เทคโนโลยีในการทำเลสิค
History Of Laser Surgery
Since the 1940s, different kinds of refractive surgery have evolved as ways to permanently correct refractive errors. Today there are several types of refractive surgery, some widely used for decades, some still experimental. The most important of the earlier refractive surgeries are radial keratotomy (RK) and photorefractive keratectomy (PRK).

What Is Radial Keratotomy (RK)
Radial Keratotomy (RK) corrects myopia by flattening the central cornea using a series of peripheral cuts (incisions) radiating from the central cornea. A hand-held knife with a retractable diamond cutting tip is used to perform the operation. The optical zone (the central part of the cornea that's responsible for our most critical vision) is marked off with a circular ring. Corneal thickness is measured and the diamond cutting tip is extended to the appropriate length. Incisions are made from the edge of the optical zone out to the edge of the cornea. By doing so, the central optical zone is not touched. RK can treat only low degrees of myopia and astigmatism, but LASIK can also treat hyperopia and higher degrees of myopia and astigmatism.

What Is Photorefractive Keratectomy (PRK)
Photorefractive Keratectomy (PRK) is a surgical procedure that uses an extremely precise laser to remove corneal tissue for the purpose of correcting refractive error. PRK takes place on the surface of the cornea. Since the central corneal epithelium (the outer layer of corneal cells) needs to be removed for PRK, and there are nerve fibers that run through it, there may be discomfort initially. This discomfort is equivalent to a badly scratched eye or a corneal abrasion and it can cause pain, irritation, watering of the eye, blurry vision, or the sensation of a particle in the eye. A bandage contact lens helps to reduce the irritation and encourage healing of the tissue. Following PRK, vision is blurry the first few days, but it generally improves once the corneal epithelium has healed and the bandage lens is removed. By one week, vision should be reasonably good and is often stabilized by six months.

What Does PRK Have To Do With Lasik?
LASIK evolved from PRK and both surgeries use lasers in a similar manner. LASIK provides the same visual-correction benefits, but generally with fewer and less severe side effects than PRK. LASIK uses an excimer laser to ablate part of the corneal stroma. Since LASIK does not disturb the sensitive top layer of the cornea there is less discomfort with this procedure and there is faster recovery.

What Is An Excimer Laser?
An excimer laser is a precise computerized instrument that uses invisible ultra-violet light to ablate the cornea during refractive surgery. This cool light laser produces virtually no damage to the surrounding tissue, increasing its safety. Each pulse of the laser removes only a minute amount of corneal tissue — about 1/500th of the thickness of a human hair.

First- and second-generation excimer lasers use a broad beam (about 6 mm in diameter) with an aperture that controls the amount of the beam that is exposed to the eye during any single pulse. Manufacturers have refined this technology by splitting the single broad beam into several smaller beams that are rotated around the treatment area (similar to how a showerhead splits the main water stream into smaller streams).

Flying Spot
Newer generation excimer lasers, such as Bausch & Lomb's Technolas® 217A, utilize an innovative technology called a "flying spot laser." A narrow beam (about 2 mm wide) contacts the eye at lightning speed in a pattern that allows the debris to clear in one place before contacting that area again. The laser beam covers a broad surface area, but does not penetrate as deeply as in RK procedures. Unlike the broad beam, the full width of the flying spot beam is exposed to the cornea during every pulse. This technology produces a smoother corneal shape and helps increase the accuracy and efficacy of the surgery.

The newest generation excimer laser, the Technolas® 217z Zyoptix System for Personalized Laser Vision Correction, combines both a 2mm and a 1mm beam

Advancements To Laser Surgery
Since 1991 Bausch & Lomb (then Chiron Vision) has been the leader in refractive technologies. B&L's initial success in RK led to an education program that effectively trained surgeons entering the refractive market, and validated the efficacy of the procedure.

