ภาพลวงตาที่ยิ่งใหญ่

ภาพลวงตาทิ่ยิ่งใหญ่
โดย
Paul Robin Krugman
ตีพิมพ์ 18 สิงหาคม 2551


นักเศรษฐศาสตร์ชาวอเมริกัน ศาสตราจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ที่ สำนักวูดโร วิลสัน และ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ที่มหาวิทยาลัยพรินส์ตัน
ได้รับรางวัลโนเบิลด้านเศรษฐศาสตร์ ฯลฯ เป็นผู้ทำนายภาวะเศรษฐกิจต้มยำกุ้งในเอเซีย
ของประเทศไทยในปี 2540 และร่วมวางแผนทางการเงินกับประเทศมาเลเซียจนพ้นวิกฤติ
จากการไม่ต้องเข้าร่วมกับ IMF เหมือนกับประเทศอื่น ๆ ที่เข้าร่วมในครั้งนั้น


ไม่นานมานี้

ผลกระทบด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
จากสงครามในคาบสมุทรคอเคซัส
ได้รับการสนใจค่อนข้างน้อย
แม้ว่าบทบาทของประเทศจอร์เจีย
จะเป็นเส้นทางที่สำคัญสำหรับการขนถ่ายน้ำมัน

แต่ที่เมื่อผมได้อ่านข่าวร้ายล่าสุดแล้ว
ผมคิดกับตัวเองว่า
สงสัยว่าสงครามครั้งนี้เป็นลางบอกเหตุ
ยุคสมัยโลกาภิวัฒน์ที่ยิ่งใหญ่ครั้งที่สอง
ที่อาจร่วมชะตากรรมเหมือนกับในครั้งแรกที่ผ่านมา

หากคุณสงสัยว่าสิ่งที่ผมพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องนี้
นี่คือสิ่งที่คุณจำเป็นต้องรู้
ที่ผ่านมาบรรพบุรุษของพวกเราอาศัยอยู่ในโลกของ
การพึ่งพาตนเองเป็นส่วนใหญ่(เศรษฐกิจพอเพียง)
เศรษฐกิจยืนหยัดด้วยสินค้าภายในประเทศของตนเอง
แต่สมัยก่อนรุ่นชวดของพวกเราก็อาศัยแบบเดียวเหมือนกัน
แต่ด้วยโลกของการค้าและการลงทุน
ระหว่างประเทศขนาดใหญ่ที่ไปพร้อม ๆ กัน
กับทรัพยากรโลกถูกทำลายลงเป็นจำนวนมาก
โดยลัทธิชาตินิยม(และจักรวรรดิ์นิยม)


นักเศรษฐศาสตร์อังกฤษ
John Maynard Keynes
ได้เขียนไว้ในปี คศ.1919(2462) อธิบายเรื่อง
เศรษฐกิจโลกก่อนการเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
" พลเมืองที่อาศัยในกรุงลอนดอน
สามารถสั่งซื้อสินค้าทางโทรศัพท์

จิบน้ำชายามเช้าบนเตียงนอน
สินค้าต่าง ๆ ของทั่วโลก 
ที่เขาสามารถสั่งซื้อได้พร้อม ๆ กับ
การเก็งกำไรเพื่อสร้างความมั่งคั่ง
กับทรัพยากรธรรมชาติ(ของประเทศอื่น)
และการลงทุนแบบใหม่ถึงหนึ่งในสี่ของโลก "

และชาวลอนดอนในทัศนะของ
Keynes
" ต่างมองว่าสถานการณ์แบบนี้
เป็นเรื่องปกติธรรมดาแน่นอน และยั่งยืน
ยกเว้นแต่การปรับปรุงเพิ่มเติมบางอย่าง
เพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ

