เมษายน 2559

 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
12
13
14
15
16
17
19
20
21
23
24
25
27
28
29
30
 
ไมโครโปรเซสเซอร์ เทคโนโลยีจิ๋วบนประตูออโต้


ไมโครโปรเซสเซอร์ เทคโนโลยีจิ๋วบนประตูออโต้

สำหรับวันนี้เราจะมาทำความรู้จัก ไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor) หนึ่งอุปกรณ์หลักของเจ้าตัวประตูออโต้ หรือประตูบานเลื่อนอัตโนมัติ เพราะเป็นตัวที่คอยควบคุม หรือประมวลผลให้ประตูออโต้ทำงานถ้าหากเจ้าสิ่งนี้ไป ก็คงจะไม่สามารถประมวลผลได้อย่าง อัตโนมัติ หรือพูดง่าย ประตูออโต้ของท่านก็ไม่สามารถที่จะทำงานได้ ซึ่งอันที่จริงแล้วไมโครโพรเซสเซอร์อุปกรณ์ควบคุมประตูออโต้ ตัวนี้ ก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กนั่นเอง โดยปกติแล้ว ยูสเซอร์ (ผู้ใช้งาน) จะไม่สามารถทำการแก้ไขตัวซอสโค้ด หรือที่เราเรียกว่าชุดคำสั่งที่อยู่ในตัวไมโครโพรเซสเซอร์ได้ โดยทั่วไปแล้วจะเป็นการตั้งค่าต่างๆ ที่ระบบมีมาให้ เช่นค่าของน้ำหนัก องศา ส่วนสูง เป็นต้น นอกจากนั้นแล้ว ไมโครโพสเซสเซอร์ ยังเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้ประตูออโต้ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ฉลาดมากยิ่งขึ้นอีกด้วย เช่นการอ่านค่า การของการเคลื่อนไหว แล้วหลังจากนั้นเจ้าไมโครโพรเซสเซอร์ ก็จะทำการประมวลผลตามค่าที่เราตั้งไว้แล้วแสดงผลลัพธ์ออกมา เช่นให้ประตูบ้านของท่านเป็นประตู ที่เปิดปิดเอง เวลามีคน เดินเข้าออกเป็นต้น

ความอัจฉริยะของไมโครโปรเซสเซอร์ เทคโนโลยีจิ๋วบนประตูออโต้

สำหรับตัวไมโครโปรเซสเซอร์ใรอุปกรณ์ ประตูออโต้ นั้น สิ่งที่เราเห็นว่ามันว่างเปล่าบนตัวของไมโครโพรเซสเซอร์ชิฟ โดยแท้จริงแล้วมันมีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีขนาดเล็กเพียง หนึ่งส่วนพันมิลลิเมตรของพื้นที่ที่เรามองเห็น โดยเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานร่วมกับหน่วยความจำแบบคำเดียว เพื่อเก็บข้อมูลจากหน่วยความจำหลักหรือได้จากการประมวลผลข้อมูล หรือการถอดรหัสค่าคำสั่ง ตัวสะสม เป็นการคำควณค่า โดยแสดงผลเป็นแบบตรรกทางคณิตศาสตร์ ที่เป็นคอยทำหน้าที่ที่แท้จริงในการรวมและประมวลผลข้อมูล ความเก่งหรือความฉลาดของตัวไมโครโปรเซสเซอร์อยู่ที่ส่วนของขายิ่งมีจำนวนมากก็ยิ่งมีความฉลาดมาก เพราะเป็นกลุ่มลวดที่ใช้การพาชุดคำสั่งเลขฐานสอง โดยเป็นการต่อ ขาของมันเข้ากับหน่วยความจำ และอุปกรณ์ประมวลผลภายในวงจร ประตูออโต้ ต่างๆ ดังนั้น เจ้าไมโครโพรเซสเซอร์ชิป มันจึ่งมีส่วนที่ห่ออยู่ชั้นภายนอกอยุ่ที่ 2×2 นิ้ว และส่วนที่อยู่ภายในจะมีขนาดอยู่ที่ 0.5×0.5 นิ้ว ซึ่งส่วนที่เป็นขาที่อยู่ภายในนี้เป็นตัวที่คอยนำคำสั่งและถอดรหัสคำสั่ง (การเข้ารหัสและถอดรหัส) และสั่งให้มีกระบวนการทำซ้ำเป็นล้านๆ ครั้งต่อวินาที และเป็นตัวคอยจัดเก็บงานที่ค้างอยู่หรือหยุดชั่วคราว หลังจากนั้นก็กลับมาทำงาน ที่กำลังทำอยู่ก่อนหน้านี้ ได้เหมือนเดิม




Create Date : 26 เมษายน 2559
Last Update : 26 เมษายน 2559 14:06:07 น.
Counter : 558 Pageviews.

0 comments

สมาชิกหมายเลข 3099033
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]