พุทธสถาปัตยกรรม การบำเพ็ญบารมี10 ณ.มหาวิหาร Borobudur java
ชื่อเดิมของมหาวิหารแห่งนี้เรียกว่า “ภูมิสัมภารพุทธร” ซึ่งแปลว่า ภูเขาพุทธจักรวรรดิที่สั่งสมบารมีธรรม10 ของพระโพธิสัตว์ ด้วยความเสียสละความปรารถนาอันแรงกล้า บรมพุทโธน่าจะเริ่มสร้างปี พ.ศ 1350ในยุครุ่งเรืองของอาณาจักรศรีวิชัยทีมั่งคั่งจากการค้าทางทะเลระหว่างจีน-อินเดีย มีพุทธสถาน บุโรพุทโธ และ เทวสถาน ฮินดู ปราบานัน หรือ พราหมณ์บานันตั้งอยู่เคียงคู่กัน อันแสดงถึงเสรี ภาพในการนับถือศาสนาของพลเมืองในยุคนั้น...บรมพุทโธมีรูปทรงคล้ายปิรามิด โดยมีฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสกว้างด้านละ 121 เมตรสูง 50 เมตร


ทศภูมิหรือภูมิ 10 ข้อของพระโพธิสัตว์ได้แก่ 
ภูมิที 1. มุทิตาภูมิ พระโพธิสัตว์ยินดีในความไร้ทุกข์ของสัตว์(ทานบารมี)
ภูมิที2. วิมลาภูมิ พระโพธิสัตว์ละมิจฉาจริยาได้เด็ดขาด ปฏิบัติแต วิมลาภูมิ พระโพธิสัตว์ละมิจฉาจริยาได้เด็ดขาด ปฏิบัติแต่ในสัมมาจริยาในสัมมาจริยา (ศีลบารมี ศีลบารมี)
ภูมิที 3. ประภาการีภูมิ พระโพธิสัตว์ทําลายอวิชชาได้เด็ดขาด มีความอดทนทุกประการ (ขันติบารมี)
ภูมิที 4. อรรถจีสมดีภูมิ พระโพธิสัตว์มีความเพียรในการบําเพ็ญธรรม (วิริยะบารมี)
ภูมิที 5. ทุรชยาภูมิ พระโพธิสัตว์ละสภาวะสาวกญาณกับปัจเจกโพธิญาณ ซึงเป็นธรรมเครืองกั้นพุทธภูมิ (ญาณบารมี)
ภูมิที 6. อภิมุขีภูมิ พระโพธิสัตว์บําเพ็ญยิงในปัญญาบารมี เพือรู้แจ้งเห็นชัดในปฏิจจสมุปบาท (ปัญญาบารมี)
ภูมิที 7. ทูรังคมาภูมิ พระโพธิสัตว์มีอุบายอันฉลาดแม้บําเพ็ญกุศลน้อย แต่ได้ผลแก่สรรพสัตว์มาก (อุบายบารมี)
ภูมิที 8. อจลาภูมิ พระโพธิสัตว์บําเพ็ญหนักในปณิธานบารมี
ภูมิที 9. สาธุบดีภูมิ พระโพธิสัตว์แตกฉานในอภิญญาและปฏิสัมภิทาญาณ (พลบารมี)
ภูมิที 10. ธรรมเมฆภูมิ พระโพธิสัตว์ไม่ติดในรูปธรรม นามธรรม (ญาณบารมี)

The ten stage to Becoming a Buddha.As a reflection of Buddha Mahayana, Borobudur symbolizes the ten steps or Dacabhumi that pass to reach Buddhahood. The ten steps are: (1) Pramudita (2) Vimala (3) Prabhakari (4) Arcismati (5) Sundurjaya (6) Abhimuki(7) Durangama (8 ) Acala (9) Sadhumati (10) Dharmamegha