โครงการต่าง ๆ และระบบการเมือง
การทหารและลัทธิจักรวรรดินิยม
เชื้อชาติ และวัฒนธรรมหลากหลาย
การผูกขาด ข้อจำกัด และการยกเว้น
ดูเหมือนว่า จะไม่มีอิทธิพลเกือบทั้งหมด
หรือกระทบเกี่ยวกับเรื่องธรรมดาสามัญ
ของสังคมและการใช้ชีวิตทางเศรษฐกิจ
ความเป็นสากลเกือบสมบูรณ์ในทางปฏิบัติ. "


แต่แล้วสามทศวรรษที่ผ่านมา
กลับเต็มไปด้วยสงคราม การปฏิวัติ
ความไร้เสถียรภาพทางการเมือง
ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
และสงครามกลางเมืองที่เพิ่มมากขึ้น
หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง
โลกได้แบ่งออกเป็นสองขั้ว
ด้านเศรษฐกิจและทางการเมือง
(แบบคอมมิวนิสต์กับบบเสรีนิยม)
และใช้เวลาของคนหลายรุ่น
กว่าจะนำกลับมารวมกันอีกครั้ง

เรื่องนี้จะสามารถแตกหักได้อีกครั้งหรือไม่ แน่นอนเป็นไปได้

ให้ลองพิจารณาว่า
มีหลายเรื่องราวที่ได้เป็นสัญญาณบ่งบอก
ในช่วงวิกฤติการณ์อาหารในปัจจุบัน
หลายปีที่ผ่านมา
เรามักจะหลอกตัวเองว่า
การพึ่งพาตนเองหรือเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวคิดที่ล้าสมัย
และคิดกันเองว่ามันค่อนข้างปลอดภัยกว่า
ที่จะพึ่งพากลไกตลาดโลกสำหรับเสบียงอาหาร(อาหารการกิน)
แต่เมื่อราคาของข้าวสาลี,ข้าว และข้าวโพดเพิ่มสูงขึ้น
หลายชาติต่างมีการกระทำแบบตรงข้ามแนวคิดของ
Keynes
ภายใต้ โครงการและการเมืองที่มีข้อจำกัดและข้อยกเว้น
ได้รื้อฟื้นแนวคิดดังกล่าวกลับมาใช้อีกครั้ง
รัฐบาลหลายแห่งต่างเร่งใช้นโยบายดังกล่าวนี้
เพื่อปกป้องผู้บริโภค(ประชากร)ภายในประเทศ
ด้วยการห้ามหรือจำกัดการส่งออกออกประเทศ
ปล่อยให้ประเทศที่พึ่งพาการนำเข้าอาหาร
ประชากรในประเทศเหล่านั้นต่างต้องตกระกำลำบาก
(กับการซื้อหาอาหารในราคาแพงลิบลิ่ว)

และตอนนี้มาถึงแล้ว
ลัทธิทหารและจักรวรรดินิยม
โดยผลร้ายของตัวของมันเอง
ที่ผมกล่าวว่าสงครามในจอร์เจีย
แม้ว่าไม่ได้เป็นเรื่องราวใหญ่โตที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ
แต่จะเป็นจุดเริ่มต้นของเครื่องหมายสิ้นสุด
PaxAmericana
ยุคที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ไม่มากก็น้อย
ที่คงไว้ซึ่งอำนาจการผูกขาดการใช้กำลังทหาร
และที่ก่อให้เกิดคำถามที่แท้จริงบางอย่าง
เกี่ยวกับอนาคตของโลกาภิวัตน์

แน่นอนที่สุดในตอนนี้
ยุโรปต้องพึ่งพาพลังงานจากรัสเซีย

ก๊าซธรรมชาติ/น้ำมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ตอนนี้ยิ่งดูน่า อันตรายมาก - อั
​​นตรายมากขึ้น
อย่างเห็นได้ชัดเจนยิ่งขึ้นว่า

