆ อีกที่น่าสนใจดังนี้
Switch หรือ Bridge
เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยจะต้องเป็นประเภทเดียวกันและโปรโตคอลเหมือนกันเท่านั้น ความสามารถที่ต่างจาก Hub คือสามารถตรวจสอบความผิดพลาดได้ด้วย ส่วนวิธีการติดตั้งจะไม่แตกต่างจาก Hub
Router
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกัน คล้ายกับ Switch แต่ Router สามารถเชื่อมต่อโปรโตคอลเหมือนกัน แต่ media ต่างกัน (หมายถึง ระบบสายเคเบิลต่างกัน)
Gateway
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยใช้โปรโตคอลต่างกัน รวมทั้งการใช้ media ต่างกัน โดยจะทำหน้าที่แปลงโปรโตคอลให้ตรงกับปลายทาง อุปกรณ์ Gateway เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาแพงและติดตั้งค่อนข้างยาก

ที่มา //www.easyzonecorp.net/network/view.php?ID=146





โดย: นาวสาวกาญจนา อุปวันดี หมู่01 วันจันทร์บ่าย IP: 113.53.164.173 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:16:56:42 น.  

 
ข้อ 1 ฮับ (Hub)


เป็นอุปกรณ์ที่มี Repeater หลายๆ ตัวอยู่ในตัวอุปกรณ์เดียวกัน โดยสัญญาณที่เข้าจาก Port หนึ่ง จะถูกปรับปรุงคุณภาพก่อน แล้วส่งออกไปให้ Port ที่เหลือทั้งหมดแบบ Broadcast
Bridge


จะทำงานอยู่ในระดับ Datalink Layer ของ OSI
วิธีการทำงานคล้าย Repeaters แต่จะดีกว่า คือจะมี
การแบ่ง Segment

เป็นอุปกรณ์ใช้เชื่อมต่อวง LAN 2 วงเข้าด้วยกัน
เป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟ์ตแวร์
Router


- ทำงานอยู่ใน Network Layer ของ OSI

- สามารถเลือกหาเส้นทางที่ดีได้/ แต่ไม่ได้แบ่งตายตัว

- ทำงานเสมือนเป็นคอมพิวเตอร์ 1 ตัว ที่มี Mainboard / CPU/RAM/ROM

- เชื่อมต่อเครือข่ายที่มีโปรโตคอลต่างกันได้

- อาจเป็นซอร์ฟแวร์หรือฮาร์ดแวร์ก็ได้

เกตเวย์ (Gateway)


ใช้เชื่อมต่อ LAN ที่ต่างโปรโตคอล , ต่าง Media กันได้
ใช้เชื่อมต่อ LAN ที่ต่างสถาปัตยกรรมกันได้
จะใช้ Routing Table และมักมีฟังก์ชั่น Firewall ด้วย
ราคาแพง การติดตั้งยุ่งยากและซับซ้อนมาก
ปกติมักเป็น Software ที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์

ที่มา //74.125.153.132/search?q=cache:FcFy6jMoS-AJ:st.mengrai.ac.th/users/network/text1.ppt+hub+bridge+router+gateway+%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3&cd=5&hl=th&ct=clnk&gl=th




โดย: นางสาวประสิทธิ์พร เพ็งสอน (หมู่01 วันจัททร์บ่าย) IP: 113.53.164.173 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:17:01:10 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้ว
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer
ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
ที่มา; //www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=11035


โดย: นางสาวปิยนุช แสงจันทร์ (หมู่01 วันจันทร์บ่าย) IP: 113.53.164.173 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:17:04:47 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
HUBเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
ที่มา
//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm


BRIDGE เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/bridge.htm

ROUTER เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm






โดย: นายสันทัด คูหานา 51241151129 หมู่ 05 รูปแบบพิเศษ IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:13:24:30 น.  

 

4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

ตอบ
Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
//www.chakkham.ac.th/technology/network/equ.html


โดย: พ.อ.อ.ปิยะ หอมชื่น 51241151144 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:13:25:59 น.  

 
ข้อ 1 ฮับ (Hub)


เป็นอุปกรณ์ที่มี Repeater หลายๆ ตัวอยู่ในตัวอุปกรณ์เดียวกัน โดยสัญญาณที่เข้าจาก Port หนึ่ง จะถูกปรับปรุงคุณภาพก่อน แล้วส่งออกไปให้ Port ที่เหลือทั้งหมดแบบ Broadcast
Bridge


จะทำงานอยู่ในระดับ Datalink Layer ของ OSI
วิธีการทำงานคล้าย Repeaters แต่จะดีกว่า คือจะมี
การแบ่ง Segment

เป็นอุปกรณ์ใช้เชื่อมต่อวง LAN 2 วงเข้าด้วยกัน
เป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟ์ตแวร์
Router


- ทำงานอยู่ใน Network Layer ของ OSI

- สามารถเลือกหาเส้นทางที่ดีได้/ แต่ไม่ได้แบ่งตายตัว

- ทำงานเสมือนเป็นคอมพิวเตอร์ 1 ตัว ที่มี Mainboard / CPU/RAM/ROM

- เชื่อมต่อเครือข่ายที่มีโปรโตคอลต่างกันได้

- อาจเป็นซอร์ฟแวร์หรือฮาร์ดแวร์ก็ได้

เกตเวย์ (Gateway)


ใช้เชื่อมต่อ LAN ที่ต่างโปรโตคอล , ต่าง Media กันได้
ใช้เชื่อมต่อ LAN ที่ต่างสถาปัตยกรรมกันได้
จะใช้ Routing Table และมักมีฟังก์ชั่น Firewall ด้วย
ราคาแพง การติดตั้งยุ่งยากและซับซ้อนมาก
ปกติมักเป็น Software ที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์

ที่มา //74.125.153.132/search?q=cache:FcFy6jMoS-AJ:st.mengrai.ac.th/users/network/text1.ppt+hub+bridge+router+gateway+%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8


โดย: นายสุรพล อินทร์ธิราช หมู่ 05 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:13:26:52 น.  

 
4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238





โดย: นายวิทวัฒน์ พากุล รหัสนักศึกษา 52042055102 หมู่ 29 ( พุธ เช้า ) IP: 192.168.1.103, 119.42.82.83 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:20:26:13 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
=เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238



โดย: นางสาว สมร นาแพงหมื่น 51241151220 หมู่ 05 เสาร์บ่าย รปศ. IP: 114.128.22.203 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:12:12:49 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ อุปกรณ์เครือข่าย (Network Devices)
การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็น LAN หรือ WAN ได้นั้นจะต้องอาศัยสิ่งที่เรียกว่า “อุปกรณ์เครือข่าย (Network Device)” มีด้วยกันทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก่ อุปกรณ์ทวนสัญญา (Repeater) ฮับ (Hub) บริดจ์ (Bridge) เราเตอร์ (Router) สวิตซ์ (Switch) และเกตเวย์ (Gateway) ดังรายละเอียดต่อไปนี้

- อุปกรณ์ทวนสัญญาณ (Repeater)
อุปกรณ์ทวนสัญญาณ ทำงานใน Layer ที่ 1 OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับสัญญาณดิจิตอลเข้ามาแล้วสร้างใหม่ (Regenerate) ให้เป็นเหมือนสัญญาณ (ข้อมูล) เดิมที่ส่งมาจากต้นทาง จากนั้นค่อยส่งต่อออกไปยังอุปกรณ์ตัวอื่น เหตุที่ต้องใช้ Repeater เนื่องจากว่าการส่งสัญญาณไปในตัวกลางที่เป็นสายสัญญาณนั้น เมื่อระยะทางมากขึ้นแรงดันของสัญญาณจะลดลงเรื่อย ๆ จึงไม่สามารถส่งสัญญาณในระยะทางไกล ๆ ได้ ดังนั้นการใช้ Repeater จะทำให้สามารถส่งสัญญาณไปได้ไกลขึ้น โดยที่สัญญาณไม่สูญหาย

เครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 (Segment หมายถึง ส่วนย่อย ๆ ของเครือข่าย LAN) เชื่อมต่อยู่กับคอมพิวเตอร์ใน Segment 2 แต่ทั้งสองเครื่องนี้มีระยะห่างกันมาก จึงต้องใช้ Repeater แต่จะกระจายสัญญาณที่ทวนนั้นออกไปยังคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับฮับด้วย
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังรูปที่ 4.40

- เราเตอร์ (Router)
เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- สวิตซ์
สวิตซ์ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ Layer-2 Switch และ Layer-3 Switch ดังรายละเอียดต่อไปนี้
Layer-2 Switch หรือ L2 Switch ก็คือ Bridge แต่เป็น Bridge ที่มี Interface ในการเชื่อมต่อกับ Segment มากขึ้น ทำให้สามารถแบ่งเครือข่าย LAN ออกเป็น Segment ย่อย ๆ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการเครือข่ายได้ดียิ่งขึ้น และประสิทธิภาพในการทำงานของ L2 Switch ก็สูงกว่า Bridge ทำให้ในปัจจุบันนิยมใช้งาน L2 Switch แทน Bridge
Layer-3 Switch หรือ L3 Switch ก็คือ Router ที่ได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่มีราคาถูกลง โดย L3 Switch นี้จะสามารถจัดการกับเครือข่ายที่มี Segment มาก ๆ ได้ดีกว่า Router

- เกตเวย์ (Gateway)
เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว

ที่มา:www.surasak009.blogspot.com





โดย: นางสาวจุรีพร โดคตชมภุ รหัส 52040332125 พฤหัส (เช้า) หมู่ 8 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:15:42:42 น.  

