" เรื่องราวต่างๆเป็นดั่งทองคำในเทพนิยาย เมื่อคุณแจกจ่ายไปมากขึ้น คุณก็ได้รับกลับมามากขึ้น " พอลลี แมคไกวร์
Group Blog
 
<<
พฤษภาคม 2553
 
 1
2345678
9101112131415
16171819202122
23242526272829
3031 
 
16 พฤษภาคม 2553
 
All Blogs
 
159. วัดดอนปีน เลขที่ 108 หมู่.5 ตำบล.แช่ช้าง อำเภอ.สันกำแพง จังหวัด.เชียงใหม่

วัดดอนปีน

เลขที่.108 หมู่.5 ตำบล.แช่ช้าง อำเภอ.สันกำแพง จังหวัด.เชียงใหม่




1647.วัดดอนปีน ม.5 ตำบล.แช่ช้าง อำเภอ.สันกำแพง จังหวัด.เชียงใหม่





1648. วัดดอนปีน ม.5 ตำบล.แช่ช้าง อำเภอ.สันกำแพง จังหวัด.เชียงใหม่





1649. บริเวณ วัดดอนปีน






1650. พระพุทธรูปใต้ต้นโพธิ์ แห่ง วัดดอนปีน ต.แช่ช้าง อ.สันกำแพง
จ.เชียงใหม่





1651. พระประจำวันเกิด วัดดอนปีน ต.แช่ช้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่





1652. พระวิหาร แห่ง วัดดอนปีน ต.แช่ช้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่





1653. พระวิหาร แห่ง วัดดอนปีน ต.แช่ช้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่





1654. พระวิหาร แห่ง วัดดอนปีน ต.แช่ช้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่





1655. เข้าใจว่าเป็น "กู่"





1656.





1657.





1658. ประตูพระวิหาร แห่ง วัดดอนปีน ต.แช่ช้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่






1659. กุฏิญาณลังกา อนุสรณ์ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2545





1660.พระวิหาร แห่ง วัดดอนปีน ต.แช่ช้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่





1661. ภาพ ปีใหม่เมือง : 1 ในภาพจิตรกรรมฝาผนังพระวิหารวัดดอนปีน





1662. ภาพ งานวัด : 1 ในภาพจิตรกรรมฝาผนังพระวิหารวัดดอนปีน





1663. ภาพ งานวัด : 1 ในภาพจิตรกรรมฝาผนังพระวิหารวัดดอนปีน





1664. ภาพ งานวัด : 1 ในภาพจิตรกรรมฝาผนังพระวิหารวัดดอนปีน





1665. ภาพ งานวัด : 1 ในภาพจิตรกรรมฝาผนังพระวิหารวัดดอนปีน





1666. ภาพ งานวัด : 1 ในภาพจิตรกรรมฝาผนังพระวิหารวัดดอนปีน





1667. วันมาฆบูชา : 1 ในภาพจิตรกรรมฝาผนังพระวิหารวัดดอนปีน





1668. ทอดกฐิน : 1 ในภาพจิตรกรรมฝาผนังพระวิหารวัดดอนปีน





1670. : 1 ในภาพจิตรกรรมฝาผนังพระวิหารวัดดอนปีน





1671. สำนักงาน ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์




1672.





1673. พระเจดีย์ แห่ง วัดดอนปีน ต.แช่ช้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่





1674. พระสีวลี แห่ง วัดดอนปีน ต.แช่ช้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่





1675. พระเจดีย์ แห่ง วัดดอนปีน ต.แช่ช้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่





1676.





1677.





1678.





5564.





5565.





Moonfleet ได้มาเยือน วัดดอนปีน ม.5 ต.แช่ช้าง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
และ บันทึกภาพไว้ เมื่อ วันเสาร์ ที่ 15 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553


Create Date : 16 พฤษภาคม 2553
Last Update : 16 พฤษภาคม 2553 19:39:47 น. 6 comments
Counter : 5630 Pageviews.