มากกว่าการพึ่งพาน้ำมันจากตะวันออกกลาง
หลังจากที่รัสเซียได้ใช้ก๊าซเป็นอาวุธแล้วในปี คศ.2006(2549)
ด้วยการปิดท่อลำเลียงก๊าซ/น้ำมันไปยังประเทศยูเครน
ท่ามกลางความขัดแย้งเรื่องนโยบายระหว่างประเทศ
มากกว่าความไม่พอใจในเรื่องราคาสินค้าที่ถูกหรือแพง

และถ้ารัสเซียตั้งใจจะทำแล้ว
และสามารถที่จะใช้เป็นพลังต่อรอง
เพื่อรักษาอำนาจครอบงำของตนเอง
ที่ทำให้มีอิทธิพลเหนือกว่าประเทศอื่น ๆ ได้
แล้วประเทศอื่นจะทำเช่นเดียวกันได้หรือไม่ 
?
แค่คิดเกี่ยวกับการชะลอตัวของของเศรษฐกิจโลก
ที่จะส่งผลต่อเนื่องตามๆ กันมา
และถ้าประเทศจีน ซึ่งเป็นผู้ผลิตสินค้ารายใหญ่ให้กับสหรัฐอเมริกา
พร้อมทั้งเป็นประเทศผู้ผลิตสินค้ารายใหญ่ที่สุดของโลก
จะมีการยืนยันสิทธิเรียกร้องให้ไต้หวันกลับมาเป็นรัฐหนึ่งของประเทศจีน

นักวิเคราะห์บางคนบอกเราว่า ไม่ต้องวิตกกังวลในเรื่องนี้
ผลของการบูรณาการระบบเศรษฐกิจทั่วโลกด้วยตัวของมันเอง
จะปกป้องพวกเราจากภัยสงครามได้
พวกเขาต่างมีความเห็นคัดค้านในเรื่องนี้
เพราะเศรษฐกิจการค้าที่ประสบความสำเร็จ
จะไม่พยายามสร้างความเสี่ยงกับความเจริญรุ่งเรือง
ภายใต้การชี้นำด้วยการเผชิญหน้ากันทางการทหาร
แต่ถ้าตอนนี้ แน่นอน
ขอยกความทรงจำทางประวัติศาสตร์ที่ไม่พึงประสงค์

ไม่นานมานี้
ก่อนที่สงครามโลกครั้งที่หนึ่งจะเกิดขึ้น
นักประพันธ์ชาวอังกฤษผู้หนึ่ง
, Norman Angell
ได้ตีพิมพ์หนังสือที่มีชื่อเสียงชื่อ "ภาพลวงตาที่ยิ่งใหญ่"
เขาเขียนไว้ว่า
สงครามได้กลายเป็นเรื่องล้าสมัย
ในยุคอุตสาหกรรมที่ทันสมัย
​​
เพราะชัยชนะทางทหารจะสูญเสียมากเกินกว่ากำไรที่ได้รับ
เขาพูดถูกต้องในเรื่องนี้
แต่สงครามก็เกิดขึ้นในที่สุด

ดังนั้นรากฐานของเศรษฐกิจโลกในสมัยที่สอง
มีความเข็มแข็งขึ้นกว่าเศรษฐกิจโลกครั้งแรกหรือไม่
ในบางเรื่องใช่ ตัวอย่างเช่น
สงครามระหว่างประเทศในยุโรปตะวันตก
โดยข้อเท็จจริง ดูแล้ว
ไม่น่าเชื่อว่าจะเกิดขึ้นได้ในตอนนี้
เพราะผลจากผูกพันกันด้านเศรษฐกิจ
และผลจากค่านิยมร่วมระบบประชาธิปไตย

แต่โดยส่วนมากของโลกใบนี้
หลายประเทศรวมถึงประเทศ
ที่มีบทบาทสำคัญในเศรษฐกิจโลก
มีหลายประเทศที่ไม่ได้มีส่วนร่วมกับค่านิยม
(ความผูกพันด้านเศรษฐกิจ
และค่านิยมระบบประชาธิปไตย)

