WishRich
Group Blog
 
All Blogs
 
สมุนไพร-กระดังงา

//csamunpri.com/herbals/wp-content/uploads/2009/09/YlangYlang1.jpg



กระดังงา สมุนไพร
สีของดอกกระดังงาที่ออกมาใหม่สีเขียว
พอแก่จัดก็จะเป็นสีเหลืองอมเขียวหรือสีเหลืองอ่อน ลักษณะของดอกใหญ่ออกทีละ
3-6 ดอก กลีบดอกของมันยาวห้อยลงมีประมาณ 6 กลีบ กลีบชั้นนอก ปลายเรียวยาว
ขอบของมันเป็นหยักเป็นคลื่นรูปกลีปแคบ



ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cananga

odorata (Lam.)Hppker f & Thome


ชื่อสามัญ : Perfume

Tree, llang-llang,Ylang-Ylang


ชื่อวงศ์ : ANONACEAE


ชื่อสมุนไพรอื่น ๆ: กระดังงา

กะดังงา กระดังงาใบใหญ่ กระดังงาใหญ่ กระดังงาไทย (ภาคกลาง)สะบันงาต้น
สะบานงา สะบานงา (ภาคเหนือ) กระดังงา กระดังงอ (ภาคใต้)


ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :


ต้น : สมุนไพรกระดังงาเป็น

พรรณไม้ยืนต้น ขนาดกลางมีความสูงประมาณ 15-20 เมตร
เปลือกลำต้นของมันจะเป็นสีเทาเกลี้อง


ใบ : มีสีเขียวอ่อน
ใบบางนิ่ม รูปลักษณะของมันยาว ส่วนปลายแหลม มีติ่ง โคนของใบมน กลม
และใบจะออกเรียงสลับห้อยลง


ดอก: สีของดอกกระดังงาที่

ออกมาใหม่สีเขียว พอแก่จัดก็จะเป็นสีเหลืองอมเขียวหรือสีเหลืองอ่อน
ลักษณะของดอกใหญ่ออกทีละ 3-6 ดอก กลีบดอกของมันยาวห้อยลงมีประมาณ 6 กลีบ
กลีบชั้นนอก ปลายเรียวยาว ขอบของมันเป็นหยักเป็นคลื่นรูปกลีปแคบ
กลีบยาวประมาณ 4-5 นิ้ว
กลีบชั้นในจะสั้นและเล็กกว่าเล็กน้อยกลิ่นของดอกมีกลิ่นหอมฉุน
มีคำเปรียบเปรยหญิงม่ายที่ยังสาวและสวยเป็นดังเช่นกระดังงาลนไฟ
ชายใดได้อยู่ใกล้เป็นต้องมนต์เสน่ห์แห่งความหอม นั่นอาจ
เป็นเพราะเจ้ากลีบดอกสีเหลืองอ่อนที่ห้อยระย้า
ช่อดอกหยักยาวเป็นเกลียวคลื่นจะทวีความหอมแรงมากขึ้นเมื่อต้องความร้อน


ผล : ผลกระดังงาเป็น

สีเขียวเข้ม เมื่อผลสุกจะเป็นสีเหลืองคล้ำ ผิวของมันเรียบและผลออกเป็นพวง
ประมาณ 4-14 ผล เป็นรูปรี


การขยายพันธุ์ :
กระดังงาขยายพันธุ์โดยการ ตอนกิ่ง แล้วนำไปปลูก ในดินที่ร่วนซุย
หรือดินเหนียวที่อุ้มน้ำได้ดี


ส่วนที่ใช้ : ดอกกระดังงาที่

แก่จัด (สีเหลืองอ่อน)


สารสำคัญ :

ดอกสมุนไพรกระดังงา มีน้ำมันหอมระเหยประกอบด้วยสาระสำคัญคือ
safrole , geraniol , linallol , pinene terpene และ ester ของกรด formic ,
acetic , valeric , benzoic และ salicylic น้ำมัน
ใช้แต่งกลิ่นเครื่องสำอาง น้ำหอม น้ำอบ
ใช้แต่งกลิ่นขนมและอาหารให้มีกลิ่นหอม




กระดังงา
สมุนไพร ผลกระดังงาเป็นสีเขียวเข้ม เมื่อผลสุกจะเป็นสีเหลืองคล้ำ
ผิวของมันเรียบและผลออกเป็นพวง ประมาณ 4-14 ผล เป็นรูปรี



ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา :

พบว่าฤทธิ์ลดความดัน ต้านเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย ยีสต์ ช่วยไล่แมลง
และมีผลต่อการระคายเคืองของผิวหนัง และมีสาระสำคัญในการฆ่าเซลล์มะเร็ง