 
สงสัยไปตอนเย็นใช่ไหม

คุณ moonfleet ชมมาก ๆ เขินเน่อ ที่จริงต้องเป็นเพราะจำเป็นต้องทำมากกว่า ก็เลยทำเป็น


โดย: tuk-tuk@korat วันที่: 16 พฤษภาคม 2553 เวลา:14:15:16 น.  

 
ขอบคุณที่นำวัดเรามาเผยแพ่ แต่นาจะมีรายระเอีนดสักหน่อยจะดีมาก


โดย: คนหลงทาง IP: 180.183.46.189 วันที่: 29 กันยายน 2553 เวลา:20:13:34 น.  

 
ตามปกติแต่ละวัดจะมีป้ายบอกประวัติวัดโดยสังเขปและแผนผังวัด หลายวัดก็มี และ หลายวัดก็ไม่ได้ทำไว้ครับ

ถ้าหากผมเห็นก็จะนำมาลงประกอบด้วย แต่ถ้าไม่มีก็เป็นความลำบากของคนทำ blog ในการหาข้อมูล

แต่ถ้าหากท่านจะกรุณานำประวัติของวัดมา post ลง ผมก็มีความยินดีที่จะเพิ่มเติมประวัติเข้าไปใน blog นะครับ

ขอบคุณครับ


โดย: moonfleet วันที่: 30 กันยายน 2553 เวลา:7:07:09 น.  