พวกเราส่วนใหญ่ได้ดำเนินชีวิต
อยู่บนพื้นฐานความเชื่อที่ว่า
อย่างน้อยตราบเท่าที่
เศรษฐกิจยังดำเนินต่อไปได้
เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องสำคัญ
ตราบเท่าที่เราสามารถตรวจนับ
การค้านานาชาติที่เคลื่อนไหวอย่างอิสระ
เพียงเพราะ ผลกำไรที่ได้รับ
แต่นี้เป็นสมมติฐานที่ไม่ปลอดภัยเลย

Norman Angell พูดถึงเรื่องความเชื่อได้อย่างถูกต้องว่า
ชัยชนะได้สร้างภาพลวงตาที่ยิ่งใหญ่
แต่ความเชื่อที่ว่า
ระบบเศรษฐกิจที่มีเหตุมีผล
จะสามารถป้องกันไม่ให้เกิดสงคราม
เป็นภาพลวงตาที่ยิ่งใหญ่ได้อย่างเท่าเทียมกัน

จนถึงทุกวันนี้
การพึ่งพาซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ
ของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกอยู่ในระดับสูงมาก
จะคงไว้ได้อย่างมีเสถียรภาพ
ถ้าเพียงแต่รัฐบาลทุกประเทศ
ต่างทำหน้าที่ตนเองอย่างสมเหตุสมผล
แต่หลายรัฐบาลกลับทำหน้าที่เหล่านี้
ได้อย่างเปราะบางมากกว่า
ที่พวกเราจะคาดคิดได้เสียอีก


เรียบเรียงจาก
//www.nytimes.com/2008/08/15/opinion/15krugman.html?ref=paulkrugman&moc.semityn.www

August 15, 2008

Op-Ed Columnist

TheGreat Illusion

By PAUL KRUGMAN

So far, the international economic consequences of thewar in the Caucasus have been fairly minor, despite Georgia’s role as a major corridorfor oil shipments. But as I was reading the latest bad news, I found myselfwondering whether this war is an omen — a sign that the second great age ofglobalization may share the fate of the first.

If you’re wondering what I’m talking about, here’swhat you need to know: our grandfathers lived in a world of largelyself-sufficient, inward-looking national economies — but our great-great grandfatherslived, as we do, in a world of large-scale international trade and investment,a world destroyed by nationalism.

Writing in 1919, the great British economist JohnMaynard Keynes described the world economy as it was on the eve of World War I.“The inhabitant of London could order by telephone, sipping his morning tea inbed, the various products of the whole earth ... he could at the same momentand by the same means adventure his wealth in the natural resources and newenterprises of any quarter of the world.”

And Keynes’s Londoner “regarded this state of affairsas normal, certain, and permanent, except in the direction of furtherimprovement ... The projects and politics of militarism and imperialism, ofracial and cultural rivalries, of monopolies, restrictions, and exclusion ...appeared to exercise almost no influence at all on the ordinary course ofsocial and economic life, the internationalization of which was nearly completein practice.”

But then came three decades of war, revolution, politicalinstability, depression and more war. By the end of World War II, the world wasfragmented economically as well as politically. And it took a couple ofgenerations to put it back together.

So, can things fall apart again? Yes, they can.

Consider how things have played out in the currentfood crisis. For years we were told that self-sufficiency was an outmodedconcept, and that it was safe to rely on world markets for food supplies. Butwhen the prices of wheat, rice and corn soared, Keynes’s “projects andpolitics” of “restrictions and exclusion” made a comeback: many governmentsrushed to protect domestic consumers by banning or limiting exports, leavingfood-importing countries in dire straits.

And now comes “militarism and imperialism.” By itself,as I said, the war in Georgiaisn’t that big a deal economically. But it does mark the end of the PaxAmericana — the era in which the United States more or lessmaintained a monopoly on the use of military force. And that raises some realquestions about the future of globalization.