In 1993, B&L launched the Keracor 116 excimer laser. Although excimer lasers were initially introduced for PRK, key opinion leaders began to look at the minimal wound healing effects of LASIK with great interest. The following year, B&L established a LASIK Advisory Board comprised of 14 of the world's most insightful leaders in the field of refractive surgery; these "pioneers" established a standardized LASIK surgical technique, and developed a related training program.

Bausch & Lomb's C-LASIK education program includes a network of over 70 teaching physicians and covers new product innovations such as the Hansatome® microkeratome, the Technolas® 217A excimer laser and Technolas® 217z Zyoptix wavefront-guided laser for correction of myopia. The program serves both to validate and proliferate LASIK as a safe and effective method of vision correction.

In 2003, Bausch & Lomb introduced Zyoptix a new personalized laser vision correction system unique to each eye for sharp, clear, and accurate vision.

ว่างๆจะแวะมาแปลให้นะคะ เอามาจากเว็บไซด์ของ Bausch&Lomb ค่ะ



Create Date : 17 มิถุนายน 2550
Last Update : 18 มิถุนายน 2550 12:07:21 น.
Counter : 656 Pageviews.

1 comment
ทำเลสิคมาครบสองปีแล้วจ้า

เพิ่งไปตรวจสายตาหลังจากทำเลสิคมาสองปีเต็ม ยังแจ่มเหมือนเดิม supervision เนี่ยะยังรู้สึกเสียใจนิดๆที่ไม่ไปทำตั้งแต่ยังสาวๆจะได้ใช้ให้คุ้ม ทำมาแล้วยังประทับใจเหมือนเดิมค่ะ วันที่ไปตรวจสายตาเค้าก็หยอดยาขยายม่านตาและยาชา ตอนนอนรอให้ยาออกฤทธิ์ก็มีบริการนวดยืดเส้นยืดสายให้อีกนะ สบายจริงๆ เกือบหลับไปเลย พอเสร็จสิ้นกระบวนการก็ออกมาจิบกาแฟ บริการตัวเองตามสบายเหมือนกับอยู่ที่บ้าน จะเล่นอินเตอร์เนตก็ได้ มีบริการฟรี แต่ตอนนั้ม่านตาเราขยายอยู่เลยเบลอมองอะไรไม่ชัด เลยให้คนที่มาด้วยไปเล่นเนตรอ แถมยังบอกอีกว่าถ้าพาญาติพี่น้องมาทำจะลดให้พิเศษอีกแน่ะ ใครอยากทำราคาลดพิเศษก็มาสมัครเป็นญาติกะเรานะจ๊ะ อีเมล์มาที่ ajarnmoo@gmail.com ค่ะ ว่างๆก็มาคุยกันก็ได้นะ
อ้อพอดีไปเปิด blogของคุณน้องblessed มาเขียนได้ละเอียดเชียวค่ะ ลองแวะไปอ่านดูนะคะ ถ้าอยากได้ข้อมูลเพิ่มเติม



Create Date : 06 มิถุนายน 2550
Last Update : 18 มิถุนายน 2550 12:06:39 น.
Counter : 1380 Pageviews.