 
4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


โดย: จ.ส.ต.เสกสิท วงศรีรักษา 51241151128 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:16:05:01 น.  

 
.1. 4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ฮับ (HUB) เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน


บริดจ์( BRIDGE) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น


เราท์เตอร์ (ROUTER) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เกตเวย์ (GATEWAY) เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น

//edu.swu.ac.th/edtech/e_learn_lesson/com_edu/nuch/unit6_3.htm




โดย: จ.ส.อ. อาสา โสมประยูร 51241151211 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:16:07:11 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
HUBเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
ที่มา
//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm


BRIDGE เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/bridge.htm

ROUTER เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm


โดย: จ.ส.ต.หญิง พรรสุภา ชิตเกษร 51241151125 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:16:10:02 น.  

 
HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร



เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238





โดย: นายอภิเชษฐ์ หาคำ ม.8 พฤหัส (เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:16:46:27 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

ตอบ -HUBเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน

BRIDGE เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/bridge.htm

ROUTER เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ที่มา//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm





โดย: น.ส.จิตราภรณ์ ภุเกตุ หมู่ 8 พฤหัสเช้า IP: 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:12:28 น.  

 
.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

ฮับ (Hub)

เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน

บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายประเภทเดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มีใช้มานานแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่าย การติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันมีลักษณะการส่ง ข้อมูลแบบกระจาย

เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์จะรับข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตเข้ามาตรวจสอบแอดเดรสปลายทาง จากนั้นนำมาเปรียบเทียบกับตารางเส้นทางที่ได้รับการโปรแกรมไว้ เพื่อหาเส้นทางที่ส่งต่อ หากเส้นทาง ที่ส่งมาจากอีเทอร์เน็ต และส่งต่อออกช่องทางของ Port WAN ที่เป็นแบบจุดไปจุด ก็จะมีการปรับปรุงรูปแบบสัญญาณให้เข้ากับมาตรฐานใหม่ เพื่อส่งไปยังเครือข่าย WAN

เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น



//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/gateway.htm


โดย: น.สสุกัญญา แก้วคูณเมือง รหัส 51241151122 หมู05 รูปแบบพิเศษ IP: 118.173.244.173 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:18:48:34 น.  

 
ฮับ (Hub). เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน. | คอมพิวเตอร์ | เซอร์เวอร์ | ฮับ | บริดจ์ | เราท์เตอร์ ...
www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายประเภทเดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มีใช้มานานแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่าย การติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันมีลักษณะการส่ง ข้อมูลแบบกระจาย (Broadcasting) ดังนั้น จึงกระจายได้เฉพาะเครือข่ายเดียวกันเท่านั้น การรับส่งภายในเครือข่ายมีข้อกำหนดให้แพ็กเก็ตที่ส่งกระจายไปยังตัวรับได้ทุกตัว แต่ถ้ามีการส่งมาที่แอดเดรสต่างเครือข่าย บริดจ์จะนำข้อมูลเฉพาะแพ็กเก็ตนั้นส่งให้ บริดจ์จึงเป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูล ระหว่างเครือข่ายให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย ของตน ไม่ปะปนไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง เพื่อลดปัญหาปริมาณข้อมูลกระจายในสายสื่อสารมากเกินไป ในระยะหลังมีผู้พัฒนาบริดจ์ให้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างชนิดกันได้ เช่น อีเทอร์เน็ตกับโทเก็นริง เป็นต้น หากมีการเชื่อมต่อเครือข่ายมากกว่าสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเครือข่ายที่เชื่อมมีลักษณะหลากหลาย ซึ่งเป็นทั้งเครือข่ายแบบ LAN และ WAN อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงคือ เราเตอร์ (Router)
//www.ku.ac.th/magazine_online/bridge.html
เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อ//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm

เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น //www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/gateway.htm






โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:14:41:53 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ ฮับ (Hub) ฮับ หรือตัวย้ำสัญญาณ เป็นอุปกรณ์ง่ายๆ ที่เชื่อมกลุ่มผู้ใช้ไว้ด้วยกัน ฮับจะส่งต่อทุกๆ ข้อมูลไม่ว่าจะเป็นอีเมล์ เอกสาร รูปภาพ คำสั่งพิมพ์งานจากผู้ใช้ที่ส่งมาไปยังผู้ใช้อื่นๆ ทุกคนที่ต่อร่วมกันบนฮับเดียวกัน ผู้ใช้ที่ต่ออยู่บนฮับตัวเดียว หรือต่อเชื่อมต่อผ่านฮับหลายตัวก็ตาม จะแบ่งกันใช้ความจุของสายร่วมกัน นั่นหมายถึง ยิ่งมีผู้ใช้เชื่อมต่อเพิ่มมากขึ้นเท่าไร ก็ต้องแบ่งความจุ ของสายในการรับส่งข้อมูลมากขึ้น ทำให้ผู้ใช้แต่ละคนจะส่งได้ช้าลง เมื่อมีผู้ใช้เพิ่มในฮับมากขึ้น
เพื่อ ให้เข้าใจชัดเจนขึ้นว่า ฮับช่วยระบบเครือข่าย ทางธุรกิจคุณได้อย่างไร ให้คุณนึกถึงโรงเรียน ที่มีสายโทรศัพท์เพียงสายเดียว สำหรับห้องพักครูทุกห้อง เมื่อครูในห้องพักครู ต้องการโทรไปยังอีกห้องพักครูหนึ่ง โทรศัพท์จะดังไปทุกๆ ห้อง ครูที่พักอยู่ในแต่ละห้องทุกห้อง ต้องรับโทรศัพท์แล้วฟังว่าเป็นสายของใคร และในขณะที่มีคนใช้โทรศัพท์อยู่ คนอื่นๆ จะไม่สามารถใช้โทรศัพท์ได้ในเวลานั้น ถ้าครูมาพักน้อย การวางระบบเช่นนี้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ในช่วงเวลาที่มีการใช้โทรศัพท์บ่อย การติดต่อก็จะทำให้ยาก เพราะโทรศัพท์สายไม่ว่างตลอด
บริดจ์ (ฺBridge) เป็น อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระบบ LAN เข้าด้วยกัน โดยออกแบบมาเพื่อใช้ติดต่อระหว่างเครือข่ายท้องถิ่น LAN จำนวน 2 เครือข่าย ที่มีโปรโตคอลเหมือนกันหรือต่างกัน เพื่อให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้ โดยประสิทธิภาพในทางรวมลดลงไม่มาก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องอยู่ในเซกเมนด์เดียวกัน จะไม่มีการส่งผ่านต่างเซกเมนด์ (Segment)
เราท์เตอร์ (Router) เปรียบเทียบระหว่างฮับ และสวิตช์แล้ว เราท์เตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ฉลาดกว่า เราท์เตอร์ใช้เพื่อ การส่งต่อข้อมูลที่จุดหมายซับซ้อนกว่ามาก โดยตัดสินใจส่งต่อข้อมูลจาก "ตารางสำหรับการเราต์" อุปกรณ์เราท์เตอร์ จะทำให้การส่งต่อข้อมูลไปตามเส้นทาง ที่มีประสิทธิภาพที่สุด ไม่ว่าจะส่งต่อจากเราท์เตอร์ ไปยังเครื่องต่างๆ หรือส่งจากเราท์เตอร์ ไปยังเราท์เตอร์อีกตัว และถ้าการเชื่อมระหว่างเราท์เตอร์ 2 ตัวที่จะส่งไปขาด มันยังสามารถตัดสินใจ เปลี่ยนเส้นทางที่เหมาะสมเอง ได้อีกด้วย เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่น และไม่ขาดตอน เราท์เตอร์อาจใช้เพื่อเชื่อมเข้ากับ ระบบเครือข่ายอื่นๆ ที่มีวิธีในการรับส่งข้อมูล ที่ต่างไปจากระบบเครือข่ายที่เราใช้งานอยู่ได้ โดยแต่ละระบบเครือข่าย อาจพูดต่างภาษากัน หรือในศัพท์ทางคอมพิวเตอร์คือ แต่ละระบบเครือข่ายใช่ต่าง "โพรโตคอล (Protocol)" ตัวอย่างของโพรโตคอล เช่น อินเทอร์เน็ตโพรโตคอล (ไอพี), อินเทอร์เน็ตแพ็กเก็ตเอ็กซ์เชนจ์ (ไอพีเอ็กซ์) หรือแอปเปิลทอล์ก นอกจากนั้น เราท์เตอร์ยังไม่ใช่ เพียงสามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายต่างๆ ในอาคารไว้ด้วยกันเท่านั้น แต่มีจุดเชื่อมต่อไปยังภายนอก (หรือเรียกว่า ซ็อกเก็ต (Socket) เชื่อมออกไปสู่บริการแบบ ระบบเครือข่ายพื้นที่กว้าง (Wide area Network-WAN) ได้อีกด้วย บริการแวนจะทำให้คุณสามารถ ติดต่อสื่อสารกระจายออกไปสู่ระบบเครือข่ายอื่นๆ ทั่วโลกได้ เพื่อ เข้าใจความหมายการทำงานของเราท์เตอร์ (เรียกว่า เราติง) ให้เปรียบไปถึงโรงเรียน A และโรงเรียนอื่นๆ ทั้งหมดที่ได้ฝึกโอเปอเรเตอร์ ให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อครูที่ชื่อสมชายโทรศัพท์จากโรงเรียน A โทรไปครูชื่อสมบัติที่สอนอยู่อีกโรงเรียนที่ชื่อ B โอเปอเรเตอร์ที่โรงเรียน A จะรู้ทันทีว่าจะต้องต่อสายไปอย่างไรถึงดีที่สุด โดยต่อสายไปยังโอเปอเรเตอร์ชื่อสมศรีที่ทำงานอยู่ที่โรงเรียน B เพื่อให้สมศรีโอนสายไปครูสมบัติ และหากเกิดปัญหาในการต่อสายไปยังสมศรี โอเปอเรเตอร์ที่โรงเรียน A จะสามารถเลือกเส้นทางอื่น เช่น ต่อไปยังโอเปอเรเตอร์คนอื่นที่ประจำอยู่ที่โรงเรียน B เพื่อให้การติดต่อครั้งนี้สำเร็จ



เกตเวย์ (Gateway) เป็น อุปกรณ์ที่ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่า ที่มีลักษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อกันได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน เปรียบเสมือนเป็นประตูทางผ่านในการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ต่างชนิด กัน เช่น ระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไปกับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรม ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นต้น อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็น Gateway นั้นอาจจะใช้คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งทำหน้าที่ก็ได้
ที่มา : //www.tanti.ac.th/Comtranning/NetWork/gateway.htm










โดย: นางสาวเบญจมาศ ปวงสุข หมู1 เรียนจันทร์-บ่าย รหัส 50040302108 IP: 110.49.163.169 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:15:24:42 น.  

