พุทธจริยศาสตร์?


พุทธจริยศาสตร์ (Buddhist Ethics)

Monday,May 2, 2016

4:06 PM


I

ก่อนที่จะได้ศึกษาพุทธจริยศาสตร์ต่อไปเราควรจะมาศึกษาถึงจริยศาสตร์แบบดังเดิม (Western Ethics)เสียทีหนึ่งก่อน


Ethics or moral philosophy is thebranch of philosophy thatinvolves systematizing, defending, and recommending concepts of right andwrong conduct.[1] Theterm ethics derives from the Ancient Greek word ἠθικός ethikos, which is derived from the word ἦθος ethos (habit, "custom'). The branch ofphilosophy axiology comprisesthe sub-branches of ethics and aesthetics, each concerned with values.[2]

As a branch ofphilosophy, ethics investigates the questions "What is the best way forpeople to live?" and "What actions are right or wrong in particular circumstances?" In practice,ethics seeks to resolve questions of human morality, by defining concepts suchas good and evil, right and wrongvirtue and vicejustice and crime. As a field of intellectual enquiry,moral philosophy also is related to the fields ofmoral psychologydescriptive ethics,and value theory.

Three major areas ofstudy within ethics recognised today are:[1]

  1. Meta-ethics, concerning the theoretical meaning and reference of moral propositions, and how their truth values (if any) can be determined
  2. Normative ethics, concerning the practical means of determining a moral course of action
  3. Applied ethics, concerning what a person is obligated (or permitted) to do in a specific situation or a particular domain of action[1]

From <https://en.wikipedia.org/w/index.php?title=Ethics&printable=yes>


ในชั้นต้น "จริยศาสตร์"เกี่ยวข้องกับสุจริตและทุจริต (Concepts of Right andWrong Conducts) ส่วนในทางภาษา ก็มีรากฐานมาจาก"ประเพณี" ก็ดี "ประเวณี" ก็ดี อันรวมลงใน"จร," "พฤติ,""กรรม," และ "มรรคา" ดังในคำกล่าวที่ว่า"กรรมเป็นเครื่องชี้เจตนา"


MORAL PHILOSOPHY.

Part I.Ethics.
CHAPTER I.

OF THE OBJECT-MATTER AND PARTITION OF MORAL PHILOSOPHY.

i. Moral Philosophy is the science of human acts in their bearing onhuman happiness and human duty.

"ศาสตร์แห่งจริยะ"คือ จริยศาสตร์ ที่ส่องถึงการกระทำทั้งหลายของคน มีปรกติแสวงความสุขและหนทางที่นำคนไปสู่ความสุขเช่นนั้น

2. Thoseacts alone are properly called human, which a man is master of to do or not todo. A human ad, then, is an act voluntary and free. A man is what his humanacts make him.

มนุษย์เป็นกรรมโยนี เกิดจากการกระทำของตน

3. Avoluntary act is an act that proceeds from the will with a knowledge of the endto which the act tends.

การทำนี้มีความแจ้งชัดในผลลัพท์หรือ วิบาก ที่ตนรู้หรือปรารถนา เป็นเป้าหมาย

4. A freeact is an act which so proceeds from the will that under the same antecedentconditions it might have not proceeded.

An act maybe more or less voluntary, and more or less free.

โดยมีข้อแม้ว่าเจตนาที่อยู่เบื้องหลังการกระทำนั้น มักจะเกิดโดยเสรีมากหรือน้อยก็ได้

5. MoralPhilosophy is divided into Ethics, Deontology, and Natural Law. Ethics consider

ปรัชญาที่ว่าด้วยจรรยาแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ ว่าด้วยการตัดสินการกระทำนั้น ๆ ว่าถูก/ผิดควร/ไม่ควรทำ ๑ ว่าด้วยการนิยามหรือตีความสิ่งที่เรียกว่า หน้าที่ ๑ และหลักว่าด้วยธรรมชาติแห่งความเป็นเหตุเป็นผลของกรรม

Digitizedby Google

From <https://archive.org/stream/MoralPhilosophyEthicsDeontology/MoralPhilosophyEthicsDeontology_djvu.txt>


MORAL PHILOSOPHY.

human actsin their bearing on human happiness; or, what is the same thing, in theiragreement or disagreement with man's rational nature, and their making for oragainst his last end. Deontology is the study of moral obligation, or thefixing of what
logicians call the comprehension of the idea / ought. Ethics deal with toTrpeirov, ' the becoming ' ; Deontology with to Siov, 'the obligatory*.Deontology is the science of Duty, as such. Natural Law (antecedent to PositiveLaw, whether divine
or human, civil or ecclesiastical, national or international) determines dutiesin detail, — the extension of the idea / ought, — and thus is the foundation ofCasuistry.

