บริหาร การจัดการ การตลาด พัฒนาตนเอง พัฒนาความคิด กลยุทธ์ ธรรมะ จักรราศี ฯลฯ
จัดตั้งธุรกิจ ปรับปรุงกิจการ | ไขความลับสมองเงินล้าน | การเขียนแผนธุรกิจ | บริหารคน บริหารงาน | พัฒนาความคิด
พระไตรปิฎกฉบับหลวง | แด่องค์กรที่แสนรัก | สุขใจกับเด็กสมาธิสั้น
Group Blog
 
 
มิถุนายน 2564
 12345
6789101112
13141516171819
20212223242526
27282930 
 
13 มิถุนายน 2564
 
All Blogs
 
การประเมินผลงานและการปรับเงินเดือน

การประเมินผลงานและการปรับเงินเดือน
Wiboon Joong (wbj)


การประเมินพนักงานมีหลายรูปแบบ แต่ส่วนใหญ่ประเมินพฤติกรรมและผลงานตามความรู้สึก ในส่วนของ Performance Base การใช้ KPI เพื่อเป็นหลักฐาน ว่าสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพแค่ไหน
​​​​​​​
การประเมินพนักงานเพื่อขึ้นเงินเดือน ต้องเข้าใจก่อนว่า การขึนเงินเดือน คือการให้ผลตอบแทนของการทำงาน ดังนั้น การใช้ Performance Base จึงชัดเจนที่สุด เพราะตอบโจทย์ว่าพนักงานมีผลงาน ถึงได้ขึ้นตามอัตรานั้นๆ
​​​​​​​
แนวทางการปรับเงินเดือน มีหลายระบบ เช่น

การขึ้นเงินเดือน ด้วยความเส่นหา ตามความพอใจของหัวหน้างาน มีให้เห็นเป็นเรื่องปกติ
​​​​​​​
การขึ้นเงินเดือน โดยปรับเท่ากัน เพื่อลดความยุ่งยากของการทำงาน เช่น ทุกคนขึ้น 5% เป็นต้น คนทำงานดี ขยัน และ คนทำงานไม่ดี อู้งาน ก็ได้ปรับเงินเดือนเท่ากัน คนทำงานดีก็จะ เริ่มไม่ทำงาน ผบเสียเกิดกัยองค์กรจากความมักง่าย
​​​​​​​
การขึ้นเงินเดือน โดยวัดผลจากการประเมินของหัวหน้างาน ส่วนใหญ่มีใบให้หัวหน้างานประเมิน เป็น 5 Scale คะแนนออกมาก็ปรับตามคะแนนที่ได้ ซึ่งดูเหมือนดี แต่พบว่า หัวหน้างานแต่ละคน มีความยุติธรรม และ มาตรฐานแตกต่างกัน บางคนโหดกดคะแนนต่ำมากๆ บางคนประเมินแบบปล่อยเกรด ผลปรากฎว่า ทีมงานปล่อยคะแนนมากๆ ได้ปรับเงินดี คนโดนกดปรับเงินไม่ดี เกิดความขัดแย้งว่า หัวหน้างานโหดส่วนใหญ่พนักงานได้ผลงานดี แต่ปรับเงินน้อย ก็ยิ่งทำให้รวน หัวหน้างานโดนลูกน้องด่า ลดความน่าเชื่อถือไป สรุป หัวหน้างานแต่ละคนเลย ปล่อยคะแนน ประเมินไปก็ไม่มีผลอะไรมากนัก คนที่หัวหน้าไม่ชอบขี้หน้า หรือ ทำงานแย่จริงๆ ก็จะถูกประเมินต่ำมากๆ

 

การประเมินพนักงาน เพื่อ ปรับเงินเดือน ผมเสนอให้ทุกที่ ให้มอง องค์ประกอบของคน และ ผลงาน เพื่อเอามาผสมให้เป็นคะแนนที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงที่สุด

1. พฤติกรรมของพนักงานโดยรวม ส่วนใหญ่ใช้ ขาด ลา มาสาย เป็นตำกำหนด ปกติ ผมจะให้น้ำหนัก 10%

2. พฤติกรรมที่พึงประสงค์ คือ พฤติกรรมที่ต้องการให้พนักงานมี หรือ ตรงตาม Core Value ขององค์กร ผมจะให้น้ำหนัก 20-30% โดยกำหนดให้พัฒนาแค่ 2-3 ข้อ ข้อละ 10%

3. แบบประเมินพนักงาน ผมให้น้ำหนัก 20%

4. ความสามารถในการทำงาน แบบทดสอบความรู้ ปริมาณงานเฉลี่ยที่ได้ ปริมาณความผิดผลาด ผมให้น้ำหนัก 30-50% ถ้ามีการตรวจวัดที่ชัดเจนก็จะยิ่งมาก

5. ความสามารถในการถ่ายทอดองค์ความรู้ การสอนงาน การเป็นพี่เลี้ยง ผมให้น้ำหนัก 10%-30% ปีไหนมีการเขียนเป็น Procedure ขั้นตอนออกมาได้ชัดเจนออกมาได้ น้ำหนักก็จะเพิ่มมากขึ้น

6. ความสามารถในการบริหารจัดการ สำหรับหัวหน้างาน ซึ่งมีแบบทดสอบตรวจวัดจากผลการบริหารจัดการจากพนักงาน ประเมินหัวหน้างาน ผมให้น่่ำหนัก 20-30% (เฉพาะหัวหน้างาน)

สัดส่วน รายการ แต่ละแห่ง ก็แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับ ลักษณะการดำเนินงานของแต่ละองค์กร...

 
วิบูลย์ จุง // Wiboon Joong (wbj)



Create Date : 13 มิถุนายน 2564
Last Update : 13 มิถุนายน 2564 13:20:39 น. 0 comments
Counter : 3758 Pageviews.

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

wbj
Location :
กรุงเทพ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 210 คน [?]




ต้องการสอบถาม กรุณาติดต่อทางเมล์ที่ wbjoong@gmail.com หรือ 062 641 5992, 062 826 1544

วิทยากรเชิงกิจกรรม

วิทยากรกระบวนการ

ที่ปรึกษาธุรกิจ

ด้านการบริหารจัดการ

การตลาดและการประชาสัมพันธ์

การบริหารทรัพยากรมนุษย์

การวางแผนกลยุทธ์

วิจัยธุรกิจ

IT Dashboard



ไม่ได้ ไม่มี ไม่ดี ไม่ได้...
ต้องได้ ต้องดี ต้องมี ต้องง่าย
และ ทำให้ดีกว่าดีที่สุด



<< Main Menu >>



ดวงถาวร


ดวงตามวันเกิด



ดวงตามปีเกิด






;b[^]pN 06' ไรินนื ่นนืเ "รินนื ๋นนืเ c:j06'

ต้องการสอบถาม โทร 062-641-5992, 062-826-1544
ติดต่อทางเมล์ที่ wbjoong@gmail.com
Line ID : wbjoong

ที่ปรึกษาธุรกิจ ด้านการบริหารจัดการ การตลาดและการประชาสัมพันธ์ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ และ การวางแผนกลยุทธ์ วิทยากรเชิงกิจกรรม, วิทยากรกระบวนการ นักวิจัยการดำเนินงานธุรกิจ Executive & Management Coach

ไม่ได้ ไม่มี ไม่ดี ไม่ได้... ต้องได้ ต้องดี ต้องมี ต้องง่าย และ ทำให้ดีกว่าดีที่สุด
<< Main Menu >>
Friends' blogs
[Add wbj's blog to your web]
Links
 
MY VIP Friends


 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.