สรรพคุณของสมุนไพร :


ใบ : รักษาโรคผิวหนัง
กลากเกลื้น แก้คัน ขับปัสสาวะ


ดอกแก่จัด : รสหอมสุขุม
ใช้เป็นยาหอมบำรุงหัวใจ บำรุงโลหิต บำรุงธาตุ
แก้ลมวิงเวียนชูกำลังให้ชุ่มชื่น ดอกสดใช้ทำน้ำอบ ใช้ปรุง
ใช้เข้าเครื่องยาหอมบำรุงหัวใจ หรือใช้ทำน้ำเชื่อมหรือปรุงขนมหวานต่าง ๆ


เกสร : แก้ร้อนใน
กระหายน้ำ แก้โรคตา ช่วยเจริญอาหาร


เปลือกต้น : รสฝาด
ขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ แก้ท้องเสีย


เนื้อไม้ : รสขมเฝื่อนขับ
ปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ


ราก : คุมกำเนิด


ประโยชน์ด้านอื่น ๆ :

ดอกแก่จัด คนไทยโบราณมักนำดอกแก่จัดของกระดังงาไปทอดกับน้ำมัน
มะพร้าว ใช้สำหรับบำรุงเส้นผมให้ดกดำเป็นเงางาม ดอกแก่จัด
นำไปสกัดน้ำมันหอมระเหยที่เรียก Ylang-Ylang Oli
ใช้แต่งกลิ่นเครื่องสำอางทำน้ำหอม ดอกแก่จัด นำไปเข้าเครื่องหอม เช่น
นำไปทำน้ำดอกไม้สด ทำน้ำอบ น้ำปรุง หรือนำไปทำบุหงาสด


กระดังงา สมุนไพร สีของดอกกระดังงาที่ออกมาใหม่สีเขียว
พอแก่จัดก็จะเป็นสีเหลืองอมเขียวหรือสีเหลืองอ่อน ลักษณะของดอกใหญ่ออกทีละ
3-6 ดอก กลีบดอกของมันยาวห้อยลงมีประมาณ 6 กลีบ กลีบชั้นนอก ปลายเรียวยาว
ขอบของมันเป็นหยักเป็นคลื่นรูปกลีปแคบ

กระดังงา สมุนไพร สีของดอกกระดังงาที่ออกมาใหม่สีเขียว
พอแก่จัดก็จะเป็นสีเหลืองอมเขียวหรือสีเหลืองอ่อน ลักษณะของดอกใหญ่ออกทีละ
3-6 ดอก กลีบดอกของมันยาวห้อยลงมีประมาณ 6 กลีบ กลีบชั้นนอก ปลายเรียวยาว
ขอบของมันเป็นหยักเป็นคลื่นรูปกลีปแคบ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cananga odorata (Lam.)Hppker f & Thome

ชื่อสามัญ : Perfume Tree, llang-llang,Ylang-Ylang

ชื่อวงศ์ : ANONACEAE

ชื่อสมุนไพรอื่น ๆ: กระดังงา กะดังงา กระดังงาใบใหญ่ กระดังงาใหญ่
กระดังงาไทย (ภาคกลาง)สะบันงาต้น สะบานงา สะบานงา (ภาคเหนือ) กระดังงา
กระดังงอ (ภาคใต้)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

ต้น : สมุนไพรกระดังงาเป็น พรรณไม้ยืนต้น ขนาดกลางมีความสูงประมาณ 15-20
เมตร เปลือกลำต้นของมันจะเป็นสีเทาเกลี้อง

ใบ : มีสีเขียวอ่อน ใบบางนิ่ม รูปลักษณะของมันยาว ส่วนปลายแหลม มีติ่ง
โคนของใบมน กลม และใบจะออกเรียงสลับห้อยลง

ดอก: สีของดอกกระดังงาที่ ออกมาใหม่สีเขียว
พอแก่จัดก็จะเป็นสีเหลืองอมเขียวหรือสีเหลืองอ่อน ลักษณะของดอกใหญ่ออกทีละ
3-6 ดอก กลีบดอกของมันยาวห้อยลงมีประมาณ 6 กลีบ กลีบชั้นนอก ปลายเรียวยาว
ขอบของมันเป็นหยักเป็นคลื่นรูปกลีปแคบ กลีบยาวประมาณ 4-5 นิ้ว
กลีบชั้นในจะสั้นและเล็กกว่าเล็กน้อยกลิ่นของดอกมีกลิ่นหอมฉุน
มีคำเปรียบเปรยหญิงม่ายที่ยังสาวและสวยเป็นดังเช่นกระดังงาลนไฟ
ชายใดได้อยู่ใกล้เป็นต้องมนต์เสน่ห์แห่งความหอม นั่นอาจ
เป็นเพราะเจ้ากลีบดอกสีเหลืองอ่อนที่ห้อยระย้า
ช่อดอกหยักยาวเป็นเกลียวคลื่นจะทวีความหอมแรงมากขึ้นเมื่อต้องความร้อน