6. In theorder of sciences, Ethics are antecedent to Natural Theology ; Deontology,consequent upon it.

From <https://archive.org/stream/MoralPhilosophyEthicsDeontology/MoralPhilosophyEthicsDeontology_djvu.txt>



II

  1. "สุญญัตถะ ปฏิสํยุตตา" -- คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ที่เรียกว่า "พระธรรมวินัย" หรือ "นวังคสัตถุศาสตร์" รวมลงใน "สิ่งทั้งปวงว่างจากกิเลส ๓ กอง ก็ดี ว่างจากกองสังขาร เช่น ขันธ์ ๕ อายตนะ ๖ นามรูป ฯลฯ ก็ดี" หรือสรุปลงใน "สิ่งทั้งปวง [ทั้งที่เป็นสังขตะ แลมิใช่สังขตะ] ไม่ควรเข้าไปยึดมั่นถือมั่น," คือ เป็นวิราโค นิโรโธ นิพพานัง
  2. เบญจศีล - เบญจธรรม, ข้อที่ทรงห้าม ๕ ประการ ข้อที่ทรงอนุญาต ๕ ประการ; อธิศีลสิกขาเป็นรากฐานของอธิจิตตสิกขาและอธิปัญญาสิกขา; ธรรมขันธ์ ๕: ศีลขันธ์ ๑ สมาธิขันธ์ ๑ ปัญญาขันธ์ ๑ วิมุตติขันธ์ ๑ วิมุตติญาณทัสสนะขันธ์ ๑ (ข้อสังเกตุ: ชื่อเรียก/การบัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษรในพระคัมภีร์ว่า ด้วยเรื่องนี้ เป็นปริยัติสัทธรรม ธรรมขันธ์ ๓ ประการต้นเป็น

ปฏิบัติสัทธรรม และธรรมขันธ์ ๒ประการท้ายเป็นปฏิเวธสัทธรรม);ศีลยังเป็นองค์แห่งมรรค ๘/ทางสายกลาง

  1. ศีลกับสุขนิยม/ทุนิยม (Sila and Hedonism/Pessimism): คำว่า "สุ-" หรือ "ทุ-" ในภาษาบาลี มีความหมายพิเศษเมื่อนำมาประกอบศัพท์ว่า "สุข" หรือ "ทุกข์" ซึ่งเป็นประเด็นอื่นจากเพียงการคิดบวก หรือ การคิดลบ (Positive/Negative Thinking)
  2. Sila and Moral Philosophy; the Final Aim of both Concepts
  3. หลักสำหรับบ่งชี้ว่า เป็นธรรมวินัยหรือไม่
    1. มหาปเทส ๔ ฝ่ายพระวินัย/มหาปเทส ๔ ฝ่ายพระสุตร
    2. มหาปุริสวิตก ๘
    3. หลักตัดสินพระธรรมวินัย ๘ ที่ทรงแสดงกับมหาปชาบดีเถรี ภิกษุณี
  4. "ศีล" "สิกขาบท" "วินัย" และ "อาบัติ"



สรุป

  1. ในระบบคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีสิ่งที่เรียกว่า "Buddhist Ethics/Moral Philosophy" และ ถ้ามี เป้าหมายของพุทธจริยศาสตร์ตามอย่างปรัญชาตะวันตกคืออะไร?
  2. เป็นที่รู้กันดีว่า ทางปรัชญาเป็นการเก็ง (Speculation) และ การอนุมาน (Inferance) ในความจริง ซึ่งถกเถียงกันไม่ยุติ ส่วนพระ "พุทธ" ศาสนา เป็น "โพธิ/ปัญญา/ญาณ" (Wisdom) "ตรัสรู้" (Enlightenment) และ "สัจฉิกิริยา" (แทงตลอด; Penetration of Truth) ซึ่งเป็นคนละอันกับปัญญา/ปรัชญาใน "-sophy"



Create Date : 03 พฤษภาคม 2559
Last Update : 3 พฤษภาคม 2559 18:37:55 น.
Counter : 1441 Pageviews.

0 comments
ใจเป็นตัววัดผล **mp5**
(17 มี.ค. 2567 07:42:40 น.)
: หยดน้ำในมหาสมุทร 6 : กะว่าก๋า
(17 มี.ค. 2567 04:29:24 น.)
17 มีค 67 คอร์สปฏิบัติธรรมอินเดีย 27 มค - 3 กพ 67 Ep 5 mcayenne94
(17 มี.ค. 2567 22:30:55 น.)
ศีล 5 สมาชิกหมายเลข 7962100
(13 มี.ค. 2567 05:31:37 น.)
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

Iamtheway.BlogGang.com

ฆราวาสมุนี
Location :
นครปฐม  Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]

บทความทั้งหมด