Most obviously, Europe’sdependence on Russian energy, especially natural gas, now looks very dangerous— more dangerous, arguably, than its dependence on Middle Eastern oil. Afterall, Russia has already usedgas as a weapon: in 2006, it cut off supplies to Ukraine amid a dispute over prices.

And if Russiais willing and able to use force to assert control over its self-declaredsphere of influence, won’t others do the same? Just think about the globaleconomic disruption that would follow if China— which is about to surpass the United Statesas the world’s largest manufacturing nation — were to forcibly assert its claimto Taiwan.

Some analysts tell us not to worry: global economicintegration itself protects us against war, they argue, because successfultrading economies won’t risk their prosperity by engaging in militaryadventurism. But this, too, raises unpleasant historical memories.

Shortly before World War I another British author,Norman Angell, published a famous book titled “The Great Illusion,” in which heargued that war had become obsolete, that in the modern industrial era evenmilitary victors lose far more than they gain. He was right — but wars kepthappening anyway.

So are the foundations of the second global economyany more solid than those of the first? In some ways, yes. For example, waramong the nations of Western Europe reallydoes seem inconceivable now, not so much because of economic ties as because ofshared democratic values.

Much of the world, however, including nations thatplay a key role in the global economy, doesn’t share those values. Most of ushave proceeded on the belief that, at least as far as economics goes, thisdoesn’t matter — that we can count on world trade continuing to flow freely simplybecause it’s so profitable. But that’s not a safe assumption.

Angell was right to describe the belief that conquestpays as a great illusion. But the belief that economic rationality alwaysprevents war is an equally great illusion. And today’s high degree of globaleconomic interdependence, which can be sustained only if all major governmentsact sensibly, is more fragile than we imagine.




Create Date : 05 กันยายน 2555
Last Update : 7 กุมภาพันธ์ 2557 16:13:42 น.
Counter : 1773 Pageviews.

11 comments
สุริยุปราคา อเมริกา /นิวยอร์ก อินเดียน่า เทกซัส newyorknurse
(9 เม.ย. 2567 04:13:31 น.)
หนังสือและอุปกรณ์การเรียนสำหรับเด็ก ป.1 ของโรงเรียนประถมที่ญี่ปุ่น SN_monchan
(7 เม.ย. 2567 05:39:08 น.)
อย่ามาบ้ง!นะ peaceplay
(5 เม.ย. 2567 15:53:18 น.)
ถนนสายนี้ ... ... มีตะพาบ หลักกิโลเมตรที่ 348 "ฉุกละหุก" toor36
(24 มี.ค. 2567 10:27:24 น.)
  
ว้าว วันนี้มีบล็อคใหม่มานำเหนออีกแล้ว แต่...อ่านแล้วเพลินดีนะคะ ได้ความรู้ด้วย ขอบคุณค่ะที่เอามาให้อ่านกัน

คืนนี้นอนหลับฝันดีนะคะ

ปล.ไผ่ว่า ถ้าลงอะไรอ่านเพลินๆ ได้สาระความรู้ ไม่ต้องสวยมากก็ได้แหละค่ะ เอาตามสไตล์ตัวเอง ทำแล้ว happy ก็น่าจะโอเคแล้วหล่ะ ยังไงเพื่อนๆ พี่ๆ ในนี้ก็ตามอ่านแหละค่ะ ไม่ต้องแต่งรูปหรือเอาไรลงก็ได้เน๊อะ
โดย: คมไผ่ วันที่: 6 กันยายน 2555 เวลา:0:14:23 น.
  
สวัสดียามเช้าค่ะ
ชอบอ่านค่ะ เรื่องภาพประกอบปลาไม่ค่อยเน้นเท่าไหร่
แค่สาระความรู้ที่นำเอามาฝากกันแต่ละครั้ง ก็ต้องขอบคุณอย่างมากมายแล้วค่ะ
โดย: หนูซายูริ วันที่: 7 กันยายน 2555 เวลา:7:04:26 น.
  
