space
space
space
<<
มกราคม 2563
 1234
567891011
12131415161718
19202122232425
262728293031 
space
space
12 มกราคม 2563
space
space
space

เปิดประวัติ แอลัน ทัวริง ชายผู้ถอดรหัส อีนิกม่า กว่า159ล้านล้านรูปแบบได้สำเร็จ

เปิดประวัติ แอลัน ทัวริ่ง(Alan Mathison Turing) ชายผู้ถอดรหัส อีนิกม่า ในสงครามโลกครั้งที่2 

สงครามโลกครั้งที่สองหลายคนคงคิดถึงแต่ ระเบิดนิวเครียร์ อดอฟ ฮิตเลอร์ การสู้รบในแต่ละที่ทั้งการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์การยกพลขึ้นบกที่นอมังดี  แล้วอีนิม่าคืออะไร? แอลัน ทัวริ่ง คือใคร?    

The mountain2 จะพาคุณย้อนรอยสงครามกลับสู่ปี1939  (ฝากติดตามเพจและwebsiteด้วยนะครับอยู่ด้านล่างบทความ)


3ในช่วงสงครามโลกครั้งที่2 การโจมตีแต่ละครั้งจำเป็นต้องใช้การสื่อสาร ไม่เหมือนทุกวันนี้ที่การสื่อสารดะดวกสบาย แต่การสื่อสารในช่วงสงครามโลกนั้น สิ่งสำคัญฝ่ายเยอรมันต้องการสื่อสารกับกำลังทหารในการสั่งเข้าโจมตีในแต่ละครั้ง ฉะนั้นการสื่อสารทุกครั้งต้องมีคามปลอดภัย แล้วจะทำยังไง? ทางการเยอรมันเลยสั่งให้ นักเข้ารหัสและถอดรหัสสารลับ วิศวกรชาวเยอรมัน อาร์ทูร์ แชร์บีอุส ประดิษฐ์อีนิกออกมา เมื่อสิ้นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เครื่องอินิกม่าแบบแรก ๆ ใช้ในเชิงพาณิชย์ตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1920 ต่อมาในสงครามโลกครั้งที่2มันถูกนำมาเข้ารหัสให้ซับซ้อนกว่าเดิม เพื่อใช้ในการสื่อสารทางการทหาร   เรื่องราวของแอลัน ทัวริง จึงเกิดขึ้นต่อจากนี้  ประวัติ แอลัน ทัวริ่ง เกิด 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)  เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยาและวีรบุรุษสงครามชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์  เมื่อปี พ.ศ. 2474 เขาเข้าเรียนคณิตศาสตร์ที่คิงส์คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2477 ทัวริงก็จบจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ด้วยเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ทางมหาวิทยาลัยก็เลยเชิญเขาอยู่เป็น Fellow ด้านคณิตศาสตร์ต่อ (ส่วนใหญ่ Fellow ของเคมบริดจ์จะเป็นพวกที่จบปริญญาเอก แต่ทัวริงจบเพียงปริญญาตรี) 
