"ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้หรือในโลกอื่น หรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้นเสมอด้วยพระตถาคตย่อมไม่มี พระพุทธเจ้าแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยการกล่าวคำจริงนี้ ขอความสวัสดีจงมี....." "พระไตรปิฏก เป็นตาที่วิเศษยิ่ง, เป็นหูที่วิเศษยิ่ง, เป็นจมูกที่วิเศษยิ่ง, เป็นลิ้นที่วิเศษยิ่ง, เป็นกายที่วิเศษยิ่ง, เป็นใจที่วิเศษยิ่ง, เป็นครู-อาจารย์ที่วิเศษยิ่ง, เป็นพ่อ-แม่ที่วิเศษยิ่ง, เป็นมิตรและเข็มทิศที่วิเศษยิ่ง, เป็นแผนที่และป้ายบอกทางที่วิเศษยิ่ง, เป็นแสงสว่างส่องทางสู่นิพพานที่วิเศษยิ่ง"จากวัดสามแยก
Group Blog
 
<<
มิถุนายน 2554
 1234
567891011
12131415161718
19202122232425
2627282930 
 
17 มิถุนายน 2554
 
All Blogs
 
หลวงปู่เกษม เรียนธรรมของ พระพุทธเจ้า ไม่ตายเปล่า 1 มกราคม 2554

หลวงปู่เกษม เรียนธรรมของพระพุทธเจ้า ไม่ตายเปล่า
เนื้อหาบางส่วน
1.ข้อปฏิบัติของโยม ที่ถูกตามหลักพุทธศาสนา
2.ทำความเข้าใจในพระรัตนตรัย
3.ระลึกถึงพระพุทธเจ้า.....อย่างไร
4.พระพุทธเจ้าให้พึ่งธรรม...พึ่งตน
5.ติดสมบัติ....เมื่อตายต้องไปเฝ้าสมบัติ
6.ทำถูกแล้วโดนตำหนิก็ไม่สน
7.ทำบุญกับพระทุศีล....ไม่ได้บุญ
8.พระบอกรับเงินได้ "พูดโกหก" เพราะผิดวินัย