ปลงจนไม่รู้จะปลงอย่างไรแล้วค่ะ
โดย: tuk-tuk@korat วันที่: 9 กันยายน 2555 เวลา:19:45:27 น.
  


สรุปว่าแม้แต่ละประเทศจะพึ่งพาซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจในระดับสูงมาก
และคิดว่าสงครามอาจไม่เกิดขึ้น
แต่ความจริงแล้ว สิ่งที่ไม่คาดคิดก็อาจเกิดได้รึเปล่าคะ





โดย: Sweet_pills วันที่: 10 กันยายน 2555 เวลา:14:23:39 น.
  
เป็นคำนายของ Krugman
อาจจะถูกหรือผิดก็ได้ครับ
โดย: ravio วันที่: 10 กันยายน 2555 เวลา:19:45:31 น.
  
ขอบคุณสำหรับคำตอบค่ะคุณ ravio
และขอบคุณที่แวะชมเมนูบ้านต๋าด้วยนะคะ
สุข สดชื่นตลอดวันนี้ค่ะ

โดย: Sweet_pills วันที่: 11 กันยายน 2555 เวลา:15:08:28 น.
  
วันนี้มีข่างว่าส่งออกจีนลดลงค่ะ
โดย: tuk-tuk@korat วันที่: 12 กันยายน 2555 เวลา:14:15:38 น.
  
ซอบกำเมืองของคุณ ravio เจ้า

แต่ ม่วนซื่น นี๊ น่าจะเป๋นกำอิสานเน่ิอเจ้า
( แต่ม่วนซื่นนี้ น่าจะเป็นคำอิสานนะคะ)

กำเมืองเปิ่นว่า " ม่วน " บ่ดาย แป๋ว่า สุขใจ สนุก
(คำเมืองเขาว่า ม่วน เฉย ๆ แปลว่า สุขใจ สนุก )

เบิ่ง ก่ เป๋น กำอิสานเจ้า กำเมืองเปิ่นอู้ว่า ผ่อ เจ้า
( เบิ่งก็เป็นคำอิสานค่ะ คำเมืองเขาพูดว่า ผ่อ ค่ะ )

อู้กำเมืองกับข้าเจ้ามาเต๊อะ แล้วข้าเจ้าจะแก้หื้อเจ้า
พูดคำเมืองกับเรามาเถอะ แล้วเราจะแก้ให้ ค่ะ)
โดย: tuk-tuk@korat วันที่: 12 กันยายน 2555 เวลา:21:08:28 น.
  
น่าจะติดจากการไปอยู่ค่ายที่บ้านเพ็ดน้อย
อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา
เดือนกว่า ๆ หลายสิบปีก่อน
กับการอ่านหนังสือลาวได้ขนาดเด็กประถม
เลยมั่วพอสมควร แม้ว่าจะมีเพือนสนิทเป็นคนเจียงใหม่
เคยได้ยินได้ฟัง แต่ก็ลืมเลือนไปมากแล้ว
โดย: ravio วันที่: 12 กันยายน 2555 เวลา:23:12:02 น.
  
มาชวนไปชมรูปแสดงอายุค่ะ
โดย: tuk-tuk@korat วันที่: 14 กันยายน 2555 เวลา:13:30:46 น.
  
ภาพถ่ายในอดีต ... การแสดงของช้างหน้าพระที่นั่ง ... เจียงใหม่เจ้า

อยากพาไปชมภาพเหล่านี้ค่ะ

เป็นคนไฮเปอร์ ลงบล็อกเร็วเกินนะคะ

โดย: tuk-tuk@korat วันที่: 15 กันยายน 2555 เวลา:9:55:16 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

Ravio.BlogGang.com

ravio
Location :
สงขลา  Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ผู้ติดตามบล็อก : 32 คน [?]

บทความทั้งหมด