 
4.แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร


Hub ทำหน้าที่เปรียบศูนย์กลางที่กระจายข้อมูล ใช้ในการต่อแลนแบบดาว
การเลือกซื้อฮับก็ตามปริมาณช่อง (port) ที่ใช้ว่าจะเชื่อมโยงกี่เครื่อง

ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ ในเครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยทำการขยายสัญญาณจาก Port หนึ่งไปยัง Port อื่นที่ทำการสื่อสารติดต่อกัน ทั้งนี้ HUB ไม่เหมาะกับระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ เพราะมีปัญหาเรื่องความเร็วในการสื่อสาร


บริดจ์ เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น .


Bridge

บริดจ์มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่
เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้


เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ


Gateway เป็นจุดต่อเชื่อมของเครือข่ายทำหน้าที่เป็นทางเข้าสู่ระบบเครือข่ายต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต ในความหมายของ router ระบบเครือข่ายประกอบด้วย node ของ gateway และ node ของ host เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ในเครือข่าย และคอมพิวเตอร์ที่เครื่องแม่ข่ายมีฐานะเป็น node แบบ host ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ควบคุมการจราจรภายในเครือข่าย หรือผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต คือ node แบบ gateway

ในระบบเครือข่ายของหน่วยธุรกิจ เครื่องแม่ข่ายที่เป็น node แบบ gateway มักจะทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายแบบ proxy และเครื่องแม่ข่ายแบบ firewall นอกจากนี้ gateway ยังรวมถึง router และ switch




โดย: นางสาวนฤมล ภูหนองโอง รหัสนักศึกษา 52040264108 หมู่ 29 (พุธ-เช้า) IP: 125.26.177.195 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:16:13:33 น.  

 
ฮับ (Hub)

เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น .


Bridge

บริดจ์มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่
เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้

เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น


//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/gateway.htm

นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115


โดย: นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115 IP: 192.168.1.124, 124.157.149.201 วันที่: 20 กันยายน 2552 เวลา:12:33:08 น.  

 



Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
ที่มา//www.vcharkarn.com/vcafe/11035


โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 58.137.131.62 วันที่: 20 กันยายน 2552 เวลา:16:16:47 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ - เราเตอร์ (Router)
เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)
เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238






โดย: นางสาวหนึ่งฤทัย มังคละแสน คณะมนุษศษสตร์และสังคมศาสตร์ สาขานิติศาสตร์หมู่01 จ.บ่าย IP: 124.157.147.100 วันที่: 23 กันยายน 2552 เวลา:20:11:29 น.  

 

Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
ที่มา//www.vcharkarn.com/vcafe/11035


โดย: ส.อ.ชาคร ทานินนท์ หมู่ 05 5124151208 IP: 125.26.164.16 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:11:38:13 น.  

 
4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)
เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)
เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


นายตง ประดิชญากาญจน์ หมู่ 22 อังคารเช้า


โดย: นายตง ประดิชญากาญจน์ IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:13:47:28 น.  

 
ฮับ (Hub)

เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน

บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายประเภทเดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มีใช้มานานแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่าย การติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันมีลักษณะการส่ง ข้อมูลแบบกระจาย (Broadcasting) ดังนั้น จึงกระจายได้เฉพาะเครือข่ายเดียวกันเท่านั้น การรับส่งภายในเครือข่ายมีข้อกำหนดให้แพ็กเก็ตที่ส่งกระจายไปยังตัวรับได้ทุกตัว แต่ถ้ามีการส่งมาที่แอดเดรสต่างเครือข่าย บริดจ์จะนำข้อมูลเฉพาะแพ็กเก็ตนั้นส่งให้ บริดจ์จึงเป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูล ระหว่างเครือข่ายให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย ของตน ไม่ปะปนไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง เพื่อลดปัญหาปริมาณข้อมูลกระจายในสายสื่อสารมากเกินไป ในระยะหลังมีผู้พัฒนาบริดจ์ให้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างชนิดกันได้ เช่น อีเทอร์เน็ตกับโทเก็นริง เป็นต้น หากมีการเชื่อมต่อเครือข่ายมากกว่าสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเครือข่ายที่เชื่อมมีลักษณะหลากหลาย ซึ่งเป็นทั้งเครือข่ายแบบ LAN และ WAN อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงคือ เราเตอร์ (Router)

เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย

เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น



//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/gateway.htm

เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ



โดย: นายชัยวัฒน์ ศรีอุต หมู่ 22 อังคาร (เช้า) IP: 192.168.1.108, 124.157.139.216 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:08:51 น.  

 
4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)
เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)
เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238

นายศราวุฒิ ทดกลาง หมู่22(อ.เช้า)


โดย: นายศราวุฒิ ทดกลาง IP: 58.137.131.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:38:32 น.  

 

4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


โดย: นายอายุวัฒฯ นามมาลา หมู่.29 พุธเช้า IP: 172.23.8.231, 58.137.131.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:42:17 น.  

 
4.1

H U B หรือ Repeater
อุปกรณ์ทีใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการกระจายสัญญาณ หรือข้อมูล จะต้องใช้ไฟหล่อเลี้ยงในการทำงาน โดยปกติการเลือก Hub จะดูที่จำนวน Port ที่ต้องการ เช่น 8 ports, 12 ports, 24 ports รวมทั้ง 48 ports เป็นต้น จำนวน port หมายถึง จำนวนในการเชื่อมคอมพิวเตอร์แต่ละตัวเข้าด้วยกัน ดังนั้น Hub 24 ports หมายถึง สามารถเชื่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่าย เข้าด้วยกัน จำนวน 24 เครื่อง
Network Interface Card (NIC)
บางคนอาจเรียกสั้น ๆ ว่า LAN Card หมายถึง Card ที่จะติดตั้งภายในเครื่อง PC ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็ก เท่ากับ VGA Card หรือ Sound Card สำหรับ Lan Card ยังแบ่งออกได้หลายประเภท ทั้งนี้ขึ้นกับความเร็วที่ต้องการ เช่น 10 Mbps, 10/100 Mbps, 100 Mpbs เป็นต้น
Network Cable
สายสัญญาณที่มีลักษณะคล้ายสายโทรศัพท์ ที่นิยมใช้มีดังนี้ UTB, STB ซึ่งการเลือกสายแต่ละประเภทนี้จะขึ้นกับการนำไปใช้ เช่น ติดตั้งภายใน ภายนอก หรือระยะทางไกลแค่ไหน เป็นต้น (UTP สามารถติดตั้งได้ในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร)

นอกจากอุปกรณ์พื้นฐานข้างต้นแล้ว ยังมีอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายอื่นๆ อีกที่น่าสนใจดังนี้
Switch หรือ Bridge
เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยจะต้องเป็นประเภทเดียวกันและโปรโตคอลเหมือนกันเท่านั้น ความสามารถที่ต่างจาก Hub คือสามารถตรวจสอบความผิดพลาดได้ด้วย ส่วนวิธีการติดตั้งจะไม่แตกต่างจาก Hub
Router
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกัน คล้ายกับ Switch แต่ Router สามารถเชื่อมต่อโปรโตคอลเหมือนกัน แต่ media ต่างกัน (หมายถึง ระบบสายเคเบิลต่างกัน)
Gateway
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยใช้โปรโตคอลต่างกัน รวมทั้งการใช้ media ต่างกัน โดยจะทำหน้าที่แปลงโปรโตคอลให้ตรงกับปลายทาง อุปกรณ์ Gateway เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาแพงและติดตั้งค่อนข้างยาก

ที่มา //www.easyzonecorp.net/network/view.php?ID=146


โดย: น.ส.นฤมล หมู่หาญ 52040263122 หมู่ 22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.31, 58.137.131.62 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:10:57:32 น.  