ภพ-ภูมิ ในพุทธศาสนา หมายถึง ความมี ความเป็ น และความเกิด ซึงเป็ นภาวะทางจิต เป็ นภพทางจิต หรือ ภูมิทางจิต ความเกิดทางจิตของแต่ละคนมีการเคลือนไหวเปลียนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยนัยนี ,จึงถือว่ามีภพ และชาติของแต่ละคนเกิดขึ้นมหาศาล เพราะทุกๆเสี ,ยววินาที ความรู้สึกนึกคิดของคนย่อมมีการเคลื!อนไหวตลอดด้วยเหตุนี้จิตของแต่ละคนจึงมีอเนกชาติและอเนกภพ บางครั้ง ภูมิ อาจหมายถึง แผ่นดิน ... คัมภีร์พระพุทธศาสนามหายานกล่าวไว้วา มีภูมิของการเป็ นพระโพธิสัตว์อยู่สิบภูมิ สรุปคร่าวๆกคือว่า พระโพธิสัตว์ทีบรรลุถึงภูมิทีหนึงนั้น ซึงเรียกวา “ประมุทิตาภูมิ” จะเป็ นผู้ทีจะไม่มีวันไปเกิดในอบายภูมิอีก และเป็นผู้ทีละสังโยชน์สามประการได้หมดสิ้น ได้แก่สักกายทิฏฐิ (การเห็นวาร่างกายเป็ นตัวตน) สีลัพพตปรามาส (การเห็นวาการปฏิบัติให้เคร่งไว้เท่านั้นเป็ นทางหลุดพ้น)และ วิจิกิจฉา (ความลังเลสงสัย) ...พระโพธิสัตว์ในภูมิทีแปด (เรียกว่า “อจละ” หรือ “ไม่เคลือนไหว”) เป็ นผู้ทีหลุดพ้นจากกิเลสต่างๆโดยสิ้นเชิง ซึงก็เทียบได้กับพระอรหันต์นั่นเอง แต่จุดที่แตกต่างกันอย่ างสําคัญก็คือว่า พระโพธิสัตว์นั้นได้ตั้งปณิธานคือโพธิจิตเอาไว้ วาจะไม่บรรลุพระนิพพานจนกว่าจะได้ช่วยเหลือสัตว์โลกต่างๆให้ได้หมดสิ้น... ภูมิที่เหลืออีกสองภูมิก็เป็ นเรืองของความสามารถของพระโพธิสัตว์ที่จะช่วยเหลือสรรพสัตว์ และแบ่งภาคตนเองออกได้เป็ นจํานวนมากมายมหาศาล เพื่อช่วยสัตว์โลกในรูปแบบต่างๆ พระโพธิสัตว์องค์สําคัญๆ เช่น พระอวโลกิเตศวร พระมัญชุศรี พระแม่ตารา ต่างก็เป็ นพระโพธิสัตว์ในภูมิที่สิบทั้งสิ้น


อานนท์ การบูชากถาคตเจ้าด้วยอามิสบูชาแม้มากเห็นปานนี , ก็ไม่ชือว่าบูชากถาคตอย่างแท้จริง อานนท์ผู้ใดแลมาปฏิบัตธรรมสมควรแก่ธรรม ผู้นั้นชื่อว่าบูชาพระกถาคตด้วยการบูชาอย่างยิ่ง

เมื่อสรรพิ่งรวมเป็นหนึ่งก็คือวิหารองค์ใหญ่ส่วนยอดคือจิตพระอรหันต์ คือผู้สำเร็จธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนา พระอริยบุคคลชั้นสูงสุดสามารถละสังโยชน์ได้ครบ 10 ประการหรือผู้ที่พ้นจากสามโลกหรือไตรภูมิ น่าจะคือส่วนยอดสุดเป็นมหาสถูปใหญ่เปรียบเสมือนจิตเดียวทีหลุดพ้นจากสามโลกแล้วเปล่งประกายแสงสว่างแห่งปัญญาดุจดังพระอาทิตย์ผู้ให้แสงสว่างแก่โลกและไล่ความมืดออกไปจากจิตใจของมวลมนุษย์







Create Date : 30 กันยายน 2558
Last Update : 30 กันยายน 2558 19:36:03 น.
Counter : 1747 Pageviews.

1 comments
  
สาธุ ๆ ๆ
โดย: หนานเตอะ IP: 124.121.35.169 วันที่: 3 พฤศจิกายน 2558 เวลา:19:22:48 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

surya21
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 50 คน [?]



New Comments
กันยายน 2558

 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
19
20
21
22
23
24
26
27
28
29
 
 
All Blog