|
สิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน
การไม่ปฏิบัติ ตัด ถอนสิ่งเหล่านี้ ทำให้ไม่เป็นกิเลสได้ ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งไม่ควรปฏิบัติ ควรตัด ควรถอน อย่างเป็นทางสายกลาง - กาย อย่างเป็นกิเลส - ความลังเลในธรรมะ ความถูกความดี หรือความไม่เป็นกิเลส ความเห็นผิด - การกระทำผิดจากเป้าหมายที่แท้จริงที่ถูกที่ดีที่ไม่เป็นกิเลส การมีความสุขในทางที่ผิดที่ไม่ดีหรือเป็นกิเลส การเชื่อมต่อที่ผิดที่ไม่ดี การเชื่อมต่อขันธ์ของตนกับขันธ์ของผู้อื่น
- การใช้พื้นฐาน ทางรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส รับรู้ทางใจ อย่างเป็นกิเลส เป็นการยึดติด หรือเป็นการยึดมั่นถือมั่น - ความไม่พอใจ ขัดใจ ความขัดเคืองใจ ความขุ่นข้องหมองใจ ความกระทบกระทั่งในใจ อย่างเป็นกิเลส เป็นการยึดติด หรือเป็นการยึดมั่นถือมั่น
- การใช้รูปหรือรูปธรรม อย่างเป็นกิเลส เป็นการยึดติด หรือเป็นการยึดมั่นถือมั่น รูปในที่นี้หมายถึงรูปที่ไม่เป็นไปในทางพื้นฐานเลย - การใช้อรูปหรือนามธรรม อย่างเป็นกิเลส เป็นการยึดติด หรือเป็นการยึดมั่นถือมั่น - ตัวตนอย่างเป็นกิเลส ความรู้สึกที่เป็นไปในตนเอง คุณสมบัติของตน แข่ง เปรียบเทียบ อย่างเป็นกิเลส - ขาดสติ ขาดสัมปชัญญะ ขาดสมาธิ ความกระเพื่อมฟุ้งของจิต อย่างเป็นกิเลส - การใช้ธรรม อย่างเป็นกิเลส เป็นการยึดติด หรือเป็นการยึดมั่นถือมั่น - การเรียงผิด ผิดเนื้อนาม ผิดลำดับจากหลักวิชาหรือกฎของธรรมชาติ - การใช้ขันธ์ อย่างเป็นกิเลส คือ ใช้รูปขันธ์ เวทนา สัญญาหรือความหมายรู้ได้ต่างๆ สังขาร วิญญาณ อย่างเป็นกิเลส การยึดติด ยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ คือ ยึดติด ยึดมั่นถือมั่นในรูปขันธ์ เวทนา สัญญาหรือความหมายรู้ได้ต่างๆ สังขาร วิญญาณ - ขาดความถูกต้อง ขาดธรรมะ ขาดธรรมฝ่ายดีงาม ขาดวิชา ขาดทางสายกลาง ความผิด แก้ปัญหาด้วยความผิด - ความไม่มีวิชา
Create Date : 11 มีนาคม 2567 |
Last Update : 6 สิงหาคม 2567 21:05:47 น. |
|
0 comments
|
Counter : 201 Pageviews. |
|
|
|
|
|
|
|
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
|
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 12 คน [?]
|
ข้อคิดธรรมะ โดย ปัญญา Dh (ชวัลธร ชนาภัทร)
คิด พิจารณา จด บันทึกเพื่อนำไปปฏิบัติ แบ่งปัน ส่งต่อได้
ปฏิบัติเพื่อเป็นธรรมะ เป็นธรรมฝ่ายดีงาม เป็นความถูกความดี เพื่อไม่เป็นกิเลส ธรรมะหลัก ธรรมฝ่ายดีงาม เป็นบารมีที่ถูกที่ดี การตัดกิเลส ทำให้ไม่เป็นกิเลสได้ ทำให้สงบสุข เรียบร้อยได้
ศรัทธา ในตนเอง อย่างไม่ลำเอียง ไม่เป็นกิเลส รักผู้อื่นให้เท่ากับรักตนเอง อย่างเป็นกลาง เป็นธรรม
อ่านบทความเดิมได้
|
|
|
|
| |
|
|