 
ฮับ (Hub). เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน. | คอมพิวเตอร์ | เซอร์เวอร์ | ฮับ | บริดจ์ | เราท์เตอร์ ...
www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายประเภทเดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มีใช้มานานแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่าย การติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันมีลักษณะการส่ง ข้อมูลแบบกระจาย (Broadcasting) ดังนั้น จึงกระจายได้เฉพาะเครือข่ายเดียวกันเท่านั้น การรับส่งภายในเครือข่ายมีข้อกำหนดให้แพ็กเก็ตที่ส่งกระจายไปยังตัวรับได้ทุกตัว แต่ถ้ามีการส่งมาที่แอดเดรสต่างเครือข่าย บริดจ์จะนำข้อมูลเฉพาะแพ็กเก็ตนั้นส่งให้ บริดจ์จึงเป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูล ระหว่างเครือข่ายให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย ของตน ไม่ปะปนไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง เพื่อลดปัญหาปริมาณข้อมูลกระจายในสายสื่อสารมากเกินไป ในระยะหลังมีผู้พัฒนาบริดจ์ให้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างชนิดกันได้ เช่น อีเทอร์เน็ตกับโทเก็นริง เป็นต้น หากมีการเชื่อมต่อเครือข่ายมากกว่าสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเครือข่ายที่เชื่อมมีลักษณะหลากหลาย ซึ่งเป็นทั้งเครือข่ายแบบ LAN และ WAN อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงคือ เราเตอร์ (Router)
//www.ku.ac.th/magazine_online/bridge.html
เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อ//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm

เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น //www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/gateway.htm



โดย: น.ส.นงนุช นาเจริญ 52040258129 หมู่ที่ 22 เรียนอังคารเช้า IP: 1.1.1.31, 58.137.131.62 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:10:59:17 น.  

 
Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
ที่มา//www.vcharkarn.com/vcafe/11035




โดย: นายวัชฤทธิ์ มวลพิทักษ์ หมู่ 22 อ.เช้า IP: 125.26.175.79 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:13:57:58 น.  

 
การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็น LAN หรือ WAN ได้นั้นจะต้องอาศัยสิ่งที่เรียกว่า “อุปกรณ์เครือข่าย (Network Device)” มีด้วยกันทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก่ อุปกรณ์ทวนสัญญา (Repeater) ฮับ (Hub) บริดจ์ (Bridge) เราเตอร์ (Router) สวิตซ์ (Switch) และเกตเวย์ (Gateway) ดังรายละเอียดต่อไปนี้




- อุปกรณ์ทวนสัญญาณ (Repeater)
อุปกรณ์ทวนสัญญาณ ทำงานใน Layer ที่ 1 OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับสัญญาณดิจิตอลเข้ามาแล้วสร้างใหม่ (Regenerate) ให้เป็นเหมือนสัญญาณ (ข้อมูล) เดิมที่ส่งมาจากต้นทาง จากนั้นค่อยส่งต่อออกไปยังอุปกรณ์ตัวอื่น เหตุที่ต้องใช้ Repeater เนื่องจากว่าการส่งสัญญาณไปในตัวกลางที่เป็นสายสัญญาณนั้น เมื่อระยะทางมากขึ้นแรงดันของสัญญาณจะลดลงเรื่อย ๆ จึงไม่สามารถส่งสัญญาณในระยะทางไกล ๆ ได้ ดังนั้นการใช้ Repeater จะทำให้สามารถส่งสัญญาณไปได้ไกลขึ้น โดยที่สัญญาณไม่สูญหาย



รูปที่ 4.38 แสดงการเชื่อมต่อ Repeater เข้ากับเครือข่าย


จากรูปที่ 4.38 จะเห็นว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 (Segment หมายถึง ส่วนย่อย ๆ ของเครือข่าย LAN) เชื่อมต่อยู่กับคอมพิวเตอร์ใน Segment 2 แต่ทั้งสองเครื่องนี้มีระยะห่างกันมาก จึงต้องใช้ Repeater แต่จะกระจายสัญญาณที่ทวนนั้นออกไปยังคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับฮับด้วย



รูปที่ 4.39 แสดงการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่ายโดยใช้ Hub


จากรูปที่ 4.39 เป็นการใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังรูปที่ 4.40






- เราเตอร์ (Router)
เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด



- สวิตซ์
สวิตซ์ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ Layer-2 Switch และ Layer-3 Switch ดังรายละเอียดต่อไปนี้
Layer-2 Switch หรือ L2 Switch ก็คือ Bridge แต่เป็น Bridge ที่มี Interface ในการเชื่อมต่อกับ Segment มากขึ้น ทำให้สามารถแบ่งเครือข่าย LAN ออกเป็น Segment ย่อย ๆ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการเครือข่ายได้ดียิ่งขึ้น และประสิทธิภาพในการทำงานของ L2 Switch ก็สูงกว่า Bridge ทำให้ในปัจจุบันนิยมใช้งาน L2 Switch แทน Bridge
Layer-3 Switch หรือ L3 Switch ก็คือ Router ที่ได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่มีราคาถูกลง โดย L3 Switch นี้จะสามารถจัดการกับเครือข่ายที่มี Segment มาก ๆ ได้ดีกว่า Router


- เกตเวย์ (Gateway)
เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว



โดย: นางสาวลำไพ พูลเกษ ม.15 (ศุกร์เช้า) IP: 1.1.1.47, 58.137.131.62 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:15:14:17 น.  

 
4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


โดย: ปรีชา กลมเกลียว หมู่8 พฤหัสบดีเช้า รหัส 52040901222 IP: 124.157.139.201 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:16:54:22 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238





โดย: นาย เกรียงไกร สลับศรี หมู่1 จ.บ่าย IP: 192.168.10.107, 117.47.135.97 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:21:35:15 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

ตอบข้อ4.1
- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238





นายเจริญชัย ผ่ามดิน หมู่ 22 (อ.เช้า)


โดย: นายเจริญชัย ผ่ามดิน IP: 58.147.7.66 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:11:52:43 น.  

 
HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

=H U B หรือ Repeater
อุปกรณ์ทีใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการกระจายสัญญาณ หรือข้อมูล จะต้องใช้ไฟหล่อเลี้ยงในการทำงาน โดยปกติการเลือก Hub จะดูที่จำนวน Port ที่ต้องการ เช่น 8 ports, 12 ports, 24 ports รวมทั้ง 48 ports เป็นต้น จำนวน port หมายถึง จำนวนในการเชื่อมคอมพิวเตอร์แต่ละตัวเข้าด้วยกัน ดังนั้น Hub 24 ports หมายถึง สามารถเชื่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่าย เข้าด้วยกัน จำนวน 24 เครื่อง
Network Interface Card (NIC)
บางคนอาจเรียกสั้น ๆ ว่า LAN Card หมายถึง Card ที่จะติดตั้งภายในเครื่อง PC ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็ก เท่ากับ VGA Card หรือ Sound Card สำหรับ Lan Card ยังแบ่งออกได้หลายประเภท ทั้งนี้ขึ้นกับความเร็วที่ต้องการ เช่น 10 Mbps, 10/100 Mbps, 100 Mpbs เป็นต้น
Network Cable
สายสัญญาณที่มีลักษณะคล้ายสายโทรศัพท์ ที่นิยมใช้มีดังนี้ UTB, STB ซึ่งการเลือกสายแต่ละประเภทนี้จะขึ้นกับการนำไปใช้ เช่น ติดตั้งภายใน ภายนอก หรือระยะทางไกลแค่ไหน เป็นต้น (UTP สามารถติดตั้งได้ในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร)

นอกจากอุปกรณ์พื้นฐานข้างต้นแล้ว ยังมีอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายอื่นๆ อีกที่น่าสนใจดังนี้
Switch หรือ Bridge
เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยจะต้องเป็นประเภทเดียวกันและโปรโตคอลเหมือนกันเท่านั้น ความสามารถที่ต่างจาก Hub คือสามารถตรวจสอบความผิดพลาดได้ด้วย ส่วนวิธีการติดตั้งจะไม่แตกต่างจาก Hub
Router
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกัน คล้ายกับ Switch แต่ Router สามารถเชื่อมต่อโปรโตคอลเหมือนกัน แต่ media ต่างกัน (หมายถึง ระบบสายเคเบิลต่างกัน)
Gateway
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยใช้โปรโตคอลต่างกัน รวมทั้งการใช้ media ต่างกัน โดยจะทำหน้าที่แปลงโปรโตคอลให้ตรงกับปลายทาง อุปกรณ์ Gateway เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาแพงและติดตั้งค่อนข้างยาก

ที่มา //www.easyzonecorp.net/network/view.php?ID=146


โดย: นางสาวนงลักษณ์ ทุมลา หมู่1 จันทร์บ่าย IP: 119.42.110.112 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:17:52:14 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


โดย: น.ส.ศิราณี ผิววงษ์ 52040258102 เรียนอังคารเช้า หมู่ 22 IP: 1.1.1.244, 202.29.5.62 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:18:36:16 น.  

