สถานที่ท่องเที่ยวภายในจังหวัดบุรีรัมย์ ปราสาทหินพนมรุ้ง ปราสาทหินเมืองต่ำ วัดเขาอังคาร วัดขุนก้อง ปากปล่องภูเขาไฟกระโดง

<<
กรกฏาคม 2560
 1
2345678
9101112131415
16171819202122
23242526272829
3031 
 
28 กรกฏาคม 2560
 

อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทหินพนมรุ้ง ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง Phanomrung Historical park เขาพนมรุ้ง ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง มรดกโลก Khao Phanomrung ปราสาทหินพนมรุ้ง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย์



ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง Phanomrung Historical park เขาพนมรุ้ง อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทหินพนมรุ้ง Khao Phanomrung ปราสาทหินพนมรุ้ง อ.เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์

 

//www.facebook.com/kaophanomrung

 

 

 

 เที่ยวพนมรุ้ง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ ชมปราสาทหินเขาพนมรุ้ง พนมรุ้ง (Phanomrung Khmer Historical parks
) ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง จ.บุรีรัมย์ พนมรุ้ง ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง จ.บุรีรัมย์ Phanomrung Historical Park Buriram ปราสาทหินเขาพนมรุ้งคำว่า พนมรุ้ง นั้น มาจากภาษาเขมร คำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่ปราสาทหินเขาพนมรุ้งตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว Phnomrung สูงประมาณ 200 เมตรจากพื้นราบ (ประมาณ 350 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง)ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นโบสถ์พราหมณ์ลัทธิไสวะ มีการบูรณะก่อสร้างต่อเนื่องกันมาหลายสมัย ตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 ถึงพุทธศตวรรษที่ 17 และในพุทธศตวรรษที่ 18 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอมได้หันมานับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน เทวสถานแห่งนี้จึงได้รับการดัดแปลงเป็นวัดมหายาน ในช่วงแรกปราสาทหินพนมรุ้ง อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทพนมรุ้ง สร้างขึ้นจากหินทรายสีชมพู ตั้งอยู่บนยอดเขาพนมรุ้งสูง 1,320 ฟุตจากระดับน้ำทะเล ชื่อพนมรุ้งแปลว่าภูเขาใหญ่ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 15-18 จารึกต่าง ๆ ที่นักวิชาการได้อ่านและแปลพอจะสรุปได้ว่า พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 3 กษัตริย์แห่งพระนคร (พ.ศ. 1487-1511) ได้สถาปนาเทวสถานถวายพระศิวะที่เขาพนมรุ้ง ซึ่งในสมัยแรก ๆ คงยังไม่ใหญ่โตนัก ต่อมาพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 (พ.ศ. 1511-1544) ได้ทรงอุทิศที่ดินและข้าทาสถวายแด่เทวสถานพนมรุ้ง ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 17 นเรนทราทิตย์ เจ้านายแห่งราชวงศ์มหิธรปุระที่ปกครองดินแดนแถบนี้ (ซึ่งเป็นต้นตระกูลของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ผู้สร้างนครวัด) ได้สร้างปราสาทแห่งนี้ขึ้นและได้ทรงบำเพ็ญพรตเป็นโยคี ณ ปราสาทพนมรุ้ง ปราสาทหินพนมรุ้งสร้างขึ้นเนื่องในศาสนาฮินดูลัทธิไศวะ ซึ่งนับถือพระศิวะเป็นเทพเจ้าสูงสุด ดังนั้นเขาพนมรุ้งจึงเปรียบเสมือนเขาไกรลาสที่ประทับของพระศิวะองค์ประกอบและแผนผังของปราสาทพนมรุ้งได้รับการออกแบบให้มีลักษณะเป็นแนวเส้นตรง และเน้นความสำคัญเข้าหาจุดศูนย์กลาง นั่นคือปราสาทประธานซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านขวาของบันไดทางขึ้นสู่ศาสนสถานมีอาคารที่เรียกว่า พลับพลา อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทพนมรุ้ง อ.เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ อาคารนี้อาจจะเป็นอาคารที่เรียกกันในปัจจุบันว่า พลับพลาเปลื้องเครื่อง ซึ่งเป็นที่พักจัดเตรียมองค์ของพระมหากษัตริย์ สิ่งมหัศจรรย์ห้ามพลาดคือ ชมดวงอาทิตย์ลอด 15 ช่องประตู ณ พนมรุ้ง และงานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง ณ ปราสาทหินพนมรุ้ง รวมถึงชมแสงแรกแห่งอรุณ สาดส่องผ่านช่องประตูของพนมรุ้ง