ในระหว่างเรียน เขาได้คิดค้นเครื่องจักรชื่อ ทัวริ่งแมชชีนขึ้นมา ซึ่งถือว่าเป็นต้นแบบของคอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยูในทุกวันนี้ โดยทัวริ่งแมชชีน สามารถ “เข้าใจ” ค่าคำสั่งที่มนุษย์สั่งการได้ ในฐานตัวเลขไบนารี่ ซึ่งในยุค 40 ถือว่าเป็นนวัตกรรมใหม่   ต่อมาในระหว่างสงครามโลกครั้งที่2 ทางรัฐบาลอังกฤษระดมพลหัวกะทิ ทั้งนักคณิตศาสตร์ นักหมากรุก และนักอักษรศาสตร์ เพื่อหาทางรับรู้ให้ได้ว่าฝ่ายอักษะหรือเยอรมัน สื่อสารอะไรกัน พูดง่ายๆคือการดักฟังแต่ประเด็นคือ ทางเยอรมันสื่อสารโดยเครื่องอินิกม่า ที่มีการเข้ารหัสไว้มากกว่า159ล้านล้านรูปแบบ ต่อให้เอาคนทั้งโลกมานั่งช่วยกันถอดรหัสก็ยังใช้เวลามากถึง4ปีกว่าจะถอดได้ (ไอเดียของแมคชีน ทัวริ่ง จึงเกิดขึ้นเมื่อ แอลัน ทัวริ่ง บอกว่า ”ถ้าคนไม่สามารถสู้กับเครื่องจักรได้แล้วมีแต่เครื่องจักรที่สู้กับเครื่องจักรได้ละ”)
อลัน ทัวริ่ง จึงขออาสาเข้ามาถอดรหัสนี้ แน่นอนว่าเขาชอบเล่นเกมปริศนาอักษรไขว้ เขาจึงบอกว่ามันก็เหมือนการแก้ปริศนา แต่แค่ว่าเราต้องใช้เครื่องจักรเข้ามาช่วย แอลัน ทัวริ่ง และทีมของเขาใช้เวลาอยู่หลายเดือนก็แล้วยังไม่สามารถถอดรหัสอินิกม่าได้ แม้เครื่องจักรของเขาที่สร้างก็กำลังทำงานทั้งวันทั้งคืนแต่มันยังคงค้นหาคำหรือรหัสนั้นต่อไปเรื่อยๆ เมื่อฝ่ายรัฐบาลอังกฤษเริ่มไม่พอใจที่แอลัน ใช้เวลาและเงินจำนวนมากในการสร้างเครื่องจักรของเขาแต่มันยังไม่สามารถ ถอดรหัสได้ เจ้าหน้าที่ระดับสูงขีดเส้นตาย1เดือน ภายใน1เดือนเขาต้องทำให้ได้ไ่ม่งั้นแอลัน และทีมของเขา จะถูกไล่ออกแล้วรัฐบาลจะกลับไปใช้การถอดรหัสแบบเดิม  และในท้ายที่สุดเขาก็เห็นจุดอ่อน แอลัน ทัวริ่ง จึงสามารถถอดรหัสอินิกม่าในการเข้ารหัสไว้159ล้านล้านรูปแบบได้สำเร็จ  โดยหากทัวริงและทีมงานไม่ได้ถอดรหัสของเยอรมันและสกัดกองทัพเรือดำน้ำ U-boat ในแอตแลนติกเหนือ กองทัพสัมพันธมิตรก็จะยกพลขึ้นบกในวัน D-Day ไม่ได้ อาจจะล่าช้าออกไปถึง 1 ปี หรืออาจจะนานกว่านั้นเซอร์ แฮร์รี่ ฮินสลีย์ (Harry Hinsley) นักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษชี้ว่า หากยกพลขึ้นบกช้าไปไม่ถึง 1 ปี ฮิตเลอร์จะแข็งแกร่งขึ้น และยากที่จะโค่นได้ ฮินสลีย์คาดว่าฝ่ายสัมพันธมิตรอาจจะใช้อาวุธชีวภาพ (เชื้อแอนแทรกซ์) (ขอบคุณข้อมูลเพิ่มเติมจาก:https://www.posttoday.com/world/595043)
เครื่องอินิกม่า
อย่างไรก็ตาม แม้จะเป็นผลงานที่ยอดเยี่ยม แต่เรื่องนี้ ไม่สามารถถูกเผยแพร่ได้ เนื่องจากเป็นความลับทางการทหารของรัฐบาล