 
ความแตกต่างระหว่างฮับและเราท์เตอร์
อุปกรณ์ฮับ (Hub) จะถูกใช้สำหรับการเชื่อโยงคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง ให้ทำงานร่วมกันเป็นเครือข่าย โดยสายเคเบิลที่เชื่อมต่อจากคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต่อกลับเข้ามาที่ตัวฮับ ซึ่งทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายสามารถแชร์ไฟล์ และเครื่องพิมพ์ ได้เป็นต้น

ส่วนอุปกรณ์ที่เรียกว่า Router จะถูกนำไปใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่ง (เช่นที่บ้านของคุณ) เข้ากับอีกเครือข่ายหนึ่ง (อินเตอร์เน็ต) ในกรณีนี้แนะนำให้ใช้อุปกรณ์เราเตอร์ที่มาพร้อมกับฮับในตัว เพราะมันจะช่วยให้คุณสามารถใช้ฮับเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในบ้านได้ และเราเตอร์สำหรับเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั่นเอง
(Bridge)
จะทำหน้าที่เหมือน Repeater ที่สามารถทำการเชื่อมต่อ Segment หรือเครือข่ายแบบ Workgroup ใช้เชื่อมต่อระบบเครือข่าย 2 กลุ่มเข้าด้วยกัน อย่างไรก็ตาม Bridge สามารถใช้ในการแยกระบบเครือข่าย และแก้ปัญหาสัญญาณในระบบได้ ตัวอย่างเช่น ถ้ามีเครื่องใด หรือกลุ่มคอมพิวเตอร์ใดที่มีการส่งข้อมูลออกมาเป็นปริมาณมาก จนเป็นผลให้ความเร็วของระบบลดลง การเลือกใช้ Bridge สามารถที่จะทำการแยกเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น หรือกลุ่มของคอมพิวเตอร์ที่มีปัญหาออกจากระบบโดยรวมได้
Gateway ช่วยให้เครือข่ายมีความแตกต่างกันในด้านโครงสร้างและสภาพแวดล้อม สามารถทำการติดต่อสื่อสารกันได้ โดยการแปลงลักษณะของข้อมูล Packet จากรูปแบบหนึ่งไปสู่อีกรูปแบบหนึ่ง ทำให้สามารถทำการติดต่อสื่อสารกันได้ การแปลงลักษณะของ Packet นั้นจะเป็นการแปลงให้สามารถใช้งานกับระบบเครือข่ายปลายทางได้ จากความสามารถนี้ทำให้ Gateway ทำหน้าที่ในด่านสุดท้ายในการส่งข้อมูล ตัวอย่างเช่น Electronic Mail Gateway เช่น x.400 Gateway จะทำการรับข้อมูลในรูปแบบหนึ่ง และทำการแปลงก่อนที่จะทำการส่งออกไป รับข้อมูลในรูปแบบของ x.400 ที่ปลายทางเข้าใจได้ และกระทำเช่นเดียวกันในขั้นตอนการรับข้อมูล
Gateway จะทำการเชื่อมต่อระบบที่มีความแตกต่างในด้าน
- Protocol ที่ใช้ในการสื่อสาร
- โครงสร้างข้อมูลที่ต่างกัน
- ภาษาที่ต่างกัน
- โครงสร้างที่ต่างกัน
Gateway จะทำการเชื่อมระบบเครือข่ายต่างชนิดกัน เช่น สามารถเชื่อมเครือข่ายของ Microsoft Windows NT Server ไปยังเครือข่ายของ IBM ที่เรียกว่า System Network Architeture (SNA) ได้โดย Gateway จะทำการเปลี่ยนรูปแบบของข้อมูลจากรูปแบบที่เป็นอยู่ ให้เป็นรูปแบบเดียวกับเครือข่ายปลายทาง

ที่มา
https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=numpuang&date=10-06-2009&group=10&gblog=13
//www.cptd.chandra.ac.th/rawin/chap6.doc





โดย: นางสาวสุจิตรา อินทสร้อย 52040258139 เรียนอังคารเช้า หมู่ 22 IP: 124.157.151.227 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:20:24:49 น.  

 
Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้อมูลได้
ที่มา//www.vcharkarn.com/vcafe/11035


โดย: น.ส.คนึงนิจ ผิวบาง ม.22 เรียนเช้าวันอังคาร IP: 124.157.148.92 วันที่: 29 กันยายน 2552 เวลา:18:26:24 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ฮับ (Hub)

เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน
ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ
ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน
ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น .


Bridge

บริดจ์มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่
เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้

เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
เก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น


//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/gateway.htm





โดย: น.ส.สกัญญา พรมสวัสดิ์ (หมุ่ที่ 15 ศุกร์ เช้า ) IP: 61.19.119.253 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:16:03:50 น.  

 
5.1. จงอธิบายลักษณะหรือคุณสมบัติของระบบเครือข่ายทั้ง 3 แบบ

1.เครือข่ายท้องถิ่น ( LAN)
เครือข่ายแลน หรือเครือข่ายท้องถิ่น เป็นเครือข่ายขนาดเล็ก ใช้กันอยู่ในบริเวณไม่กว้าง ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องที่บริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก เครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็น เครือข่ายเฉพาะขององค์การ การสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์การสามารถดำเนินการทำเองได้ โดยวางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคาร หรือภายในพื้นที่ของตนเอง เครือข่ายแลนมีตั้งแต่
เครือข่ายขนาดเล็ก ที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป ภายในห้องเดียวกัน จนถึงเชื่อมโยงระหว่างห้อง หรือองค์การขนาดใหญ่ เช่น มหาวิทยาลัย

2.เครือข่ายระดับเมือง (MAN)
เป็นเครือข่ายที่ใช้ภายในเมือง หรือภายในจังหวัด เป็นระบบที่มีขนาดกลางอยู่ระหว่าง เครือข่ายแลน กับ เครือข่าย แวน

3.เครือข่ายระดับประเทศ (WAN)
เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะห่างไกล เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ มีการติดต่อต่อสื่อสารกันในบริเวณกว้าง เช่น เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ การสร้างเครือข่ายระยะไกลจึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ เช่น การสื่อสารแห่ง ประเทศไทย ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้ บริการแบบสาธารณะ เครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่ายที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกล และต้องการเชื่อมสาขา เหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร มีสาขาทั่วประเทศ มีบริการรับฝากและถอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม

ที่มา
//www.nonhanwit.com/elearning/internet/text/p011.html





โดย: นาย ณัฐพงศ์ มันทะลา IP: 124.157.129.36 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:18:53:03 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

Hub หรือ Reapter เป็นอุปกรณ์รวมสายสัญญาณระบบเครือข่ายเหมือน Switch
แต่ Hub แตกต่างกับ Switch ตรงที่ Hub มี 1 Boardcast 1 Collision
ส่วน Switch มี 1 Boardcast และ Collision มากกว่า 1 Collision
เช่น 100Mbps Switch 16 Port มี 1 Boardcast 16 Collision Daterate 100Mbps per port (Dual Speed)
แต่ถ้า 100Mbps Hub 16 Port มี 1 Boardcast 1 Collision Datarate 100Mbps หาร 16 จะได้ความเร็ว Datarate ต่อ Port(โดยยังไม่คิด Collision Domain)
ทำให้ Switch มี Utilization ดีกว่า Hub และได้ความนิยมมากกว่า
Bridge กับ Switch มีความสามารถในกับจัดการ Traffic ในชั้น DataLink Layer คล้ายกัน โดยใช้ Bridging Table เป็นตัวคำนวณเส้นทางเดินของข้อมูล
แต่ Bridge ใช้ Software ในการทำงาน จึงทำงานได้ช้า และ สามารถขยาย Port ได้เพียง 16 เท่านั้น จึงทำให้ Bridge ไม่ได้รับความนิยม ปัจจุบันไม่มี Bridge ขายแล้วนะครับ
Switch ใช้ Hardware ในการทำงาน จึงทำงานได้เร็วกว่า Bridge สามารถขยาย Port ได้ไม่จำกัด ปัจจุบัน Switch มีความสามารถสูงมากทั้งในการทำ Virtual LAN ทำ Spanning Tree โดยใช้ BPDU เป็น Protocol ในการติดต่อ
Switch Layer 3 มีความสามารถทำ Routing Table ได้ ปัจจุบันมี Switch Layer 7 ที่มีความสามารถสูงมาก ทำงานได้ครบทั้ง 7 Layer อยากรู้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ //www.cisco.com

ส่วนที่หัวข้อกระทู้ถามว่า "ความแตกต่างของ Router กับ Hub"
Router มีความสามารถแบ่ง Boardcast ได้มากกว่า 1 Boardcast ซึ่ง Hub และ Switch(Layer 2) ไม่สามารถทำได้
อีกทั้งในตัว Router ยังมี Routering Tables เพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของข้//www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=11035อมูลได้


โดย: : น.ส.จิราภรณ์ ศุกรักษ์(หมู่15 ศุกร์ เช้า) IP: 117.47.233.39 วันที่: 1 ตุลาคม 2552 เวลา:11:03:11 น.  

 
4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


โดย: นางสาวกฤตยา อินทร์กอ หมู่ 22 IP: 118.174.28.70 วันที่: 4 ตุลาคม 2552 เวลา:2:42:17 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238

โดย นางสาว สุดารัตน์ นรินทร์ เรียนวันพฤหัส ตอนเช้า เวลา 08.00-12.00น. หมู่08


โดย: นางสาว สุดารัตน์ นรินทร์ IP: 125.26.164.252 วันที่: 5 ตุลาคม 2552 เวลา:10:11:14 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร


ฮับ (Hub)

ทำหน้าที่เปรียบศูนย์กลางที่กระจายข้อมูล ใช้ในการต่อแลนแบบดาว
การเลือกซื้อฮับก็ตามปริมาณช่อง (port) ที่ใช้ว่าจะเชื่อมโยงกี่เครื่อง



บริดจ์ (Bridge)

เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกันทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ
Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกัน
ในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น


เราท์เตอร์ (Router)


เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วย กัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถ
ทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและเลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ


เกทเวย์ (Gateway)


เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภท
พีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น


ที่่มา : //host.psu.ac.th/~s5040111370/index-1.html


โดย: น.ส. นาริณี อินทร์ดี IP: 113.53.179.151 วันที่: 6 ตุลาคม 2552 เวลา:20:33:15 น.  

 
4.1 HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


โดย: นายอรรคพล วิทิยา หมู่ 22 IP: 118.174.29.192 วันที่: 10 ตุลาคม 2552 เวลา:20:16:05 น.  