เมืองต้องห้ามพลาดจังหวัดบุรีรัมย์ ปราสาทหินพนมรุ้ง Khao Phanomrung, แหล่งท่องเที่ยว จ.บุรีรัมย์ : อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทหินพนมรุ้ง ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย์ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง หรือ ศูนย์ข้อมูลนักท่องเที่ยว อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง ปราสาทหินพนมรุ้งคำว่า พนมรุ้ง นั้น มาจากภาษาเขมร คำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นหนึ่งในปราสาทหินขอมของไทยที่มีชื่อเสียงมากที่สุด เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ และถือเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญของจังหวัดบุรีรัมย์องค์ประกอบและแผนผังของปราสาทพนมรุ้งได้รับการออกแบบให้มีลักษณะเป็นแนวเส้นตรง และเน้นความสำคัญเข้าหาจุดศูนย์กลาง นั่นคือปราสาทประธานซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านขวาของบันไดทางขึ้นสู่ศาสนสถานมีอาคารที่เรียกว่า พลับพลา อาคารเขาพนมรุ้ง นี้อาจจะเป็นอาคารที่เรียกกันในปัจจุบันว่า พลับพลาเปลื้องเครื่อง ซึ่งเป็นที่พักจัดเตรียมองค์ของพระมหากษัตริย์ ก่อนเสด็จเข้าสู่การสักการะเทพเจ้าหรือประกอบพิธีกรรมในบริเวณศาสนสถานปราสาทประธาน ตั้งอยู่ตรงศูนย์กลางของลานปราสาทชั้นใน มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมมณฑป คือห้องโถงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เชื่อมอยู่ทางด้านหน้าที่ส่วนประกอบของปรางค์ประธานตั้งแต่ฐานผนังด้านบนและด้านล่าง เสากรอบประตู เสาติดผนัง ทับหลัง หน้าบัน ซุ้มชั้นต่าง ๆ ตลอดจนกลีบขนุน ก่อด้วยหินทรายสีชมพูมีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมกว้าง 8.20 เมตร สูง 27 เมตร ด้านหน้าทำเป็นมณฑปโดยมีอันตราละหรือฉนวนเชื่อมปราสาทประธานนี้ เชื่อว่า สร้างโดย นเรนทราทิตย์ ซึ่งเป็นผู้นำปกครองชุมชนที่มีปราสาทพนมรุ้งเป็นศูนย์กลาง ราว พุทธศตวรรษที่ 17ภายในเรือนธาตุตรงกึ่งกลาง เรียกว่าห้องครรภคฤหะ เป็นที่ประดิษฐานรูปเคารพที่สำคัญที่สุด ในที่นี้คือ ศิวลึงค์ ซึ่งแทนองค์พระศิวะ เป็นที่น่าเสียดายว่า ประติมากรรมชิ้นนี้ได้สูญหายไป เหลือเพียงแต่ ท่อโสมสูตร คือร่องน้ำมนต์ที่ใช้รับน้ำสรงจากการสักการะศิวลึงค์เท่านั้น ทางเดินด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ของปราสาทประธาน มีปราสาทอิฐสององค์และปรางค์น้อย จากหลักฐานทางด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม กล่าวได้ว่า ปราสาททั้งสามหลังได้สร้างขึ้นก่อนปราสาทประธานราวพุทธศตวรรษที่ 15 และ 16 ตามลำดับ ส่วนทางด้านหน้าของปราสาทประธานอุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทพนมรุ้ง บุรีรัมย์ คือทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีอาคารสองหลังก่อด้วยศิลาแลง เรียกว่าบรรณาลัย ซึ่งเป็นที่เก็บรักษาคัมภีร์ทางศาสนา ก่อสร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 18 เที่ยวบุรีรัมย์ อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทพนมรุ้ง ติดต่อที่พักใกล้อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทหินพนมรุ้งได้ที่ โรงแรมนางรอง Nangrong Hotel “Special Promotion Buriram hotels” ตั้งอยู่ที่ ต.นางรอง อ.นางรอง จ.บุรีรัมย์ 31110  Tel : 044-631014 ; Mobile : 081-9553477 ; Fax : 044-631465 Website : //www.nangronghotel.com/

คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง : อุทยานประวัติศาสตร์ปราสาทพนมรุ้ง มรดกโลก


Create Date : 28 กรกฎาคม 2560
Last Update : 28 กรกฎาคม 2560 12:23:16 น. 0 comments
Counter : 117 Pageviews.  
 
Name
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Opinion
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet

สมาชิกหมายเลข 906615
 
Location :
บุรีรัมย์ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]




สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดบุรีรัมย์ ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง ปราสาทหินเมืองต่ำ วัดเขาอังคาร ปากปล่องภูเขาไฟเขากระโดง
[Add สมาชิกหมายเลข 906615's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com