6 comment
ประสบการณ์การทำเลสิค
ไปทำเลสิคมาเมื่อเดือนมีนาคมปี 48 ...
ก่อนไปก็มาหาข้อมูลในพันทิพก่อนว่าใครไปทำมาแล้วเป็นไง.. สดใสซาบซ่า..ใสกิ๊งเหมือนที่โฆษณาหรือเปล่า แล้วก็หาข้อมูลเลสิคในเว็บต่างๆ สรุปแล้วตัดสินใจไปทำที่ TRSC เพราะว่าข้อมูลที่อื่นๆก็คล้ายๆกัน ราคาต่างกันบ้าง ที่นี่จะแพงมากหน่อย แต่ความมีชื่อเสียงของแพทย์ เทคโนโลยี และประสบการณ์เข้าตากรรมการ... อิอิ.. ก็เห็นว่าใครๆก็ชมนี่นา..
ไปวัดสายตาอย่างละเอียดที่ศูนย์ที่เชียงใหม่ แล้วนัดผ่าตัดเลย บินไปกรุงเทพ ไปตรวจซ้ำอีกทีแล้วพักที่ โรงแรม 1คืน รุ่งเช้านัดผ่า 10.30 น. ไปตรงเวลาเด๊ะเลย จนท.เค้าก็เข้ามาแนะนำตัวอธิบายก่อนผ่า-หลังผ่า จ่ายยาให้เรียบร้อย..พร้อมกับจ่ายเงินด้วยนะจ๊ะ รับบัตรเครดิตด้วยแฮะ..
จากนั้นก็พาเข้าไปในห้อง ให้ใส่เสื้อกาวน์กับหมวกคลุมผมแล้วก็นั่งรอที่เก้าอี้ที่แสนสบาย นอนเอกเขนกหยอดยาชา กับยาแก้อักเสบ จนได้ที่ซัก 15-20 นาที เค้าก็พาเดินเข้าไปในห้องที่มีเครื่องอยู่ (จะเรียกว่าห้องผ่าตัด ก็ดูน่ากลัวไปหน่อย) นอนบนเตียง..โอ้โฮ..คนหลายคนรายล้อมอยู่..คุณหมออยู่ไหนคะ..ก็มองเห็นไม่ชัดนี่นา..
เค้าจะเอาอะไรเหนียวๆเหมือนสติ๊กเกอร์มาแปะที่หน้าช่วงหน้าผากลงมาถึงกลางจมูกแล้วดึงเอาหนังตาเราขึ้นไป( เผลอๆกำลังยิงเลเซอร์แล้วหนังตาเกิดกระพริบขึ้นมาก็แย่อ่ะดิ่) แล้วเค้าก็เจาะช่องให้ตาเราโผล่ออกมา จากนั้นก็จะมีอีกเครื่องนึงที่จะกดรอบๆตาเราเพื่อให้ตาเราปูดขึ้นมาเพื่อจะให้ง่ายต่อการทำเลสิคไง ตอนนี้เราจะรู้สึกตึงๆตา (ทำทีละข้างค่ะ) วี๊ดด..ด. มีเสียงจากเครื่องอีกตัวนึงคือเครื่องแยกชั้นกระจกตาเหมือนจะมองเห็นนะ แต่ก็ไม่เจ็บค่ะ หายใจยาวๆ 1 ทีด้วยความเสียว..ก็เสร็จแล้ว จากนั้นก็จะถึงตาเครื่องยิงเลเซอร์สีเขียวสีแดง ให้จ้องไว้ ทำตาโตๆอย่ากระดุกกระดิกเพราะถ้าเราเคลื่อนไหวเครื่องจะไม่ยิงแสงค่ะ ไม่ต้องห่วง แต่จะเสียเวลาเท่านั้นเอง ตอนนี้แหละเราจะต้องให้ความร่วมมืออย่างมาก เวลาที่ยิงก็ประมาณ 15-20 วินาทีเองมั๊งคะ พอเสร็จเค้าก็เอาชั้นกระจกตาที่แยกออกไปตอนแรกกลับเข้ามาแปะให้เหมือนเดิม มันก็จะสมานกันเองภายในเวลาไม่กี่นาที แค่นี้ก็เสร็จไปแล้ว 1 ตา เค้าก็จะเริ่มมาทำข้างที่เหลือ วิธีเดิม รวมเวลาทำทั้งหมดไม่เกิน 20 นาทีนะเราว่า ไม่น่ากลัวอย่างที่คิด แต่เสียวน่ะ..อยู่แล้ว..