 
แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ
ฮับ (Hub)
ฮับ หรือตัวย้ำสัญญาณ เป็นอุปกรณ์ง่ายๆ ที่เชื่อมกลุ่มผู้ใช้ไว้ด้วยกัน ฮับจะส่งต่อทุกๆ ข้อมูลไม่ว่าจะเป็นอีเมล์ เอกสาร รูปภาพ คำสั่งพิมพ์งานจากผู้ใช้ที่ส่งมาไปยังผู้ใช้อื่นๆ ทุกคนที่ต่อร่วมกันบนฮับเดียวกัน ผู้ใช้ที่ต่ออยู่บนฮับตัวเดียว หรือต่อเชื่อมต่อผ่านฮับหลายตัวก็ตาม จะแบ่งกันใช้ความจุของสายร่วมกัน นั่นหมายถึง ยิ่งมีผู้ใช้เชื่อมต่อเพิ่มมากขึ้นเท่าไร ก็ต้องแบ่งความจุ ของสายในการรับส่งข้อมูลมากขึ้น ทำให้ผู้ใช้แต่ละคนจะส่งได้ช้าลง เมื่อมีผู้ใช้เพิ่มในฮับมากขึ้น

เพื่อให้เข้าใจชัดเจนขึ้นว่า ฮับช่วยระบบเครือข่าย ทางธุรกิจคุณได้อย่างไร ให้คุณนึกถึงโรงเรียน ที่มีสายโทรศัพท์เพียงสายเดียว สำหรับห้องพักครูทุกห้อง เมื่อครูในห้องพักครู ต้องการโทรไปยังอีกห้องพักครูหนึ่ง โทรศัพท์จะดังไปทุกๆ ห้อง ครูที่พักอยู่ในแต่ละห้องทุกห้อง ต้องรับโทรศัพท์แล้วฟังว่าเป็นสายของใคร และในขณะที่มีคนใช้โทรศัพท์อยู่ คนอื่นๆ จะไม่สามารถใช้โทรศัพท์ได้ในเวลานั้น ถ้าครูมาพักน้อย การวางระบบเช่นนี้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ในช่วงเวลาที่มีการใช้โทรศัพท์บ่อย การติดต่อก็จะทำให้ยาก เพราะโทรศัพท์สายไม่ว่างตลอด




บริดจ์ (ฺBridge)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระบบ LAN เข้าด้วยกัน โดยออกแบบมาเพื่อใช้ติดต่อระหว่างเครือข่ายท้องถิ่น LAN จำนวน 2 เครือข่าย ที่มีโปรโตคอลเหมือนกันหรือต่างกัน เพื่อให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้ โดยประสิทธิภาพในทางรวมลดลงไม่มาก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องอยู่ในเซกเมนด์เดียวกัน จะไม่มีการส่งผ่านต่างเซกเมนด์ (Segment)


สวิตช์ (Switch)
สวิตช์เป็นอุปกรณ์ที่ฉลาดกว่าฮับ และทำให้ได้ความจุ ในการรับส่งข้อมูลแก่ผู้ใช้แต่ละคน ได้มากกว่าฮับ สวิตช์จะส่งต่อข้อมูลไปยังเป้าหมายที่เหมาะสม ที่สามารถไปต่อยังผู้รับได้โดยตรง โดยตัดสินใจส่งจากส่วนหัว (Header) ของข้อมูล (Packet) โดยสร้างการเชื่อมต่อแบบชั่วคราว ระหว่างต้นทางและปลายทาง และปิดการเชื่อมต่อชั่วคราวนั้นทิ้ง เมื่อการติดต่อได้เสร็จสิ้นลง

สวิตช์เปรียบได้กับโทรศัพท์ ของโรงเรียนที่มีโอเปอเรเตอร์คอยต่อสายให้ เมื่อครูสมชาย ต้องการโทรไปหาครูสมบัติ อีกห้องหนึ่ง โอเปอเรเตอร์รับคำสั่งจากครูสมชาย แล้วต่อสายไปยังครูสมบัติโดยตรง การต่อแบบนี้ทำให้ใช้โทรศัพท์ จากห้องหนึ่งไปอีกห้องหนึ่งได้มากกว่า 1 สาย




เราท์เตอร์ (Router)
เปรียบเทียบระหว่างฮับ และสวิตช์แล้ว เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ฉลาดกว่า เราเตอร์ใช้เพื่อ การส่งต่อข้อมูลที่จุดหมายซับซ้อนกว่ามาก โดยตัดสินใจส่งต่อข้อมูลจาก "ตารางสำหรับการเราต์" อุปกรณ์เราเตอร์ จะทำให้การส่งต่อข้อมูลไปตามเส้นทาง ที่มีประสิทธิภาพที่สุด ไม่ว่าจะส่งต่อจากเราเตอร์ ไปยังเครื่องต่างๆ หรือส่งจากเราเตอร์ ไปยังเราเตอร์อีกตัว และถ้าการเชื่อมระหว่างเราเตอร์ 2 ตัวที่จะส่งไปขาด มันยังสามารถตัดสินใจ เปลี่ยนเส้นทางที่เหมาะสมเอง ได้อีกด้วย เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่น และไม่ขาดตอน

เราเตอร์อาจใช้เพื่อเชื่อมเข้ากับ ระบบเครือข่ายอื่นๆ ที่มีวิธีในการรับส่งข้อมูล ที่ต่างไปจากระบบเครือข่ายที่เราใช้งานอยู่ได้ โดยแต่ละระบบเครือข่าย อาจพูดต่างภาษากัน หรือในศัพท์ทางคอมพิวเตอร์คือ แต่ละระบบเครือข่ายใช่ต่าง "โพรโตคอล (Protocol)" ตัวอย่างของโพรโตคอล เช่น อินเทอร์เน็ตโพรโตคอล (ไอพี), อินเทอร์เน็ตแพ็กเก็ตเอ็กซ์เชนจ์ (ไอพีเอ็กซ์) หรือแอปเปิลทอล์ก นอกจากนั้น เราเตอร์ยังไม่ใช่ เพียงสามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายต่างๆ ในอาคารไว้ด้วยกันเท่านั้น แต่มีจุดเชื่อมต่อไปยังภายนอก (หรือเรียกว่า ซ็อกเก็ต (Socket) เชื่อมออกไปสู่บริการแบบ ระบบเครือข่ายพื้นที่กว้าง (Wide area Network-WAN) ได้อีกด้วย บริการแวนจะทำให้คุณสามารถ ติดต่อสื่อสารกระจายออกไปสู่ระบบเครือข่ายอื่นๆ ทั่วโลกได้

เพื่อเข้าใจความหมายการทำงานของเราเตอร์ (เรียกว่า เราติง) ให้เปรียบไปถึงโรงเรียน A และโรงเรียนอื่นๆ ทั้งหมดที่ได้ฝึกโอเปอเรเตอร์ ให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อครูที่ชื่อสมชายโทรศัพท์จากโรงเรียน A โทรไปครูชื่อสมบัติที่สอนอยู่อีกโรงเรียนที่ชื่อ B โอเปอเรเตอร์ที่โรงเรียน A จะรู้ทันทีว่าจะต้องต่อสายไปอย่างไรถึงดีที่สุด โดยต่อสายไปยังโอเปอเรเตอร์ชื่อสมศรีที่ทำงานอยู่ที่โรงเรียน B เพื่อให้สมศรีโอนสายไปครูสมบัติ และหากเกิดปัญหาในการต่อสายไปยังสมศรี โอเปอเรเตอร์ที่โรงเรียน A จะสามารถเลือกเส้นทางอื่น เช่น ต่อไปยังโอเปอเรเตอร์คนอื่นที่ประจำอยู่ที่โรงเรียน B เพื่อให้การติดต่อครั้งนี้สำเร็จ


เกตเวย์ (Gateway)
เป็นอุปกรณ์ที่ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่า ที่มีลักษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อกันได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน เปรียบเสมือนเป็นประตูทางผ่านในการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน เช่น ระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไปกับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรม ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นต้น อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็น Gateway นั้นอาจจะใช้คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งทำหน้าที่ก็ได้




โดย: นายธีรยุทธ วันทอง คบ.ภาษาอังกฤษ รหัส 52100102145 หมู่ 08 พฤหัสเช้า IP: 202.29.5.244 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:17:19:09 น.  