 
กล่าวราวปีพุทธศักราช ๒๓๘๙ มีครอบครัวน้อยปิ่น นางแก้ว ซึ่งเป็นต้นตระกูลของนามสกุล ปิ่นแก้ว และมีนายอิน นางพรหม ซึ่งเป็นต้นตระกูลอินพรหม พอมาถึงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ มีหลังคาเรือน ๓๒ หลังคาเรือน เป็นหมู่บ้านเล็กๆ ระหว่างบ้านแม่แตเก่า กับบ้านป๋างแยงช้าง (บ้านป่าไผ่ หรือบ้านแช่ช้างปัจจุบัน) ชาวบ้านจึงเรียกหมู่บ้านเล็กๆ ที่หัวไร่ปลายนานี้ว่า บ้านไฮ่ (บ้านไร่) ชาวบ้านไฮ่มีความรักที่สงบ รักประเพณีมาแต่โบราณ รักษาภาษาพูด คือ ภาษายอง และรักษาเขียนเป็นภาษาล้านนา ซึ่งคนสมัยนี้อาจจะพูดไม่ได้ ฟังก็ไม่รู้เรื่องก็มี เช่น ขึ้นบนเติ๋น ผ่อ ก่อย แยง หยื้อ ตลอดจนถึงแค็ป และกอปแกป เหล่านี้เป็นต้น จาวยองบ้านไฮ่ที่มาจากบ้านบวกค้าง มีประเพณีขึ้นเจ้าเข้าทรง เช่นถ้าหากมีเดือนจีปี๋ใหม่ (ขึ้นปีใหม่) จะมีการไว้วางหาเจ้านายเก่าที่เขาเคยพึงพาใบบุญแต่เก่าก่อน นับว่ามีความกตัญญูอยู่มาก เช่น การสะเกล้าดำหัวผู้ใหญ่บิดามารดา และผู้สูงอายุ ของที่ใช้สอยสำหรับคนชรา เช่น ผ้า เสื้อ ข้าวปลาอาหาร ดอกไม้ น้ำส้มป่อย ถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของชาวยอง ถือได้ว่าเป็นคนอ่อนน้อมถ่อมตน เคารพผู้ใหญ่ที่ทำประโยชน์แก่ชุมชน
พ่อหลวงตุ่น ใจอิน อดีตผู้ใหญ่บ้านดอนปีนคนที่ ๓ ดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๑ ถึง พ.ศ.๒๔๘๒ ท่านเล่าประวัติให้ฟังว่า ในหมู่บ้านชาวยองบ้านไฮ่ (บ้านดอนปีนในปัจจุบัน) อยู่ร่วมกันอย่างสันติวิธีมีความพอเพียงเหมือนกันหมด เมื่อบ้านไฮ่มีครัวเรือนมากขึ้น ความรักความศรัทธาในพระพุทธศาสนามีมาก ถึงวันพระก็ต้องเดินไปทำบุญที่วัดบ่อค่าง หน้าฝนลำบากมากในการเดินทาง ต้องไต่ตามคันนา หน้าฝนก็ลื่น เพราะสมัยนั้นถนนยังไม่มี เมื่อเป็นเช่นนี้ คนที่ชื่อว่า หนานปัญญา หนานติคะ หนานพล้อย หนานวงศ์ นับว่าเป็นคนที่มีผู้คนในสมัยนั้นให้ความเคารพนับถือในหมู่บ้าน ได้ปรึกษาหาลือกันว่าควรสร้างวัดวาอารามเป็นที่ทำบุญอันเป็นที่พึ่งทางใจ เพื่อสืบต่อศาสนา เพราะทุกคนในหมู่บ้านทั้งหมดนับถือศาสนาพุทธ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๔ จึงเริ่มแผ้วถางปรับพื้นที่ให้ราบ ถึง พ.ศ. ๒๔๐๕ ก็พร้อมใจกันสร้างเป็นวัด เพราะระหว่างบ้านบ่อค่าง บ้านแม่แต บ้านป่าไผ่ บริเวณแวดล้อมนี้มีวัดห่าง (วัดร้าง) หลายแห่งหลายที่ ทางตะวันตกเฉียงใต้มีวัดห่างชาวบ้านเรียกว่า วัดกู่ขี้เหล็ก ทางตะวันตกเฉียงเหนือเป็น วัดห่างกู่แดง และทางทิศใต้ ได้แก่ วัดห่างแม่แต เมื่อผู้นำในหมู่บ้านพิจารณาดูแล้วเห็นว่า วัดห่างกู่แดง สมควรเป็นวัดก็พากันแผ้วถาง ในบริเวณนั้นมีต้นไม้มะปีน (ต้นมะตูม) อยู่บนก้อนอิฐมากมายต้นใหญ่อยู่บนวัดร้าง เมื่อสร้างกุฏิวิหาร แต่ก่อนมุงด้วยต๋องตึง (ใบจากต้นตึง) ชาวบ้านเรียกว่าวิหาร โฮม (วิหารชั่วคราว) พอสร้างเสร็จแล้วก็ได้ไปปรึกษากับครูบาพรหมจาติ (พรหมชาติ) หรือชาวบ้านบางคนเรียกว่า ตุ๊เจ้าพรหม เจ้าอาวาสวัดบ่อค่าง (วัดบวกค้าง) ขณะนั้นครูบาพรหมก็สั่งให้ พระเตปีน เทวธัมโม มีอายุขณะนั้นได้ ๒๘ พรรษา มาอยู่เป็นผู้ดูแลวัดบ้านไฮ่ และสามเณร ๑ รูป คือ สามเณรปินทะ และมีเด็กเข้ามาร่ำเรียนในวัดอีกหลายคน เพราะสมัยก่อนวัดถือว่าเป็นต้นแบบของโรงเรียน
ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.๒๔๒๕ วัดบ้านไฮ่ ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นวัดดอนปีน พระเตปีนเจ้าอาวาสมีอายุมากขึ้น และมีบารมีพอสมควรนับว่าเป็นผู้มีความรู้ความสามารถสั่งสอนคนไปทั่วได้ มีศรัทธาของวัดมากเห็นว่า คำบ้านไฮ่ ไม่สมควรเป็นชื่อวัด ผู้เฒ่าผู้แก่จึงคิดถึงสมัยสร้างวัดใหม่ๆ ที่มีต้นมะปีน (มะตูม) อยู่บนที่สร้างวัดต้นขนาดใหญ่โต อยู่ที่สูง ภาษายองเรียกที่สูงว่า ดอน มาบวกกับชื่อต้นไม้ และชื่อเจ้าอาวาสจึงเป็นชื่อฤกษ์ว่า ดอนปีน จากวัดบ้านไฮ่ มาเป็นวัดดอนปีน และในหมู่บ้านจึงเปลี่ยนชื่อตามวัดว่า หมู่บ้านดอนปีน เมื่อพ.ศ.๒๔๒๕ เป็นต้นมา
ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๖ เกิดมีขบถเงี้ยวออกปล้นทั่วล้านนา แขวงแม่ออนถูกปล้นเผาโรงกลั่นสุราที่บ้านป่าไผ่ พอได้เดือนเศษ โจรปล้นชาวบ้านแม่แต ซึ่งอยู่ทางทิศใต้บ้านดอนปีน และชาวบ้านชื่อนายถา (ค้อ เป็นชื่อสร้อยที่คนสมัยก่อนนิยมเรียกต่อท้ายชื่อจริง) ถูกโจรปล้นฆ่าตายคาลานบ้าน และต่อสู้ด้วยดาบ พ่อเฒ่าสิงห์ถูกฟันที่ขา แม่เฒ่ามา ต่อสู้ฟันโจร และโจรก็ฟันแม่เฒ่ามา ต่างคนต่างเจ็บ โจรไม่ได้อะไรไปเลยแม้แต่อันเดียว เมื่อโจรผู้ร้ายชุกชุม ชาวบ้านแม่แตเก่า ก็พากันอพยพหนีมารวมกันที่บ้านไฮ่ (บ้านดอนปีน) ซึ่งอยู่ใกล้กันจนหมดบ้าน ฉะนั้นบ้านแม่แตเก่าจึงเป็นบ้านห่าง (บ้านร้าง) ไม่มีผู้คนอยู่พากันมาอยู่บ้านดอนปีน ทำให้บ้านดอนปีนมีประชากรเพิ่มขึ้นเป็นบ้านใหม่บ้านหนึ่ง ต่อมาเมื่อมีกฎหมายลักษณะการปกครองท้องถิ่นเป็นหมู่บ้าน มีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้าน เมื่อปี พ.ศ.๒๔๕๗ โดยมีผู้ใหญ่บ้านของบ้านดอนปีนคนแรก คือ นายธรรมจัย(อึ้ง) ปิ่นแก้ว พ.ศ.๒๔๕๗ – พ.ศ. ๒๔๕๙ และปัจจุบัน มีนายถนัด มณีจันทร์ เป็นผู้ใหญ่บ้านตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นต้นมา