ผล : ผลกระดังงาเป็น สีเขียวเข้ม เมื่อผลสุกจะเป็นสีเหลืองคล้ำ
ผิวของมันเรียบและผลออกเป็นพวง ประมาณ 4-14 ผล เป็นรูปรี

การขยายพันธุ์ : กระดังงาขยายพันธุ์โดยการ ตอนกิ่ง แล้วนำไปปลูก
ในดินที่ร่วนซุย หรือดินเหนียวที่อุ้มน้ำได้ดี

ส่วนที่ใช้ : ดอกกระดังงาที่ แก่จัด (สีเหลืองอ่อน)

สารสำคัญ :
ดอกสมุนไพรกระดังงา มีน้ำมันหอมระเหยประกอบด้วยสาระสำคัญคือ safrole ,
geraniol , linallol , pinene terpene และ ester ของกรด formic , acetic ,
valeric , benzoic และ salicylic น้ำมัน ใช้แต่งกลิ่นเครื่องสำอาง น้ำหอม
น้ำอบ ใช้แต่งกลิ่นขนมและอาหารให้มีกลิ่นหอม
กระดังงา สมุนไพร ผลกระดังงาเป็นสีเขียวเข้ม เมื่อผลสุกจะเป็นสีเหลืองคล้ำ
ผิวของมันเรียบและผลออกเป็นพวง ประมาณ 4-14 ผล เป็นรูปรี

กระดังงา สมุนไพร ผลกระดังงาเป็นสีเขียวเข้ม เมื่อผลสุกจะเป็นสีเหลืองคล้ำ
ผิวของมันเรียบและผลออกเป็นพวง ประมาณ 4-14 ผล เป็นรูปรี

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา :
พบว่าฤทธิ์ลดความดัน ต้านเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย ยีสต์ ช่วยไล่แมลง
และมีผลต่อการระคายเคืองของผิวหนัง และมีสาระสำคัญในการฆ่าเซลล์มะเร็ง

สรรพคุณของสมุนไพร :

ใบ : รักษาโรคผิวหนัง กลากเกลื้น แก้คัน ขับปัสสาวะ

ดอกแก่จัด : รสหอมสุขุม ใช้เป็นยาหอมบำรุงหัวใจ บำรุงโลหิต บำรุงธาตุ
แก้ลมวิงเวียนชูกำลังให้ชุ่มชื่น ดอกสดใช้ทำน้ำอบ ใช้ปรุง
ใช้เข้าเครื่องยาหอมบำรุงหัวใจ หรือใช้ทำน้ำเชื่อมหรือปรุงขนมหวานต่าง ๆ

เกสร : แก้ร้อนใน กระหายน้ำ แก้โรคตา ช่วยเจริญอาหาร

เปลือกต้น : รสฝาด ขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ แก้ท้องเสีย

เนื้อไม้ : รสขมเฝื่อนขับ ปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ

ราก : คุมกำเนิด

ประโยชน์ด้านอื่น ๆ :
ดอกแก่จัด คนไทยโบราณมักนำดอกแก่จัดของกระดังงาไปทอดกับน้ำมัน มะพร้าว
ใช้สำหรับบำรุงเส้นผมให้ดกดำเป็นเงางาม ดอกแก่จัด
นำไปสกัดน้ำมันหอมระเหยที่เรียก Ylang-Ylang Oli
ใช้แต่งกลิ่นเครื่องสำอางทำน้ำหอม ดอกแก่จัด นำไปเข้าเครื่องหอม เช่น
นำไปทำน้ำดอกไม้สด ทำน้ำอบ น้ำปรุง หรือนำไปทำบุหงาสด



Create Date : 03 กรกฎาคม 2553
Last Update : 3 กรกฎาคม 2553 11:24:39 น. 0 comments
Counter : 513 Pageviews.

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

WishRich
Location :
เชียงใหม่ Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed

ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]




มาเริ่มเปลี่ยนแปลงตัวเองไปพร้อม ๆ กัน เพื่อความสำเร็จในชีวิตและหน้าที่การงานครับ
Friends' blogs
[Add WishRich's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.