"แต่โบราณลาภยศเหมือนเมฆลอย เพียงหมื่นร้อยประโยชน์สร้างนามสืบสาน สันโดษเดินเพลินขับกล่อมท่องสายธาร สู่เทือกเขาสูงตระหง่านวางอัตตา" (ดัดแปลงจาก ฯพณฯ จาง จิ่ว หวน,เอกอัครราชทูตสาธารณะประชาชนจีน ประจำประเทศไทย)
Group Blog
 
<<
มิถุนายน 2552
 123456
78910111213
14151617181920
21222324252627
282930 
 
12 มิถุนายน 2552
 
All Blogs
 

ตรรกะ"กำกวม" : ฝรั่งและ"ทางสายกลาง" ของพระพุทธเจ้า

ความคิดเห็นที่ 181

นอกจากถกเถียงกันเรื่อง อัตตา-อนัตตา (A or not-A)
ยังมีเรื่องทางสายกลาง

สำหรับผู้มีปัญญาเลิศล้ำ เก่งภาษาอังกฤษมากกว่าเก่งไทยและบาลี แต่ยังไม่เข้าใจศาสนาพุทธอย่างแท้จริง ยังไม่เข้าใจความเป็นทางสายกลางของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็น
ตรรกะ Fuzziness

ลองดูความก้าวหน้าของฝรั่งและญี่ปุ่น เขาโยงปรัชญาพุทธไปเป็นวิทยาศาสตร์
ประยุกต์ได้อย่างไร? >>> เช่นระบบควบคุมรถsubway,เครื่องปรับอากาศหรือเกียร์อัตโนมัติ เป็นต้น

ขอแนะนำให้ท่านลองอ่านเรื่อง Fuzzy Logic

//mathematica.ludibunda.ch/fuzzy-logic7.html

When we look at the history of Fuzzy Logic, we find that the first important person for its development was Buddha. He lived in India about 500 BC and founded a religion called Buddhism. His philosophy was based on the thought that the world is filled with contradictions, that almost everything contains some of its opposite, or in other words, that things can be A and not-A at the same time. Here we can see a clear connection between Buddha's philosophy and modern fuzzy logic.

หรือเข้ากูเกิ้ล พิมพ์ค้นคำว่า fuzzy logic buddhist
ในนั้นมีเรื่องมากมายก่ายกอง

เห็นใจภาษามนุษย์อธิบายภาษาธรรมลำบาก
อ่านภาษาอังกฤษย้อนไปวิทยาศาสตร์อ้อมไปเลย อาจช่วยท่านได้ครับ...




 

Create Date : 12 มิถุนายน 2552
9 comments
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 11:17:08 น.
Counter : 970 Pageviews.

 

ความคิดเห็นที่ 182

In the year 1987, the first subway system was built which worked with a fuzzy logic-based automatic train operation control system in Japan. It was a big success and resulted in a fuzzy boom. Universities as well as industries got interested in developing the new ideas. First, this was mainly the case in Japan. Since the relegions in Japan acceped that things can contain parts of their opposites, it wasn't such a frightening idea as in most other parts of the world. And fuzzy logic promised lots of money to the industries, which was of course welcome too.

 

โดย: ขามเรียง 12 มิถุนายน 2552 11:10:16 น.  

 

ความคิดเห็นที่ 183

เมื่อคนเรียนมาก รู้มาก เรียกร้องความมีเหตุมีผลมาก(Rationalist)
มีโลกส่วนตัวมาก อัตตามากตามมา
ปรากฏการณ์มีสมองแต่ไร้มิติทางจิตวิญญาณ ไร้ศรัทธามีโอกาสเกิดขึ้น...เป็นฝ่ายA or not-A


อารยธรรมโลกาภิวัตน์จะพังลงหากรื้อทิ้งสร้างใหม่โดยปราศจากฐานรากทางศาสนา
(ตรงนี้เรียนรู้ได้จากคณะผู้ก่อตั้งประเทศสังคมนิยม,1948-Israel)

กระทู้นี้อาจผิดก็ได้ เพราะผมไม่ได้ใช้ตรรกะ ผมใช้ศรัทธาและIntuitiveเท่านั้น

จากคุณ : ขามเรียง - [ 7 มิ.ย. 52 12:01:36 ]

 

โดย: ขามเรียง 12 มิถุนายน 2552 11:11:25 น.  