ก่อนกลับบ้าน คุณหมอจะตรวจดูความเรียบร้อยหลังผ่าตัดอีกทีแล้วก็ปิดตาเราโดยใส่ที่ครอบตาเหมือนตั๊กแตนตำข้าว..อิอิ ที่ครอบตาก็จะมีรูๆเต็มไปหมด เราก็มองลอดผ่านได้เลย แต่ต้องมีคนไปเป็นเพื่อนนะเพราะเราจะแสบตามากๆ น้ำตาไหลพรากๆ ไปไหนมาไหนเองไม่ค่อยคล่องตัว (วันนั้นเราก็ตกบันไดหน้าตึกอื้อจือเหลียงมาด้วยแหละ เพราะคนที่ไปด้วยเค้าวิ่งไปเรียกแท็กซี่ไงเราก็กะจะวิ่งตาม..แบบว่าลืมตัว..แหะแหะ)
กลับมานอนพักสายตาที่โรงแรมเที่ยงกว่าๆ ..เฮ้อ ดูทีวีก็ไม่ได้ เซ็งที่สุดก็ตอนนี้แหละ เปิดวิทยุฟังก็ได้ฟะ...โทรเรียกเพื่อนมาเม้าท์ดีก่า.. จริงๆแล้วเค้าก็จ่ายยาคลายเครียดให้ 2 เม็ดเผื่อนอนไม่หลับน่ะ นอนกลิ้งเกลือกไปมา ก็เผลอตัวหลับไป ตื่นมา 4-5 โมงเย็นทีนี้หายแสบตามั่งแล้ว มองลอดรูเห็นชัดเลย อยากเอารูออกแต่ก็ทำไม่ได้เพราะหมอเค้าจะเอาออกให้เองพรุ่งนี้เช้า คืนนี้ต้องนอนไปกับเจ้ารูคู่ชีพนี่แหละ..
เอ้กอี้เอ้กเอ้ก..... เช้าแล้วไปหาหมอเลยดีกว่า.. หมอก็เปิดตา ตรวจสายตา ดูความเรียบร้อย บางคนอาจจะมีเส้นเลือดฝอยในตาแตก หรือเป็นหมีแพนด้าได้ แต่เราโชคดีไม่มีอะไรเลย ทุกอย่างเรียบร้อยดี เค้าให้ระวังฝุ่น เลยต้องพกแว่นตากันแดดไปด้วยให้พยายามใส่ตลอดเวลาที่ออกข้างนอกเลย
ทีนี้ก็ใช้สายตาได้ตามปกติแล้วค่ะเพียงแต่ช่วง 1-2 อาทิตย์แรกเราต้องดูแลเป็นอย่างดี ประคบประหงมตลอด โดนน้ำก็ไม่ได้ โดนฝุ่นไม่ได้ กลางวันใส่แว่นตากันแดด กลางคืนใส่รูที่ครอบตากันเอามือไปขยี้ตาเวลาหลับไงคะ พ้นระยะนี้ไปแล้วก็สบายแฮ... เลิกคบแว่นสายตาไปเลย
นี่ก็ใกล้จะครบปีแล้วหละต้องไปตรวจสุขภาพตาตามนัดอีกแล้วเรา



Create Date : 26 กุมภาพันธ์ 2549
Last Update : 18 มิถุนายน 2550 10:06:17 น.
Counter : 2447 Pageviews.

1  2  

หมิ๋ว
Location :
เชียงใหม่  Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed

 ผู้ติดตามบล็อก : 3 คน [?]



หมิ๋วเป็นพยาบาลเด็กค่ะ ตอนนี้สอนหนังสืออยู่ เลยชอบที่จะให้ความรู้ และแบ่งปันประสบการณ์ที่ตัวเองประสบมาให้คนอื่นๆฟัง และเป็นคนพูดมาก น้ำไหลไฟดับ(สมกับที่เป็นครูเลย) ยินดีให้คำปรึกษาทุกๆเรื่องที่มีความรู้อยู่นะคะ
ปล. ส่งเมล์มาปรึกษาจะรวดเร็วกว่าหลังไมค์ที่มักจะลืมเช็คบ่อยๆนะคะ ajarnmoo@gmail.com ค่ะ