ปริศนาธรรมBOROBUDUR 2
วิปัสสนากัมมัฏฐาน
เป็นการนำจิตที่สงบจากขั้นสมถะ มาศึกษาพิจารณาสิ่งต่างๆ ที่ทำให้เกิดทุกข์ เพื่อให้จิตได้รู้จักและสามารถแยกแยะสิ่งที่เป็นทุกข์ได้อย่างชัดเจน สภาพทุกข์ประกอบด้วย รูป เวทนา สังขาร วิญญาณ กล่าวอย่างย่อก็คือรูป กับนาม หรือสสารกับ พลังงาน ศึกษากลไกของความทุกข์ว่าทุกข์เกิดขึ้นและดำรงอยู่อย่างไร สิ่งใดคือผู้รู้ สิ่งใดคือสิ่งถูกรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นที่ผู้รู้ หรือเกิดขึ้นที่สิ่งถูกรู้ ...
ในตติยฌาน เมื่อภาพนิมิตเกิดขึ้นโดยเฉพาะภาพที่เราเข้าใจมาก่อนว่าเป็นภาพที่ดี เช่นภาพพระพุทธรูป พระพุทธองค์ ภาพพระที่เราคิดว่าเป็นพระอรหันต์ ปรากฏขึ้นมาเราก็เข้าใจว่า การเห็นเช่นนี้คือ การเห็นธรรม เห็นนิพพาน ความเข้าใจเช่นนี้ยังห่างจากความจริงมากนักเพราะจิตที่เข้าถึงสภาวธรรมนั้นเป็นจิตที่ไม่ยึดเกาะปรุงแต่งพลังงานใดๆทั้งเป็นอิสระจากขันธ์5 ภาพนิมิตเหล่านี้แท้จริงก็คือ พลังงานแสง พลังงานแสงก็คือ อนุภาคโฟตอน (Photon) ที่อยู่ในวงโคจรในอะตอม การที่จิตยังยึดเกาะอนุภาคโฟตอนอยู่ แล้วจิตจะหลุดพ้นได้อย่างไร
 ที่มา : วิปัสสนากัมมัฏฐาน โดย .รัตน์ รตนญาโณ
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม WWW.BODDO-BOROBURDO2012
 
The cycle of life (Borobudur Buddhist temple 732 AD)
To free oneself from the cycle of life and dead one must realize the Four pillars of Truth
(Catur Aryasatyani)
1.Life is misery.
2.The root of misery is lust and desire.
3.
4.
                    ในตำนานพุทธสาวก ภาค6 ของพระธรรมโกศาจารย์ ( ชอบ อนุจารีเถร) มีพุทธโอวาทสั่งสอนไว้ดังนี้ นาลกะ , พึงเป็นผู้มีท้องพร่อง คือ ไม่เห็นแก่ท้อง ไม่เห็นแก่กิน มีอาหารพอประมาณ มีความปรารถนาน้อย ไม่มีความโลภเป็นผู้กระหายหิว ไม่มีความปรารถนาด้วยความปรารถนา ดับความเร่าร้อนได้แล้วทุกเมื่อ  มุนีนั้นเที่ยวไป รับบิณฑบาทได้แล้ว พึงไปยังชายป่า เข้าไปนั่งที่โคนไม้ พึงเป็นผู้ขวานขวยในญาน มีปัญญายินดีแล้วในป่านั้น เพ่งฌานอยู่ที่โคนไม้ตลอดเวลา...พึงเป็นผู้มีพรหมจรรย์เป็นที่ไปในเบื้องหน้า คือมุ่งหน้าประพฤติพรหมจรรย์อย่างเดียว พึงสำเหนียกใส่ใจในการนั่งผู้เดียว ยืนผู้เดียว เดินผู้เดียว นอนผู้เดียว ในการประกอบการภาวนาที่สมณะพึงอบรม นาลกะ เธอผู้เดียวนี้แล จักอภิรมณ์ชมชื่นในความเป็นมุนีที่กถาคตบอกแล้วโดยเฉพาะ กิตติศัพย์ในการปฎิบัติของเธอ จักขจรไปตลอดทิศทั้งสิ้น  ผู้รู้ทั้งหลายตลอดจนสมณพราหมณ์ เทวดา อินทร์ พรหม จักยินดีทำอัญชลีแก่การปฎิบัติของเธอ
The elimination of misery is possible.  To avoid misery, one should observe the Eight Main Paths (Hasta Arya Marga)



Create Date : 17 กรกฎาคม 2555
Last Update : 27 สิงหาคม 2555 11:03:56 น.
Counter : 1484 Pageviews.

0 comments
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

surya21
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 50 คน [?]



New Comments
กรกฏาคม 2555

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
16
29
 
 
All Blog