|
 |
| 1 | 2 | 3 | 4 |
5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 |
12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 |
19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 |
26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | |
|
|
 |
11 สิงหาคม 2550
|
|
|
|
ประสิทธิภาพของเซลล์เชื้อเพลิง

Polarization Curve Kordesch, 1996

Polarization Curve Frano Barbir, 2005

Fuel Cell Efficiency
การทำงานของเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอน จะวัดออกมาในค่าของความหนาแน่นกระแส (current density) วิเคราะห์ประสิทธิภาพการทำงานของเซลล์เชื้อเพลิงได้จาก Polarization curve
ตามทฤษฎีแล้ว ความสัมพันธ์ของความต่างศักย์และความหนาแน่นกระแสควรจะเป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอน แต่เนื่องจากข้อจำกัดในการทำงานของ เซลล์เชื้อเพลิง ทำให้ความสามารถในการทำงานลดลง ทั้งนี้เนื่องมาจากสาเหตุสำคัญ ดังนี้ คือ
1. ความสามารถของตัวตัวเร่งปฏิกิริยาไม่สามารถทำให้เกิดประจุไฟฟ้าเพียงพอออกมาขณะที่ต้องการกระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้น เรียกว่า reaction rate loss
2. ความต้านทานภายในของชั้นการแพร่ ตัวสะสมกระแส และเมมเบรน ทำให้ความสามารถในการนำอิเล็กตรอนและโปตรอนต่ำลง เรียกว่า resistance loss หรือ ohmic loss
3. อัตราการแพร่ของก๊าซเข้าไปทำปฏิกิริยาไม่เพียงพอ เนื่องจากเกิดน้ำในชั้นการแพร่ หรือในช่องการไหลของก๊าซ ก๊าซจึงไหลได้ลดลง ทำให้การเกิดปฏิกิริยาน้อยลง เรียกว่า gas transport loss
การทำงานของเซลล์เชื้อเพลิงจะเปลี่ยนพลังงานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า เมื่อพิจารณาสมดุลพลังงานแล้วพบว่าได้ พลังงานไฟฟ้า (พื้นที่ใต้กราฟ) และพลังงานที่สูญเสียไปคือ พลังงานความร้อน (พื้นที่เหนือกราฟ)
Create Date : 11 สิงหาคม 2550 |
|
0 comments |
Last Update : 17 มกราคม 2552 14:37:56 น. |
Counter : 5521 Pageviews. |
 |
|
|
| |
|
 |
สนามบินเก่า |
|
 |
|
|