PaPerTestThai By SheetBook เจาะลึก!! ตรงประเด็น เข้าใจง่าย มีเฉลย อธิบาย เนื้อหาสรุปชัดเจน
space
space
space
<<
กันยายน 2561
 
 1
2345678
9101112131415
16171819202122
23242526272829
30 
space
space
16 กันยายน 2561
space
space
space

((NEW FREE))แนวข้อสอบวิศวกรเครื่องกล ท้องถิ่น อปท.



((NEW FREE))แนวข้อสอบวิศวกรเครื่องกล ท้องถิ่น อปท.

ขอขอบคุณที่มาแนวข้อสอบ : https://www.แนวข้อสอบราชการไทย.com/webboard/viewtopic/5251. การขันเกลียวฝาสูบที่ถูกต้องควรขันอย่างไร1) เริ่มขันสลักเกลียวจากหน้าเครื่องไปท้ายเครื่อง2) เริ่มขันสลักเกลียวจากด้านท้ายเครื่องไปทางหน้าเครื่อง3) เริ่มขันสลักเกลียวจากตรงกลางออกไปด้านซ้าย-ขวา4) เริ่มขันสลักเกลียวจากด้านนอกแล้วค่อยๆ ขับไล่เข้าตรงกลาง เฉลย ข้อ3แนวความคิด ขันแบบกากบาท หรือตัว x เริ่มจากตรงกลางตรงกันแล้วไขว้ออกทั้ง 2 ด้าน 2. การถอดแหวนลูกสูบที่ถูกต้อง ควรถอดแหวนตัวใดก่อน 1) แหวนกวาดน้ำมัน 2) แหวนอัดตัวกลาง3) แหวนอัดตัวบน4) แหวนน้ำมันตัวบน เฉลย ข้อ 3 แนวความคิด แหวนลูกสูบมีจำนวน 3 ตัว ต่อ 1 สูบ แหวนตัวบนและตัวที่ 2(Top and 2nd Rings) ทำหน้าที่เป็นแหวนอัด (Compression Rings) สำหรับแหวนตัวที่ 3 เป็นแหวนน้ำมัน (Oil Rings) ทำหน้าที่กวาดน้ำมันหล่อลื่นที่เกินบริเวณผนังกระบอกสูบ ดังนั้นจึงเหลือน้ำมันเครื่อง ในห้องเผาไหม้ด้วยปริมาณที่จำเป็นสำหรับการหล่อลื่นเท่านั้น 3. ถ้าท่อร่วไอดีของเครื่องยนต์แกโซลีนรั่วจะมีผลต่อเครื่องยนต์อย่างไร 1) ขณะเครื่องเดินเบาะรอบจะสูง2) สิ้นเปลืองน้ำมันเชื่อเพลิง3) ส่วนผสมจะบางลง4) ส่วนผสมจะหนาขึ้นเฉลย ข้อ 3แนวความคิด การทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ                ในแต่ละรอบการทำงาน (cycle) เครื่องยนต์ 4 จังหวะ ลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้นลง 4 ครั้ง (ขึ้น 2 ครั้ง ลง 2 ครั้ง) โดยเพลาข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบ การที่ลูกสูบขึ้นลง 4 ช่วงชัก ทำให้เกิดการทำงาน 4 จังหวะ จังหวะการทำงานทั้ง 4 ของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะมีดังนี้1. จังหวะดูด (Intake stroke) เมื่อลูกสูบเริ่มเคลื่อนที่ลง ส่วนผสมของน้ำมันเชื้อเพลิงกับอากาศ (เครื่องยนต์ดีเซลจะดูดเฉพาะอากาศเพียงอย่างเดียว) จะถูกดูดเข้ามาในกระบอกสูบโดยผ่านลิ้นไอดี(intake vavle) ซึ่งเปิดอยู่ ฃิ้นไอดีจะปิดที่ประมาณปลายจังหวะดูด (ใกล้ศูนย์ตายล่าง)2. จังหวะอัด (Compression stroke) เมื่อลูกสูบเริ่มเลื่อนขึ้น ลิ้นทั้งสองทั้งลิ้นไอดีและลิ้นไอเสีย(Exhaust valve) จะปิดส่วนผสมของน้ำมันเชื้อเพลิงกับอากาศ (เครื่องยนต์ดีเซลจะเฉพาะอากาศเพียงอย่างเดียว) จะถูกอัดจนกระทั้งใกล้ศูนย์ตายบน ส่วนผสมจะถูกจุดโดยหัวเทียน (เครื่องยนต์ดีเซลน้ำมันเชื้อเพลิงจะถูกฉีดเข้ามาโดยหัวฉีด) การเผาไหม้จึงเริ่มขึ้น3. จังหวะกำลัง , จังหวะระเบิด , (Power stroke) เมื่อลูกสูบเริ่มเลื่อนลงลิ้นทั้งสองยังคงปิดอยู่ แรงดันของแก๊สที่เกิดจากการเผาไหม้ จะกระแทกลงหัวลูกสูบ ผลักดันให้ลูกสูบเลื่อนลง จนกระทั้งใกล้ศูนย์ตายล่าง ลิ้นไอดีเสียจะปิด4. จังหวะตาย , จังหวะไอเสีย (Exhaust stoke) เมื่อลูกสูบเริ่มเลื่อนขึ้น จะผลักดันให้ไอเสียค้างในกระบอกสูบ ออกไปภายนอกโดยผ่านลิ้นไอเสียที่เปิดอยู่ ลิ้นไอเสียยังคงเปิดอยู่จนกระทั่งลูกสูบเลื่อนผ่านศูนย์ตายบนไปเล็กน้อย จากนั้นจะเป็นการเริ่มจังหวะดูดในรอบการทำงานต่อไป4. การประกอบหัวฉีดเข้ากับเครื่องยนต์ทุกครั้งต้องทำอย่างไร1) หมุนเครื่องยนต์ให้ตรงกับตำแหน่งการฉีด2) ให้หัวเป่าลมทำความสะอาดเครื่องล้างหัวฉีดบนฝากสูบ3) เปลี่ยนแหวนรองหัวฉีดทุกครั้ง4) เปลี่ยนไส้กรองที่ชุดฉีดทุกครั้งเฉลย ข้อ 1 แนวความคิด หมุนเครื่องยนต์ให้ตรงกับตำแหน่งการฉีด 5. ชิ้นส่วนที่ใช้ป้องกันแก๊สและน้ำหล่อเย็นรั่วของเครื่องยนต์คือ1) แหวนอัด2) ปะเก็บฝาสูบ3) ปะเก็บอ่างน้ำมันเครื่อง4) ซิวก้านวาล์วเฉลย ข้อ 1 แนวความคิด 1) แหวนอัด = นี้ป้องกันการรั่วของส่วนผสมอากาศและเชื้อเพลิงและแก๊สที่เกิดจากห้องเผาไหม้ระหว่างจังหวะอัด และจุดระเบิดมิให้น้อยลงสู่ห้องเพลาข้อเหวี่ยงจำนวนแหวนอัดนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องยนต์ โดยทั่วไปลูกสูบหนึ่งลูกจะมีแหวะอัดสองตัว ซึ่งเรียกว่า “แหวนอัดตัวบน” และ “แหวนอัดตัวที่สอง” แหวะอัดจะมีลักษณะเป็นเทเปอร์ ดังนั้นขอบล่างของมันจึงสัมผัสกับผนังกระบอกสูบ กระออกแบบเช่นนี้เพื่อให้เกิดการสัมผัสที่แนบสนิทกันเป็นอย่างดี ระหว่างแหวนและ กระบอกสูบ นอกจากนั้นยังทำหน้าที่กวาดน้ำมันเครื่องออกจากผนังกระบอกสูบได้อย่างมีประสิทธิภาพ2) ประเก็บฝาสูบ = ประเก็บฝาสูบป้องกันการรั่วของแก๊สที่เกิดจากการเผาไหม้ตามการจุดระเบิดของเครื่องยนต์3) ประเก็บอ่างน้ำมันเครื่อง = มีหน้าที่เป็น ที่เก็บน้ำมันเครื่องไว้เพื่อใช้ในการหล่อลื่น