 

ความคิดเห็นที่ 184

ข้อความต่อไปนี้ สอนแง่คิดบางอย่างให้แก่ผู้อ่าน...Today, almost every intelligent machine has fuzzy logic technology inside it. But fuzzy logic doesn't only help boast machine IQs. If we could give up the idea of everything having to be good or bad, we could also see the good things in other people. We wouldn't have to reduce all our fellow people to Gods or devils. Everyone has her or his good qualities. And it is our job to find them! (And using the Clicker Method we can make sure that they improve their good qualities!)

นักแปลช่วยผมแปลด้วยครับ...ผมไม่เก่ง
(แก้ไขเพิ่มเติม : อ่านของ#179ประกอบ...ความเกี่ยวพันกันอยู่มากครับ)
แก้ไขเมื่อ 07 มิ.ย. 52 12:32:37

จากคุณ : ขามเรียง - [ 7 มิ.ย. 52 12:22

 

โดย: ขามเรียง 12 มิถุนายน 2552 11:12:14 น.  

 

ความคิดเห็นที่ 186

ผมขอโต้แย้งเรื่อง Fuzzy Logic ครับ

ปรัชญาประเภทนี้เป็นความคิดทั่วไปในปรัชญาตะวันออกอยู่แล้วครับ
หรือแม้แต่ปรัชญาทางตะวันตกเองก็มีโผล่มาบ้างเช่นกัน

อย่างคำพูดของโสเครติส ที่บอกว่า "ผมรู้ว่าผมไม่รู้่"
นั่นคือการใช้ตรรกะคลุมเคลือ (Fuzzy Logic) แบบหนึ่ง
เพียงแต่ทางตะวันตกไม่พัฒนา Fuzzy Logic เพิ่มเติมเท่านั้นครับ
เราเลยไม่เคยเห็นปรัชญาแบบคลุมเคลือของทางตะวันตกต่อมาจากสมัยกรีกอีกเลย

และรวมถึงแม้แต่ในคัมภีร์อุปนิษัทของพราหมณ์เอง ก็มีปรัชญาประเภทนี้ปนมากอยู่ครับ

และรวมถึงแม้แต่ทางปรัชญาจีนโดยเฉพาะลัทธิเต๋า ก็กล่าวถึงปรัชญาประเภทนี้เอาไว้
ที่ชัดเจนที่สุดเป็นนิทานของจวงจื้อที่ยังตกทอดมาถึงปัจจุบัน
โดยจวงจื้อได้นำเอานิทานเรื่องหนึ่ง ที่ผมว่าทุกคนต้องจำได้แน่นอนมาอธิบายครับ
เรื่องนั้นก็คือ "ข้าพเจ้าเป็นผีเสื้อ หรือ ผีเสื้อเป็นข้าพเจ้า"

ที่กล่าวมาทั้งหมด ผมขอโต้แย้งคำพูดนี้ครับ
v
v
we find that the first important person for its development was Buddha

เพราะผมเห็นว่านักปรัชญาแต่ละท่านก็มีความโดดเด่นของท่านเอง
แม้ว่าแต่ละท่านจะพัฒนาไปในทิศทางตรงกันข้ามกัน
แต่ผมก็ไม่เห็นว่า ใครจะสำคัญกว่าใคร ตรงไหนยังไง เลยครับ??

จากคุณ : กระบี่เก้าเดียวดาย - [ 8 มิ.ย. 52 14:49:27 ]

 

โดย: ขามเรียง 12 มิถุนายน 2552 11:13:32 น.  

