Group Blog
 
 
มีนาคม 2553
 
 123456
78910111213
14151617181920
21222324252627
28293031 
 
20 มีนาคม 2553
 
All Blogs
 
นักศึกษามะกันวิจัยสเต็มเซลล์ ทำไหมเย็บแผลผ่าตัด

Sewing PatternsEmbroiderySewing A HemQuiltingFree Sewing PatternsFree Embroidery DesignsSewingEmbroidery DesignsSewing MachinesSinger Sewing MachinesEmbroidery LibraryHow To Sew A HemMachine Embroidery DesignsQuilting Fat QuartersQuilting FabricBrother Sewing MachinesSewing MachineFree Printable Sewing PatternsSimplicity Sewing PatternsHow To SewSewing HemsKeepsake QuiltingFree Sewing Craft PatternsFree Machine Embroidery DesignsEmbroidery PatternsSinger Sewing MachineFree Sewing ProjectsEmbroidery MachineSewing TipsQuilt FabricCostume Sewing PatternsBernina Sewing MachinesCustom EmbroiderySewing ProjectsQuilting StencilsSewing With NancyViking Sewing MachinesSinger Sewing Machine PartsQuilting PatternsSewing ButtonsPfaff Sewing MachinesBrother Sewing MachineFree Embroidery PatternsPfaffQuilting SuppliesSewing SuppliesHow To QuiltJanome Sewing MachinesMachine EmbroideryEmbroidery ThreadBlogBlogBlogBlogBlogBlogBlogBlogBlogBlog

นักศึกษามะกันรวม ทีม คิดค้นเทคนิคการทำไหมเย็บแผลผสมสเต็มเซลล์ หวังใช้ปิดแผลในผู้ป่วยผ่าตัดรักษาโรคเส้นเอ็นอักเสบหรือฉีกขาด ช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น

เฮลธ์เดย์นิวส์รายงานว่าทีมนักศึกษาปริญญาตรีจำนวน 10 คน จากสาขาวิศวกรรมชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยจอห์นส ฮอพกินส์ (Johns Hopkins University) สหรัฐอเมริกา พัฒนาวิธีฝังสเต็มเซลล์เข้าไปในเส้นไหมเย็บแผลผ่าตัดได้อย่างง่ายดายและรวด เร็ว ซึ่งวิธีนี้อาจช่วยให้การรักษาแผลผ่าตัดมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นและป้องกัน การเกิดแผลซ้ำที่บริเวณดังกล่าวได้

ผลงานวิจัยนี้เป็น ส่วนหนึ่งในประกวดผลงานวิจัยของนักศึกษาในงาน ดีไซน์ เดย์ 2009 (Design Day 2009) ที่จัดขึ้นโดยภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยจอห์น ฮอพกินส์ โดยได้รับการสนับสนุนการจัดประกวดโดยบริษัทเอกชนด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์

แมตต์ รูบาชกิน (Matt Rubashkin) นักศึกษาปี 3 ผู้เป็นหัวหน้าทีมวิจัย ระบุในข่าวประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยว่า อาศัย การเย็บแผลเป็นช่องทางนำสเต็มเซลล์เข้าสู่บริเวณที่บาดเจ็บ โดยที่ไม่ต้องไปเปลี่ยนแปลงวิธีการรักษาบาดแผลของศัลยแพทย์ แต่ก็เชื่อว่าสเต็มเซลล์จะช่วยให้การรักษาเห็นผลเร็วขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ เพราะใช้สเต็มเซลล์ที่มาจากตัวผู้ป่วยเอง จึงไม่น่าจะมีปัญหาในเรื่องการถูกปฏิเสธจากร่างกายผู้ป่วย

ตามแนวคิดของทีมวิจัย สามารถทำได้โดยการนำ สเต็มเซลล์ไขกระดูกของผู้ป่วยมาถักทอใส่เข้าไปในไหมเย็บแผลโดยใช้เทคนิคที่ พวกเขาพัฒนาขึ้น จะได้เป็นเส้นไหมสเต็มเซลล์ที่นำไปใช้สำหรับเย็บแผลได้เหมือนเส้นไหมเย็บแผล ทั่วไปในการรักษาการฉีกขาดของเส้นเอ็นหรือแผลจากการบาดเจ็บอื่นๆ

ท้าย ที่ที่สุดแล้วสเต็มเซลล์จะพัฒนาตัวเองไปเป็นเอ็น กระดูกอ่อน หรือกล้ามเนื้อที่เชื่อมกับของเดิมที่มีอยู่ได้เป็นอย่างดี ขณะที่การหลั่งโปรตีนเร่งการเจริญเติบโต (growth factor protein) จะช่วยให้การรักษาได้ผลเร็วขึ้นและช่วยลดการอักเสบของแผลได้

อย่าง ไรก็ดี ทีมวิจัยได้รับความช่วยเหลือและการสนับสนุนจากแพทย์ออร์โธพีดิกส์และบริษัท ไบโอแอคทีฟ เซอร์จิคัล (Bioactive Surgical Inc.) ในมลรัฐแมรีแลนด์ เพื่อการทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องมือ และการรักษาด้วยไหมเย็บแผลสเต็มเซลล์ในสัตว์ทดลอง

ผลจากการทดสอบเบื้องต้นพบว่าสเต็มเซลล์ยังคงมีสภาพสมบูรณ์ดีอยู่และยึดติดกับรอยเย็บแผล และพวกเขาหวังว่าภายใน 5 ปีนี้จะสามารถไปสู่การทดลองระดับคลินิกในคนได้ตามที่ระบุไว้ในนิวส์ไกด์

ทั้ง นี้ จากข้อมูลที่ทีมวิจัยสืบค้นพบว่าในแต่ละปีมีชาวสหรัฐฯ กว่า 46,000 คน ต้องเข้ารับการผ่าตัดรักษาอาการบาดเจ็บที่เอ็นร้อยหวาย ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการเข้ารับการผ่าตัดและการรักษาภายหลังการผ่าตัดรวมแล้ว ประมาณ 40,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 1,370,000 บาท) และยังต้องเข้ารับการฟื้นฟูอีกเป็นเวลานานถึง 1 ปี



Create Date : 20 มีนาคม 2553
Last Update : 20 มีนาคม 2553 10:27:29 น. 1 comments
Counter : 313 Pageviews.

 


โดย: หาแฟนตัวเป็นเกลียว วันที่: 20 มีนาคม 2553 เวลา:10:31:40 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

somkitjar
Location :


[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed

ผู้ติดตามบล็อก : 3 คน [?]




Friends' blogs
[Add somkitjar's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.