โดยมีประเก็นเป็นตัวป้องกันการการรั่วระหว่างเสื้อสูบกับอ่างน้ำมันเครื่อง4) ซิวก้านวาล์ว = เป็นชิ้นส่วนที่นำมาจากอลูมิเนียมมีหน้าที่ป้องกันการรั่วของน้ำมันเครื่องที่ใช้หล่อลื่น กระเดื่องวาล์ว6. เครื่องยนต์ดีเซลถ้าปลอกนำลิ้นลึกจะเกิดอาการใด1) ควันไอเสียมีสีดำ2) เครื่องยนต์ไม่มีกำลัง3) กินน้ำมันเชื้อเพลิง4) ควันไอเสียมีสีขาวเฉลย ข้อ 1 แนวความคิด1) ควันไอเสียมีสีดำ = ควันดำ เกิดจากน้ำมันเชื้อเพลิงที่ถูกฉีดเข้าไปในห้องเผาไหม้ในขณะที่ปริมาณของปริมาณของออกซิเจนในห้องเปาไหม้มีไม่เพียงพอ จึงทำให้การเผาไหม้ไม่หมด อนุภาคของเชื้อเพลิงที่หลงเหลือเหล่านี้จะได้รับความร้อนแล้วกลายเป็นสภาพเขม่าที่ถูกปล่อยออกมาทางท่อไอเสีย2) เครื่องยนต์ไม่มีกำลัง = เกิดจากการเผาไหม้ของน้ำมันดีเซลที่ไม่สมบูรณ์ มีสาเหตุจาก·       หัวฉีดมีการอุดตัน ฉีดน้ำมันไม่เป็นฝอยละเอียด มีแรงดันผิดปกติจากค่ามาตรฐานที่กำหนด·       ปั้มดีเซลจ่ายน้ำมันผิดปรกติ มีแรงดันต่ำหรือสูงกว่ามาตรฐาน ทำให้จังหวะจุดระเบิดผิดปรกติ·       เทอร์โบบกพร่อง สร้างแรงดันและปริมาณอากาศน้อยกว่าปรกติ3) กินน้ำมันเชื้อเพลิง = อาการเครื่องยนต์กินน้ำมันมากผิดปกติ มีได้หลายสาเหตุ·       ปั๊มดีเซลจ่ายปริมาณน้ำมันผิดปรกติ หรือมีการปรับแต่งปั๊มดีเซลให้จ่ายน้ำมันมาก·       หัวฉีดผิดปรกติ จ่ายน้ำมันไม่เป็นฝอยละเอียด มีค่าแรงดันต่ำกว่ามาตรฐาน หรือมีการปรับค่าแรงดันไม่ถูกต้อง·       เครื่องยนต์ไม่มีกำลัง ทำให้ต้องใช้เกียร์ต่ำ ส่งผลให้ใช้เครื่องยนต์รอบสูง มำให้เครื่องยนต์สึกหรอสูงด้วย4) ควันไอเสียมีสีขาว = ควันขาว เกิดจากอุณหภูมิที่ถูกอัดในห้องเผาไหม้มีต่ำเกินไป เชื้อเพลิงที่ถูกฉีดออกมาจากหัวฉีดจะระเหยกลายเป็นไอแต่เผาไม่หมด จึงถูกขับออกมาทางท่อไอเสีย หรือมีส่วนผสมของน้ำมันเครื่องปะปนอยู่




 

Create Date : 16 กันยายน 2561
0 comments
Last Update : 16 กันยายน 2561 14:08:34 น.
Counter : 455 Pageviews.

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

space

สมาชิกหมายเลข 2619003
Location :
ขอนแก่น Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]




จำหน่ายหนังสือเตรียมสอบ/รวมแนวข้อสอบ ราชการ รัฐวิสาหกิจ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นๆ

space
space
[Add สมาชิกหมายเลข 2619003's blog to your web]
space
space
space
space
space