 
HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร

ตอบ
การรับส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์นั้น ทางด้านผู้รับผู้ส่งจะต้องมีขบวนการการรับส่งข้อมูลตาม OSI ครบทั้ง 7 ชั้น ระหว่างการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายอื่น ๆ อาจมีอุปกรณ์เครือข่ายเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ซึ่งจะเกี่ยวกับเพียง 3 ระชั้นล่าง คือ Layer ที่ 1, 2 และ 3 อุปกรณ์เครือข่ายจะมีดังนี้ Hub หรือ Repeater , Switch หรือ Bridge , Router , Geteway และ Layer-3 Switch

Hub หรือ Repeater

เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณที่ได้รับมาส่งต่อให้กับอุปกรณ์อื่นที่ต่อเข้ากับเครือข่าย เป็นอุปกรณ์ที่จัดอยู่ใน Layer ที่ 1 หรือ Physical Layer ของ OSI Model ตัว Hub หรือ Repeater นี้จะขยายสัญญาณได้โดยไม่มีการใช้ซอฟต์แวร์จึงใช้งานได้ง่าย

Switch หรือ Bridge

เป็นอุปกรณ์สำหรับเชื่อมเครือข่ายสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยจะต้องเป็นเครือข่ายประเภทเดียวกัน และใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน Switch หรือ Bridge จะมีการทำงานในระดับ Data Link Layer ของ OSI Model สามารถเชื่อมต่อฮาร์ดแวร์ที่ใช้รับส่งข้อมูลเข้าด้วยกัน และตรวจสอบข้อผิดพลาดของการรับส่งข้อมูล การติดตั้งใช้งานคล้ายกับการติดตั้ง Hub ไม่ต้องใช้ซอฟต์แวร์

Router

เป็นอุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายเข้าด้วยกัน เช่น การเชื่อมต่อ Ethernet LAN ที่ใช้รับส่งข้อมูลแบบ Unshielded Twisted Pair(UTP) เข้ากับ Ethernet อีกเครือข่ายหนึ่งที่ใช้สายแบบ Coaxial Cable ได้ Router จะมีการทำงานในระดับ Network Layer ของ OSI Model สามารถรับส่งข้อมูลเป็น Frame เลือกเส้นทางการเดินทางของข้อมูล จึงทำให้ Router มีราคาแพงกว่า Switch และ Hub

Gateway

เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสูงสุดในการเชื่อมต่อเครือข่าย โดยสามารถเชื่อมต่อเครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลต่างกันได้ อีกทั้งยังทำหน้าที่เป็น Firewall เพื่อป้องกันไม่ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่นอกเครือข่ายเข้ามาเชื่อมต่อลักลอบนำข้อมูลภายในองค์กรออกไปได้





โดย: **** นายสุรศักดิ์ พฤคณา 52100102101 คบ.ภาษาอังกฤษ หมู่ 8 พฤหัสบดี เช้า IP: 172.29.5.133, 202.29.5.240 วันที่: 30 ธันวาคม 2552 เวลา:15:47:20 น.  

 
ขอบคุณครับ


โดย: k IP: 202.143.165.139 วันที่: 8 มกราคม 2553 เวลา:11:24:02 น.  

 
ข้อมูลครบมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ


โดย: Dreem IP: 119.63.95.2, 117.121.208.2 วันที่: 8 มกราคม 2553 เวลา:11:25:56 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ
ฮับ (Hub)
ฮับ หรือตัวย้ำสัญญาณ เป็นอุปกรณ์ง่ายๆ ที่เชื่อมกลุ่มผู้ใช้ไว้ด้วยกัน ฮับจะส่งต่อทุกๆ ข้อมูลไม่ว่าจะเป็นอีเมล์ เอกสาร รูปภาพ คำสั่งพิมพ์งานจากผู้ใช้ที่ส่งมาไปยังผู้ใช้อื่นๆ ทุกคนที่ต่อร่วมกันบนฮับเดียวกัน ผู้ใช้ที่ต่ออยู่บนฮับตัวเดียว หรือต่อเชื่อมต่อผ่านฮับหลายตัวก็ตาม จะแบ่งกันใช้ความจุของสายร่วมกัน นั่นหมายถึง ยิ่งมีผู้ใช้เชื่อมต่อเพิ่มมากขึ้นเท่าไร ก็ต้องแบ่งความจุ ของสายในการรับส่งข้อมูลมากขึ้น ทำให้ผู้ใช้แต่ละคนจะส่งได้ช้าลง เมื่อมีผู้ใช้เพิ่มในฮับมากขึ้น

เพื่อให้เข้าใจชัดเจนขึ้นว่า ฮับช่วยระบบเครือข่าย ทางธุรกิจคุณได้อย่างไร ให้คุณนึกถึงโรงเรียน ที่มีสายโทรศัพท์เพียงสายเดียว สำหรับห้องพักครูทุกห้อง เมื่อครูในห้องพักครู ต้องการโทรไปยังอีกห้องพักครูหนึ่ง โทรศัพท์จะดังไปทุกๆ ห้อง ครูที่พักอยู่ในแต่ละห้องทุกห้อง ต้องรับโทรศัพท์แล้วฟังว่าเป็นสายของใคร และในขณะที่มีคนใช้โทรศัพท์อยู่ คนอื่นๆ จะไม่สามารถใช้โทรศัพท์ได้ในเวลานั้น ถ้าครูมาพักน้อย การวางระบบเช่นนี้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ในช่วงเวลาที่มีการใช้โทรศัพท์บ่อย การติดต่อก็จะทำให้ยาก เพราะโทรศัพท์สายไม่ว่างตลอด




บริดจ์ (ฺBridge)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระบบ LAN เข้าด้วยกัน โดยออกแบบมาเพื่อใช้ติดต่อระหว่างเครือข่ายท้องถิ่น LAN จำนวน 2 เครือข่าย ที่มีโปรโตคอลเหมือนกันหรือต่างกัน เพื่อให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้ โดยประสิทธิภาพในทางรวมลดลงไม่มาก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องอยู่ในเซกเมนด์เดียวกัน จะไม่มีการส่งผ่านต่างเซกเมนด์ (Segment)


สวิตช์ (Switch)
สวิตช์เป็นอุปกรณ์ที่ฉลาดกว่าฮับ และทำให้ได้ความจุ ในการรับส่งข้อมูลแก่ผู้ใช้แต่ละคน ได้มากกว่าฮับ สวิตช์จะส่งต่อข้อมูลไปยังเป้าหมายที่เหมาะสม ที่สามารถไปต่อยังผู้รับได้โดยตรง โดยตัดสินใจส่งจากส่วนหัว (Header) ของข้อมูล (Packet) โดยสร้างการเชื่อมต่อแบบชั่วคราว ระหว่างต้นทางและปลายทาง และปิดการเชื่อมต่อชั่วคราวนั้นทิ้ง เมื่อการติดต่อได้เสร็จสิ้นลง

สวิตช์เปรียบได้กับโทรศัพท์ ของโรงเรียนที่มีโอเปอเรเตอร์คอยต่อสายให้ เมื่อครูสมชาย ต้องการโทรไปหาครูสมบัติ อีกห้องหนึ่ง โอเปอเรเตอร์รับคำสั่งจากครูสมชาย แล้วต่อสายไปยังครูสมบัติโดยตรง การต่อแบบนี้ทำให้ใช้โทรศัพท์ จากห้องหนึ่งไปอีกห้องหนึ่งได้มากกว่า 1 สาย




เราท์เตอร์ (Router)
เปรียบเทียบระหว่างฮับ และสวิตช์แล้ว เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ฉลาดกว่า เราเตอร์ใช้เพื่อ การส่งต่อข้อมูลที่จุดหมายซับซ้อนกว่ามาก โดยตัดสินใจส่งต่อข้อมูลจาก "ตารางสำหรับการเราต์" อุปกรณ์เราเตอร์ จะทำให้การส่งต่อข้อมูลไปตามเส้นทาง ที่มีประสิทธิภาพที่สุด ไม่ว่าจะส่งต่อจากเราเตอร์ ไปยังเครื่องต่างๆ หรือส่งจากเราเตอร์ ไปยังเราเตอร์อีกตัว และถ้าการเชื่อมระหว่างเราเตอร์ 2 ตัวที่จะส่งไปขาด มันยังสามารถตัดสินใจ เปลี่ยนเส้นทางที่เหมาะสมเอง ได้อีกด้วย เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่น และไม่ขาดตอน

เราเตอร์อาจใช้เพื่อเชื่อมเข้ากับ ระบบเครือข่ายอื่นๆ ที่มีวิธีในการรับส่งข้อมูล ที่ต่างไปจากระบบเครือข่ายที่เราใช้งานอยู่ได้ โดยแต่ละระบบเครือข่าย อาจพูดต่างภาษากัน หรือในศัพท์ทางคอมพิวเตอร์คือ แต่ละระบบเครือข่ายใช่ต่าง "โพรโตคอล (Protocol)" ตัวอย่างของโพรโตคอล เช่น อินเทอร์เน็ตโพรโตคอล (ไอพี), อินเทอร์เน็ตแพ็กเก็ตเอ็กซ์เชนจ์ (ไอพีเอ็กซ์) หรือแอปเปิลทอล์ก นอกจากนั้น เราเตอร์ยังไม่ใช่ เพียงสามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายต่างๆ ในอาคารไว้ด้วยกันเท่านั้น แต่มีจุดเชื่อมต่อไปยังภายนอก (หรือเรียกว่า ซ็อกเก็ต (Socket) เชื่อมออกไปสู่บริการแบบ ระบบเครือข่ายพื้นที่กว้าง (Wide area Network-WAN) ได้อีกด้วย บริการแวนจะทำให้คุณสามารถ ติดต่อสื่อสารกระจายออกไปสู่ระบบเครือข่ายอื่นๆ ทั่วโลกได้

เพื่อเข้าใจความหมายการทำงานของเราเตอร์ (เรียกว่า เราติง) ให้เปรียบไปถึงโรงเรียน A และโรงเรียนอื่นๆ ทั้งหมดที่ได้ฝึกโอเปอเรเตอร์ ให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อครูที่ชื่อสมชายโทรศัพท์จากโรงเรียน A โทรไปครูชื่อสมบัติที่สอนอยู่อีกโรงเรียนที่ชื่อ B โอเปอเรเตอร์ที่โรงเรียน A จะรู้ทันทีว่าจะต้องต่อสายไปอย่างไรถึงดีที่สุด โดยต่อสายไปยังโอเปอเรเตอร์ชื่อสมศรีที่ทำงานอยู่ที่โรงเรียน B เพื่อให้สมศรีโอนสายไปครูสมบัติ และหากเกิดปัญหาในการต่อสายไปยังสมศรี โอเปอเรเตอร์ที่โรงเรียน A จะสามารถเลือกเส้นทางอื่น เช่น ต่อไปยังโอเปอเรเตอร์คนอื่นที่ประจำอยู่ที่โรงเรียน B เพื่อให้การติดต่อครั้งนี้สำเร็จ


เกตเวย์ (Gateway)
เป็นอุปกรณ์ที่ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่า ที่มีลักษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อกันได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน เปรียบเสมือนเป็นประตูทางผ่านในการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน เช่น ระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไปกับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรม ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นต้น อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็น Gateway นั้นอาจจะใช้คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งทำหน้าที่ก็ได้


โดย: นาย นุกูลกิจ ลีทุม 52100102146 คบ.อังกฤษ หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) IP: 61.19.118.250 วันที่: 19 มกราคม 2553 เวลา:14:49:45 น.  

