ปัญญา ศีล สมาธิ
ย่อเฉพาะหัวข้อมาให้ดูกัน... เราควรปฏิบัติต่อกรรมเก่าอย่างไร? ๑. รู้หลักความตรงกันของเหตุกับผล ๒. กำหนดผลดีที่ต้องการให้ชัด ๓. ทำเหตุปัจจัยให้ครบที่จะให้เกิดผลที่ต้องการ ๔. ฝึกฝนปรับปรุงตนให้ทำกรรม(ได้ผล)ดียิ่งขึ้นไป
Create Date : 14 พฤศจิกายน 2554 |
|
8 comments |
Last Update : 3 กุมภาพันธ์ 2556 11:02:25 น. |
Counter : 4716 Pageviews. |
|
 |
|
ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะรัง
ห้วงน้ำที่เต็มย่อมยังสมุทรสาครให้บริบูรณ์ได้ ฉันใด
เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ
ทานที่ท่านอุทิศให้แล้วแต่โลกนี้, ย่อมสำเร็จประโยชน์แก่ผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้วได้ ฉันนั้น.
อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง
ขออิฏฐผลที่ท่านปรารถนาแล้วตั้งใจแล้ว
ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ
จงสำเร็จโดยฉับพลัน
สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา
ขอความดำริทั้งปวงจงเต็มที่
จันโท ปัณณะระโส ยะถา
เหมือนพระจันทร์วันเพ็ญ
มะณิ โชติระโส ยะถา
เหมือนแก้วมณีอันสว่างไสวควรยินดี ฯ