เรียนธรรมของพุทธเจ้าไม่ตายเปล่า 1/8

เรียนธรรมของพุทธเจ้าไม่ตายเปล่า 2/8

เรียนธรรมของพุทธเจ้าไม่ตายเปล่า 3/8

เรียนธรรมของพุทธเจ้าไม่ตายเปล่า 4/8

เรียนธรรมของพุทธเจ้าไม่ตายเปล่า 5/8

เรียนธรรมของพุทธเจ้าไม่ตายเปล่า 6/8

เรียนธรรมของพุทธเจ้าไม่ตายเปล่า 7/8

เรียนธรรมของพุทธเจ้าไม่ตายเปล่า 8/8


ทำบุญกับพระทุศีลไม่ได้บุญ เล่ม23 หน้า409บรรทัด19


พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม ๓ ภาค ๒ - หน้าที่ 409
กาสาวะพันคอในอนาคต พึงกล่าวตามสมัยนั้นเท่านั้น. ก็สมณปุถุชนซึ่งนำไป
เฉพาะจากสงฆ์ เป็นปาฏิบุคคลิกโสดาบัน เมื่อบุคคลอาจเพื่อทำความยำเกรง
ในสงฆ์ ทานที่ให้ในสมณะผู้ปุถุชน มีผลมากกว่า. ในคำแม้มีอาทิว่า โสดาบัน
อันทายกถือเอาเจาะจง เป็นปาฏิบุคคลิกสทาคามี ก็มีนัยนี้เหมือนกัน. จริงอยู่
เมื่อบุคคลอาจเพื่อทำความยำเกรงในสงฆ์ ให้ทานแม้ในภิกษุทุศีล
ซึ่งเจาะจงถือเอา มีผลมากกว่าทานที่บุคคลถวายในพระขีณาสพนั้น
แล
. ก็คำใดที่กล่าวว่า ดูก่อนมหาบพิตร ทานที่ให้แก่ผู้มีศีลแล มีผลมาก
ทานที่ให้ในผู้ทุศีลหามีผลมากอย่างนั้นไม่ คำนั้นพึงละนัยนี้แล้ว พึงเห็นใน
จตุกะนี้ว่า ดูก่อนอานนท์ ก็ความบริสุทธิ์แห่งทักขิณานี้มี ๔ อย่าง.
บทว่า ทายกโต วิสุชฺฌติ
ความว่า ทักขิณาบางอย่างบริสุทธิ์ โดยความมี
ผลมาก อธิบายว่า เป็นทาน มีผลมาก. บทว่า กลฺยาณธมฺโม ได้แก่ มีสุจิธรรม
บทว่า ปาปธมฺโม คือมีธรรมอันชั่ว. ก็พึงแสดงพระเวสสันดรมหาราชใน
บทนี้ว่า ทักขิณาบางอย่างบริสุทธิ์ฝ่ายทายก. ก็พระเวสสันดรมหาราชนั้น ทรง
ให้พระโอรสพระธิดาแก่พราหมณ์ชูชกแล้ว ยังแผ่นดินให้หวั่นไหว พึงแสดง
นายเกวัฏฏะ ผู้อาศัยอยู่ที่ประตูปากน้ำกัลยาณนทีในคำนี้ว่า ทักขิณาบางอย่าง
บริสุทธิ์ฝ่ายปฏิคาหก. ได้ยินว่า เกวัฏฏะนั้น ได้ถวายบิณฑบาตแก่พระทีฆ-
โสมเถระถึง ๓ ครั้ง นอนบนเตียงเป็นที่ตายได้กล่าวว่า บิณฑบาตที่ถวายแก่
พระผู้เป็นเจ้าทีฆโสมเถระ ย่อมยกข้าพเจ้าขึ้น. พึงแสดงถึงพรานผู้อยู่ใน
วัฑฒมานะในบทว่า เนว ทายกโต นี้. ได้ยินว่า นายพรานนั้นเมื่อให้ทุกขิณา
อุทิศถึงผู้ตายได้ให้แก่ภิกษุผู้ทุศีลรูปหนึ่งนั้น แลถึง ๓ ครั้ง. ในครั้งที่ ๓ อมนุษย์
ร้องขึ้นว่า ผู้ทุศีลปล้นฉัน ดังนี้. ในเวลาที่พรานนั้นถวายแก่ภิกษุผู้มีศีลรูป
หนึ่งมาถึง ผลของทักขิณาก็ถึงแก่เขา. พึงแสดงอสทิสทานในคำนี้ว่า ทักขิณา
บางอย่างบริสุทธิ์ ฝ่ายทายกเท่านั้น.


ชีวิตปลอดภัยในต่างแดนได้ด้วย★ อำนาจพุทธ ธรรม สงฆ์
//www.samyaek.com/board2/index.php?topic=4557.จ

เรื่องพระพุทธรูปตามความเป็นจริง
//www.samyaek.com/board2/index.php?topic=1175.0

ดาวน์โหลดไฟล์รวมข้อมูลเพื่อการศึกษาพระไตรปิฎก
//www.samyaek.com/board2/index.php?topic=3230.msg19459#msg19459

พระไตรปิฏกอรรถกถา ชุด91 เล่ม
www.samyaek.com/pratripidok

พระสูตรที่ควรศึกษา //www.samyaek.com/fileload/samyaek/formular001.pdf?r=002


ที่มา: www.samyaek.com




Create Date : 17 มิถุนายน 2554
Last Update : 6 เมษายน 2556 18:54:38 น. 0 comments
Counter : 1068 Pageviews.

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

Budratsa
Location :
พิจิตร Switzerland

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 11 คน [?]




สวัสดีค่ะ ยินดีต้อนรับทุกๆคนค่ะ
"ดูก่อนอานนท์ บางทีพวกเธอจะพึงมีความคิดอย่างนี้ว่า ปาพจน์ (พุทธพจน์) มีพระศาสดาล่วงแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มี ข้อนี้พวกเธอไม่พึงเห็นอย่างนั้น ธรรมก็ดี วินัยก็ดีอันใดอันเราแสดงแล้ว ได้บัญญัติไว้แล้วแก่พวกเธอ ธรรมและวินัยอันนั้น จักเป็นศาสดาแห่งพวกเธอ โดยกาลล่วงไปแห่งเรา" เล่มที่ ๑๓ : พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เล่ม ๒ ภาค ๑ หน้าที่ ๓๒๐
Friends' blogs
[Add Budratsa's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.