โดย: อรรณพ IP: 223.207.112.96 วันที่: 30 สิงหาคม 2554 เวลา:10:12:32 น.  

 
กล่าวราวปีพุทธศักราช ๒๓๘๙ มีครอบครัวน้อยปิ่น นางแก้ว ซึ่งเป็นต้นตระกูลของนามสกุล ปิ่นแก้ว และมีนายอิน นางพรหม ซึ่งเป็นต้นตระกูลอินพรหม พอมาถึงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ มีหลังคาเรือน ๓๒ หลังคาเรือน เป็นหมู่บ้านเล็กๆ ระหว่างบ้านแม่แตเก่า กับบ้านป๋างแยงช้าง (บ้านป่าไผ่ หรือบ้านแช่ช้างปัจจุบัน) ชาวบ้านจึงเรียกหมู่บ้านเล็กๆ ที่หัวไร่ปลายนานี้ว่า บ้านไฮ่ (บ้านไร่) ชาวบ้านไฮ่มีความรักที่สงบ รักประเพณีมาแต่โบราณ รักษาภาษาพูด คือ ภาษายอง และรักษาเขียนเป็นภาษาล้านนา ซึ่งคนสมัยนี้อาจจะพูดไม่ได้ ฟังก็ไม่รู้เรื่องก็มี เช่น ขึ้นบนเติ๋น ผ่อ ก่อย แยง หยื้อ ตลอดจนถึงแค็ป และกอปแกป เหล่านี้เป็นต้น จาวยองบ้านไฮ่ที่มาจากบ้านบวกค้าง มีประเพณีขึ้นเจ้าเข้าทรง เช่นถ้าหากมีเดือนจีปี๋ใหม่ (ขึ้นปีใหม่) จะมีการไว้วางหาเจ้านายเก่าที่เขาเคยพึงพาใบบุญแต่เก่าก่อน นับว่ามีความกตัญญูอยู่มาก เช่น การสะเกล้าดำหัวผู้ใหญ่บิดามารดา และผู้สูงอายุ ของที่ใช้สอยสำหรับคนชรา เช่น ผ้า เสื้อ ข้าวปลาอาหาร ดอกไม้ น้ำส้มป่อย ถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของชาวยอง ถือได้ว่าเป็นคนอ่อนน้อมถ่อมตน เคารพผู้ใหญ่ที่ทำประโยชน์แก่ชุมชน