 
นส.เพ็ญนภา เจริญทรง
49240428132 ม.5
ส. 13.00 – 16.00

แบบฝึกหัด
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ฮับ (Hub). เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน. | คอมพิวเตอร์ | เซอร์เวอร์ | ฮับ | บริดจ์ | เราท์เตอร์ ...
www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/hub.htm
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายประเภทเดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มีใช้มานานแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่าย การติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันมีลักษณะการส่ง ข้อมูลแบบกระจาย (Broadcasting) ดังนั้น จึงกระจายได้เฉพาะเครือข่ายเดียวกันเท่านั้น การรับส่งภายในเครือข่ายมีข้อกำหนดให้แพ็กเก็ตที่ส่งกระจายไปยังตัวรับได้ทุกตัว แต่ถ้ามีการส่งมาที่แอดเดรสต่างเครือข่าย บริดจ์จะนำข้อมูลเฉพาะแพ็กเก็ตนั้นส่งให้ บริดจ์จึงเป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูล ระหว่างเครือข่ายให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย ของตน ไม่ปะปนไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง เพื่อลดปัญหาปริมาณข้อมูลกระจายในสายสื่อสารมากเกินไป ในระยะหลังมีผู้พัฒนาบริดจ์ให้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างชนิดกันได้ เช่น อีเทอร์เน็ตกับโทเก็นริง เป็นต้น หากมีการเชื่อมต่อเครือข่ายมากกว่าสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเครือข่ายที่เชื่อมมีลักษณะหลากหลาย ซึ่งเป็นทั้งเครือข่ายแบบ LAN และ WAN อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงคือ เราเตอร์ (Router)
//www.ku.ac.th/magazine_online/bridge.html
เราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและ
เลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อ//www.tanti.ac.th/Com-tranning/NetWork/router.htm

เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC)
เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น


โดย: นส.เพ็ญนภา เจริญทรง IP: 192.168.0.102, 180.183.64.78 วันที่: 31 มกราคม 2553 เวลา:18:37:36 น.  

 
ดีใจมากที่ได้ดู


โดย: วรายุ IP: 110.164.81.84 วันที่: 2 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา:13:57:18 น.  

 
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ
- เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ ทำงานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อม LAN เข้ากับ LAN เข้ากับ WAN หรือแม้แต่เชื่อม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุด

- เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนั้นจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตามเนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอลหนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดแต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทำงานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทำให้ Router สามารถทำงานเป็น Gateway ได้จึงไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
-Hub
การใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้สำหรับเป็นช่องทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ จากรูปนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทำให้ข้อมูลนั้นถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทำให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกินความจำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียของ Hub

- บริดจ์ (Bridge)

บริดจ์ ทำงานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่านั้นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้าด้วยกัน หรือต่อ Ethernet LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเครื่องปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกันกับเครื่องส่ง ก็จะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดียวกันเท่านั้น ไม่ส่งไป Segment อื่น แต่หากว่าข้อมูลมีปลายทางอยู่ที่ Segment อื่น ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment ที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ทำให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


ที่มา
//gotoknow.org/blog/th6666/253238


โดย: นางสาว ชนิกานต์ นรสาร 50040423104 การเงิน ปี3/6 หมู่ 31 เรียนวันพฤหัสบดี (บ่าย) IP: 111.84.125.117 วันที่: 6 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา:15:32:55 น.  

 
1.1. การสื่อสารข้อมูล คอมพิวเตอร์ คืออะไร
ตอบ หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ
1.2. Protocal คืออะไร
ตอบ คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
2.1. อธิบายวิธีการส่งข้อมูลแบบขนาน และแบบอนุกรม มาพอเข้าใจ
ตอบ การส่งข้อมูลแบบขนาน คือการส่งข้อมูลพร้อมกันทีละหลาย ๆ บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา
จะใช้วิธีการส่งทีละ 1 บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา ทำให้ดูเหมือนว่าบิตต่าง ๆ เรียงต่อเนื่องกันไป
2.2. อธิบายลักษณะของสัญญาญดิจิทัลและอนาล๊อก
ตอบ สัญญาณดิจิตัล หมายถึงสัญญาณข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) มีขนาดของสัญญาณคงที่ การเปลี่ยนแปลงขนาดของสัญญาณเป็นแบบทันที ทันใด กล่าวคือ ไม่แปรผันตามเวลา โดยทั่วไปคือสัญญาณที่มนุษย์ไม่สามารถสัมผัสได้ เช่น สัญญาณไฟฟ้า เป็นต้น
สัญญาณอนาลอก (Analog Signal)
หมายถึงสัญญาณข้อมูลแบบต่อเนื่อง (Continuouse Data) มีขนาดของสัญญาณไม่คงที่ การเปลี่ยนแปลงขนาดของสัญญาณแบบค่อยเป็นค่อยไป กล่าวคือต้องแปรผันตามเวลา โดยทั่วไปคือสัญญาณที่มนุษย์สามารถสัมผัสได้ เช่น แรงดันของน้ำ ค่าของอุณหภูมิ หรือความเร็วของรถยนต์ เป็นต้น
31. สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลมีกี่ประเภทอะไรบ้าง
ตอบ 2 ประเภท
1. แบบมีสาย
2. แบบไร้สาย
3.2. อธิบายลักษณะของสื่อกลางแบบมีสายว่ามีข้อดี ข้อเสียอย่างไรบ้าง
ตอบ ดูแลลักษาง่าย ราคาถูก
4.1. HUB , BRIDGE , ROUTER , GATEWAY ต่างกันอย่างไร
ตอบ ต่างกันที่หน้าที่การทำงาน





โดย: อุทัยวัน โสดา IP: 202.29.5.242 วันที่: 21 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา:12:45:09 น.  

 
รหัส 52240235103 หมู่เรียน พิเศษเสาร์บ่าย
1.1. Internet คืออะไร
ตอบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลก
1.2. ISP คืออะไร
ตอบ ผู้ให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
1.3. ARPAnet คืออะไร
ตอบ ระบบอินเทอร์เน็ตที่พัฒนาขึ้นครั้งแรกโดยใช้ในการทหาร
2.1.ให้นักศึกษาค้นหาคำศัพท์และความหมายของคำศัพท์ทางอินเทอร์เน็ตมาอย่างน้อย คนละ 5 คนศัพท์
ตอบ Website หมายถึง จำนวนไฟล์หรือจำนวนหน้าทั้งหมดของเว็บไซต์นั้น ๆ
HomePage หมายถึง หน้าแรกของเว็บเพจทั้งหมดที่ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตจะพบเมื่อเข้าไปยังเว็บไซต์
Webmaster หมายถึง บุคคลที่ทำหน้าที่วางแผน ดูแล บริหารและจัดการเว็บไซต์
ISP หมายถึง ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ย่อมาจาก Internet Service Provider
Network หมายถึง การนำเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องขึ้นไป มาเชื่อมต่อกัน เพื่อที่จะใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน
3.1. นักศึกษาใช้อินเทอร์เน็ตในด้านใดบ้าง จงอธิบาย
ตอบ ค้นหาข้อมูล ส่ง Email ดูรายการทีวีย้อนหล้ง ฟังเพลง
4.1. อธิบายวิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบ Direct Internet Access) และ Dial-Up Access
ตอบ การเชื่อมต่อผ่านสายโทรศัพท์ (Dial-Up Access)
เป็นการเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเพื่อเป็นทางผ่านเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่อโดยตรง (Direct Internet Access)
เป็นการเชื่อมต่อโดยตรงกับสายหลักของอินเทอร์เน็ต โดยผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า Gateway ร่วมกับสายสัญญาณความเร็วสูงโดยตรงกับ InterNIC ซึ่งสามารถติดต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ตลอดเวลา แต่เสียค่าใช้จ่ายสูง


โดย: อุทัยวัน โสดา IP: 61.19.118.250 วันที่: 21 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา:12:55:54 น.  

 
good...........*-*


โดย: bank IP: 125.27.20.47 วันที่: 7 กรกฎาคม 2553 เวลา:13:46:47 น.  

 
สุดยอด ข้อมูลเยอะเป็นบ้า


โดย: นิธิพล IP: 124.121.186.129 วันที่: 22 กรกฎาคม 2553 เวลา:19:32:12 น.  

 
ขอบคุณคับ


โดย: ... IP: 180.183.243.65 วันที่: 20 พฤษภาคม 2554 เวลา:9:52:11 น.  

 
ขอบคุณค่า ^_^


โดย: t.t IP: 101.109.207.97 วันที่: 9 กันยายน 2556 เวลา:13:20:37 น.  

 
26423




โดย: เด็กดื IP: 101.109.207.97 วันที่: 9 กันยายน 2556 เวลา:13:22:00 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 
 

neaup
Location :


[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 35 คน [?]




มาเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้กันนะคะ
[Add neaup's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com
pantip.com pantipmarket.com pantown.com