ต่อมา ทัวริ่งออก ผลงานวิชาการมาชิ้นแล้วชิ้นเล่า ทั้งสาขาคณิตศาสตร์ สาขาเทคโนโลยี รวมถึงมีบทความวิชาการเกี่ยวกับแนวคิดการสร้าง AI
แม้นชีวิตที่น่าตื่นเต้นและผลงานที่ยอดเยี่ยมตลอดกาลของเขาควรถูกยกย่องในยกนั้นแต่กระนั้น เขาก็โดนจับในข้อหามีรศนิยมในเพศเดียวกัน เกย์ ในยุคสมัยนั้นถือว่าผิดกฏหมายชายไม่สามารถแต่งงานหรือมีความสัมพันธ์กับเพศเดียวกันได้
ในระหว่างเรียน เขาได้คิดค้นเครื่องจักรชื่อ ทัวริ่งแมชชีนขึ้นมา ซึ่งถือว่าเป็นต้นแบบของคอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยูในทุกวันนี้ โดยทัวริ่งแมชชีน สามารถ “เข้าใจ” ค่าคำสั่งที่มนุษย์สั่งการได้ ในฐานตัวเลขไบนารี่ ซึ่งในยุค 40 ถือว่าเป็นนวัตกรรมใหม่   ต่อมาในระหว่างสงครามโลกครั้งที่2 ทางรัฐบาลอังกฤษระดมพลหัวกะทิ ทั้งนักคณิตศาสตร์ นักหมากรุก และนักอักษรศาสตร์ เพื่อหาทางรับรู้ให้ได้ว่าฝ่ายอักษะหรือเยอรมัน สื่อสารอะไรกัน พูดง่ายๆคือการดักฟังแต่ประเด็นคือ ทางเยอรมันสื่อสารโดยเครื่องอินิกม่า ที่มีการเข้ารหัสไว้มากกว่า159ล้านล้านรูปแบบ ต่อให้เอาคนทั้งโลกมานั่งช่วยกันถอดรหัสก็ยังใช้เวลามากถึง4ปีกว่าจะถอดได้ (ไอเดียของแมคชีน ทัวริ่ง จึงเกิดขึ้นเมื่อ แอลัน ทัวริ่ง บอกว่า ”ถ้าคนไม่สามารถสู้กับเครื่องจักรได้แล้วมีแต่เครื่องจักรที่สู้กับเครื่องจักรได้ละ”)
อลัน ทัวริ่ง จึงขออาสาเข้ามาถอดรหัสนี้ แน่นอนว่าเขาชอบเล่นเกมปริศนาอักษรไขว้ เขาจึงบอกว่ามันก็เหมือนการแก้ปริศนา แต่แค่ว่าเราต้องใช้เครื่องจักรเข้ามาช่วย แอลัน ทัวริ่ง และทีมของเขาใช้เวลาอยู่หลายเดือนก็แล้วยังไม่สามารถถอดรหัสอินิกม่าได้ แม้เครื่องจักรของเขาที่สร้างก็กำลังทำงานทั้งวันทั้งคืนแต่มันยังคงค้นหาคำหรือรหัสนั้นต่อไปเรื่อยๆ เมื่อฝ่ายรัฐบาลอังกฤษเริ่มไม่พอใจที่แอลัน ใช้เวลาและเงินจำนวนมากในการสร้างเครื่องจักรของเขาแต่มันยังไม่สามารถ ถอดรหัสได้ เจ้าหน้าที่ระดับสูงขีดเส้นตาย1เดือน ภายใน1เดือนเขาต้องทำให้ได้ไ่ม่งั้นแอลัน และทีมของเขา จะถูกไล่ออกแล้วรัฐบาลจะกลับไปใช้การถอดรหัสแบบเดิม  และในท้ายที่สุดเขาก็เห็นจุดอ่อน แอลัน ทัวริ่ง จึงสามารถถอดรหัสอินิกม่าในการเข้ารหัสไว้159ล้านล้านรูปแบบได้สำเร็จ  โดยหากทัวริงและทีมงานไม่ได้ถอดรหัสของเยอรมันและสกัดกองทัพเรือดำน้ำ U-boat ในแอตแลนติกเหนือ กองทัพสัมพันธมิตรก็จะยกพลขึ้นบกในวัน D-Day ไม่ได้ อาจจะล่าช้าออกไปถึง 1 ปี หรืออาจจะนานกว่านั้นเซอร์ แฮร์รี่ ฮินสลีย์ (Harry Hinsley) นักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษชี้ว่า หากยกพลขึ้นบกช้าไปไม่ถึง 1 ปี ฮิตเลอร์จะแข็งแกร่งขึ้น และยากที่จะโค่นได้ ฮินสลีย์คาดว่าฝ่ายสัมพันธมิตรอาจจะใช้อาวุธชีวภาพ (เชื้อแอนแทรกซ์) (ขอบคุณข้อมูลเพิ่มเติมจาก:https://www.posttoday.com/world/595043)
แอลัน ทัวริ่งได้รับเลือกให้ขึ้นธนบัตรอังกฤษ โดยเอาชนะผู้ถูกเสนอชื่อว่า1000คน
อย่างไรก็ตาม แม้จะเป็นผลงานที่ยอดเยี่ยม แต่เรื่องนี้ ไม่สามารถถูกเผยแพร่ได้ เนื่องจากเป็นความลับทางการทหารของรัฐบาล
ต่อมา ทัวริ่งออก ผลงานวิชาการมาชิ้นแล้วชิ้นเล่า ทั้งสาขาคณิตศาสตร์ สาขาเทคโนโลยี รวมถึงมีบทความวิชาการเกี่ยวกับแนวคิดการสร้าง AI
แม้นชีวิตที่น่าตื่นเต้นและผลงานที่ยอดเยี่ยมตลอดกาลของเขาควรถูกยกย่องในยกนั้นแต่กระนั้น เขาก็โดนจับในข้อหามีรศนิยมในเพศเดียวกัน เกย์ ในยุคสมัยนั้นถือว่าผิดกฏหมายชายไม่สามารถแต่งงานหรือมีความสัมพันธ์กับเพศเดียวกันได้
-วันที่ 8 มิถุนายน 1954 ทัวริงถูกพบเสียชีวิตในบ้านพักอายุแค่ 41 ปี หลังการชันสูตรพบว่าเขารับสารไซยาไนด์ในปริมาณที่ฆ่าคนได้
ต่อมา สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ได้พระราชทานอภัยโทษให้แก่ Alan Turing แล้ว ภายหลังเขาถูกตัดสินว่ามีความผิดด้วยข้อหารักร่วมเพศมานานกว่า 60 ปี  ในวันที่ (15 มิ.ย.) ธนาคารกลางอังกฤษ BOE ได้เลือกให้ แอลัน ทัวริ่ง เลือกขึ้นธนบัตร50ปอด์น แบบใหม่ เอาชนะนักวิทยาศาสตร์กว่า1000คน ที่ถูกเสนอชื่อ หนึ่งในนั้นมี สตีเฟ่น ฮอว์กิ้ง เป็นต้น สาเหตุที่BOEเลือก ทัวริ่ง ขึ้นธนบัตร เพราะ ไม่ใช่แค่ผลงานของเขาอย่างเดียวแต่คือสิ่งที่เขาทำ ผลงานของเขาได้ช่วยชีวิตคนทั่วโลกหลายล้านคนจากการประมาณการและย่นระยะเวลาสงครามไปกว่า2ปี 
4

ฝากคิดตาม เพจ: https://www.facebook.com/Aboutsidis/?view_public_for=107331744035300
และwebsite: https://www.themountain2.com/




 

Create Date : 12 มกราคม 2563
0 comments
Last Update : 12 มกราคม 2563 22:08:43 น.
Counter : 895 Pageviews.

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

space

สมาชิกหมายเลข 1116722
Location :


[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]






space
space
space
space
[Add สมาชิกหมายเลข 1116722's blog to your web]
space
space
space
space
space