พ่อหลวงตุ่น ใจอิน อดีตผู้ใหญ่บ้านดอนปีนคนที่ ๓ ดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๑ ถึง พ.ศ.๒๔๘๒ ท่านเล่าประวัติให้ฟังว่า ในหมู่บ้านชาวยองบ้านไฮ่ (บ้านดอนปีนในปัจจุบัน) อยู่ร่วมกันอย่างสันติวิธีมีความพอเพียงเหมือนกันหมด เมื่อบ้านไฮ่มีครัวเรือนมากขึ้น ความรักความศรัทธาในพระพุทธศาสนามีมาก ถึงวันพระก็ต้องเดินไปทำบุญที่วัดบ่อค่าง หน้าฝนลำบากมากในการเดินทาง ต้องไต่ตามคันนา หน้าฝนก็ลื่น เพราะสมัยนั้นถนนยังไม่มี เมื่อเป็นเช่นนี้ คนที่ชื่อว่า หนานปัญญา หนานติคะ หนานพล้อย หนานวงศ์ นับว่าเป็นคนที่มีผู้คนในสมัยนั้นให้ความเคารพนับถือในหมู่บ้าน ได้ปรึกษาหาลือกันว่าควรสร้างวัดวาอารามเป็นที่ทำบุญอันเป็นที่พึ่งทางใจ เพื่อสืบต่อศาสนา เพราะทุกคนในหมู่บ้านทั้งหมดนับถือศาสนาพุทธ


เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๔ จึงเริ่มแผ้วถางปรับพื้นที่ให้ราบ ถึง พ.ศ. ๒๔๐๕ ก็พร้อมใจกันสร้างเป็นวัด เพราะระหว่างบ้านบ่อค่าง บ้านแม่แต บ้านป่าไผ่ บริเวณแวดล้อมนี้มีวัดห่าง (วัดร้าง) หลายแห่งหลายที่ ทางตะวันตกเฉียงใต้มีวัดห่างชาวบ้านเรียกว่า วัดกู่ขี้เหล็ก ทางตะวันตกเฉียงเหนือเป็น วัดห่างกู่แดง และทางทิศใต้ ได้แก่ วัดห่างแม่แต เมื่อผู้นำในหมู่บ้านพิจารณาดูแล้วเห็นว่า วัดห่างกู่แดง สมควรเป็นวัดก็พากันแผ้วถาง ในบริเวณนั้นมีต้นไม้มะปีน (ต้นมะตูม) อยู่บนก้อนอิฐมากมายต้นใหญ่อยู่บนวัดร้าง เมื่อสร้างกุฏิวิหาร แต่ก่อนมุงด้วยต๋องตึง (ใบจากต้นตึง) ชาวบ้านเรียกว่าวิหาร โฮม (วิหารชั่วคราว) พอสร้างเสร็จแล้วก็ได้ไปปรึกษากับครูบาพรหมจาติ (พรหมชาติ) หรือชาวบ้านบางคนเรียกว่า ตุ๊เจ้าพรหม เจ้าอาวาสวัดบ่อค่าง (วัดบวกค้าง) ขณะนั้นครูบาพรหมก็สั่งให้ พระเตปีน เทวธัมโม มีอายุขณะนั้นได้ ๒๘ พรรษา มาอยู่เป็นผู้ดูแลวัดบ้านไฮ่ และสามเณร ๑ รูป คือ สามเณรปินทะ และมีเด็กเข้ามาร่ำเรียนในวัดอีกหลายคน เพราะสมัยก่อนวัดถือว่าเป็นต้นแบบของโรงเรียน


ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.๒๔๒๕ วัดบ้านไฮ่ ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นวัดดอนปีน พระเตปีนเจ้าอาวาสมีอายุมากขึ้น และมีบารมีพอสมควรนับว่าเป็นผู้มีความรู้ความสามารถสั่งสอนคนไปทั่วได้ มีศรัทธาของวัดมากเห็นว่า คำบ้านไฮ่ ไม่สมควรเป็นชื่อวัด ผู้เฒ่าผู้แก่จึงคิดถึงสมัยสร้างวัดใหม่ๆ ที่มีต้นมะปีน (มะตูม) อยู่บนที่สร้างวัดต้นขนาดใหญ่โต อยู่ที่สูง ภาษายองเรียกที่สูงว่า ดอน มาบวกกับชื่อต้นไม้ และชื่อเจ้าอาวาสจึงเป็นชื่อฤกษ์ว่า ดอนปีน จากวัดบ้านไฮ่ มาเป็นวัดดอนปีน และในหมู่บ้านจึงเปลี่ยนชื่อตามวัดว่า หมู่บ้านดอนปีน เมื่อพ.ศ.๒๔๒๕ เป็นต้นมา


ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๖ เกิดมีขบถเงี้ยวออกปล้นทั่วล้านนา แขวงแม่ออนถูกปล้นเผาโรงกลั่นสุราที่บ้านป่าไผ่ พอได้เดือนเศษ โจรปล้นชาวบ้านแม่แต ซึ่งอยู่ทางทิศใต้บ้านดอนปีน และชาวบ้านชื่อนายถา (ค้อ เป็นชื่อสร้อยที่คนสมัยก่อนนิยมเรียกต่อท้ายชื่อจริง) ถูกโจรปล้นฆ่าตายคาลานบ้าน และต่อสู้ด้วยดาบ พ่อเฒ่าสิงห์ถูกฟันที่ขา แม่เฒ่ามา ต่อสู้ฟันโจร และโจรก็ฟันแม่เฒ่ามา ต่างคนต่างเจ็บ โจรไม่ได้อะไรไปเลยแม้แต่อันเดียว เมื่อโจรผู้ร้ายชุกชุม ชาวบ้านแม่แตเก่า ก็พากันอพยพหนีมารวมกันที่บ้านไฮ่ (บ้านดอนปีน) ซึ่งอยู่ใกล้กันจนหมดบ้าน ฉะนั้นบ้านแม่แตเก่าจึงเป็นบ้านห่าง (บ้านร้าง) ไม่มีผู้คนอยู่พากันมาอยู่บ้านดอนปีน ทำให้บ้านดอนปีนมีประชากรเพิ่มขึ้นเป็นบ้านใหม่บ้านหนึ่ง

ต่อมาเมื่อมีกฎหมายลักษณะการปกครองท้องถิ่นเป็นหมู่บ้าน มีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้าน เมื่อปี พ.ศ.๒๔๕๗ โดยมีผู้ใหญ่บ้านของบ้านดอนปีนคนแรก คือ นายธรรมจัย(อึ้ง) ปิ่นแก้ว พ.ศ.๒๔๕๗ – พ.ศ. ๒๔๕๙ และปัจจุบัน มีนายถนัด มณีจันทร์ เป็นผู้ใหญ่บ้านตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นต้นมา


โดย: อรรณพ IP: 223.207.112.96
วันที่: 30 สิงหาคม 2554
เวลา:10:12:32 น.






โดย: ประวัติบ้านดอนปีน และ วัดดอนปีน (moonfleet ) วันที่: 30 สิงหาคม 2554 เวลา:18:30:49 น.  

 
สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงศภูวนาถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานาถ ประทานนามสกุล ปิ่นแก้ว ไว้ ส่วนใหญ่จะประทานให้แก่นายทหารที่รู้จัก แต่ไม่ทราบว่าประทานให้ใคร


โดย: คนสันกำแพง IP: 192.99.14.36 วันที่: 2 เมษายน 2558 เวลา:21:43:17 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

moonfleet
Location :
เชียงใหม่ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 25 คน [?]




ไม่มีสิ่งใดจะเกิดขึ้นมาได้ หากไม่เคยเป็นความฝันมาก่อน
New Comments
Friends' blogs
[Add moonfleet's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.