 

ความคิดเห็นที่ 187

งานเข้าแล้วสิคุณกระบี่ฯ
ก็ด็อกเตอร์ฝรั่งเขายกย่องพระพุทธเจ้า โดยที่บอกว่าคนส่วนใหญ่รวมทั้งนักปรัชญาตะวันตกที่มีชื่อเสียงทั้งหลายนั้น
มักมองโลกที่เน้นเพียง ถูก-ผิด,ดี-ชั่ว,ขาว-ดำ,ซ้าย-ขวา
ในขณะที่ความจริงของโลก มันมีสิ่งกำกวม(คลุมเคลือ)/fuzzyระหว่างถูก-ผิด คือตัดสินว่ามีทั้งถูก-ผิดอยู่ด้วยกัน...หรือลหุโทษ/มหันต์โทษในทางตุลาการ
ระหว่างขาว-ดำ มีสีเทาแก่เทาอ่อนอยู่ด้วย
ระหว่างซ้าย-ขวา มีกลางซ้ายกลางขวา แม้แต่ลัทธิการเมืองยังมีกลุ่มในลักษณะนี้ปรากฏอยู่ด้วยมิใช่หรือครับ?

และฝรั่งเขาก็มองว่า"ทางสายกลางของพระพุทธเจ้า พระองค์ประกาศชัดเจนนี่ครับที่ท่านไม่สนใจเรื่องสุข-ทุกข์ สุดโต่ง
นั่นน่ะคือตรรกะวิธีการมองโลกแบบFuzzy ไม่สุดโต่ง ทำให้พ้นทุกข์ได้...
ในทางวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยี มองว่าใช้ในทางสมองอัจฉริยะในระบบคอมพิวเตอร์ได้ ญี่ปุ่นและฝรั่งเขาจึงประยุกต์ไปใช้ทางโลกวัตถุ

พวกเขาช่างคิดมากนะครับ

Fuzziness มันมีลักษณะยืดหยุ่น กวัดแกว่ง กำกวม
***อยู่ตรงกลางระหว่างของสองขั้วที่สุดขอบ***.... แปลได้หลายความหมายนะครับ
ด้านสังคมศาสตร์ ในทางการเจรจาความขัดแย้ง อาจหมายถึงคำว่า ประนีประนอม ก็ย่อมได้



นี่ผมก็มาเถียงคุณกระบี่ ?แทนฝรั่งเขาไปเสียแล้ว...
ผมก็ไม่ยืนยันหรอกครับ ว่าทางสายกลางของพระพุทธเจ้าคือFuzzy Logic ในสายตาของคุณกระบี่ฯบอกว่ามันไม่ใช่
และผมหรือฝรั่งจะมาเคลมพระพุทธเจ้า ก็ไม่ถูกต้องอีก(คือผิด)

ผมจึงเคลมว่าวิธีคิดของคุณกระบี่ฯ ไม่Fuzzy...ล้อเล่นครับ
แก้ไขเมื่อ 09 มิ.ย. 52 17:01:30

จากคุณ : ขามเรียง - [ 9 มิ.ย. 52 16:58:18 ]

 

โดย: ขามเรียง 12 มิถุนายน 2552 11:14:21 น.  

 

แวะมาชมตรรกะคุณพี่ขามเรียงคับ

Photobucket

 

โดย: hiansoon 30 มิถุนายน 2552 3:54:57 น.  

 

สวัสดีค่ะ
อุ่ย! บ้านนี้หนักนะคะ
ต้องใช้หมองและนั่งมาธิเป็นอิกคิวซัง
หนูขอ add ไว้ก่อนนะคะ
แล้วจะเข้ามาอ่านให้เร็วที่สุด
เพราะหนูอยากมีรอยหยักในสมองเพิ่มมากขึ้น

 

โดย: madame_vann 11 กรกฎาคม 2552 9:29:04 น.  

 


ตราบใดที่เจ้าของบ้านยังหวั่นไหวอยู่
มองดีๆบ้านนี้ยังโยกเยกตาม
คงต้องทำบ้านให้หนักขึ้นอีก...

 

โดย: ขามเรียง 26 กรกฎาคม 2552 8:12:22 น.  

 

มีเม้นท์ให้ตัวเองด้วย

หรือพี่ขามเรียงเปลี่ยนชื่อใหม่แล้ว 555

 

โดย: hiansoon 26 กรกฎาคม 2552 8:34:59 น.  

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 


ขามเรียง
Location :
กรุงเทพ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]




Friends' blogs
[Add ขามเรียง's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.