ขอเป็นกำลังใจให้กับทุก ๆ คน ทุกสิ่งเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และก็ดับไป ขอมีกำลังใจที่เต็มเปี่ยมและเข้มแข็ง มีสติที่ตั้งมั่น ธรรมย่อมรักษาผู้ปฏิบัติธรรม, ทุกสิ่งเป็น อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา, การนำข้อมูลไปใช้ต้องใช้หลักกาลามสูตร. Group Blog จำนวน 215 Group Blog : รวมข้อมูลทั้งหมด 525 เรื่อง (Click (คลิ๊ก) ตรงกล่องสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีฟ้า หรือเครื่องหมายสามเหลี่ยมของกล่องสี่เหลี่ยม (ทางด้านขวามือ) (มีข้อมูลอยู่ในนั้นครับ) "ขอขอบคุณเจ้าของผลงานต่างๆ และข้อมูลเหล่านี้ใช้เพื่อการศึกษา เรียนรู้ และการวิจัยเท่านั้น"
Group Blog
 
All Blogs
 

เห็ดออกฤทธิ์อย่างไรกับมะเร็ง

สมยศ กิตติมั่นคง (2554 : 25-26) กล่าวว่า

สารสกัดที่ได้จากเห็ดส่วนใหญ่ไม่ได้ไปฆ่าหรือทำลายเซลล์มะเร็งได้โดยตรง แต่มันไปกระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย และยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง

การกระตุ้นภูมิคุ้มกันด้วยสารสกัดจากเห็ดจะมีผลทั้งต่อเซลล์เม็ดเลือดขาว รวมถึงสารเคมีสื่อสัญญาณระหว่างเซลล์เพื่อตอบสนองต่อสิ่งแปลกปลอมในร่างกาย






สารสกัดที่ได้จากเห็ดก็มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามชนิดของเห็ด เช่น Lentinan จากเห็ดหอม Schizophyllan จากเห็ดแครง Grifon-D จากเห็ดไมตาเกะ เป็นต้น

ในประเทศจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี จะมีการใช้สารสกัดจากเห็ดกันมาก โดยจะใช้ควบคู่ไปกับการรักษามะเร็งตามแบบแผนตะวันตก คือการให้เคมีบำบัดและการฉายรังสี


เอกสารอ้างอิง : สมยศ กิตติมั่นคง. รักษามะเร็งด้วยเห็ด. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สำนักพิมพ์แสงดาว, 2554.




---------------------------------------------------------




Link ที่น่าสนใจ :


การรักษาศีล 5

พระคาถาโพชฌังคปริตร

พระคาถาสักกัตตะวา : คาถาปัองกันและรักษาโรคมะเร็ง

ธรรมะสำหรับคนเจ็บไข้และญาติ

ธรรมะสำหรับรับมือกับความพลัดพราก

ธรรมะสำหรับรับมือกับมะเร็ง

วัดคำประมง จ.สกลนคร (รักษาโรคมะเร็ง)

มูลนิธิเทพประทานครูดิน เพื่อประชาชน จ.สระบุรี (บำบัดรักษาโรคเอดส์, โรคมะเร็ง และโรคอื่น ๆ)

Gerson Institute (รักษาโรคมะเร็ง : แนวธรรมชาติบำบัด)

FUDA Cancer Hospital Guangzhou



---------------------------------------------------------




Link ดาวน์โหลดเอกสาร คู่มือ มะเร็งและที่เกี่ยวข้อง (Download E-Book) :


Download : เอกสาร, คู่มือ เกี่ยวกับมะเร็ง (PDF)

Download : เอกสาร, คู่มือ เกี่ยวกับรังสีรักษา (PDF)

Download : สิ่งสำคัญที่ต้องระวังในระหว่างการฉายรังสีรักษา (ศูนย์มะเร็ง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์) (PDF)

ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือเกี่ยวกับเคมีบำบัด (PDF)



---------------------------------------------------------




 

Create Date : 20 กุมภาพันธ์ 2555    
Last Update : 20 กุมภาพันธ์ 2555 23:26:52 น.
Counter : 2075 Pageviews.  

"เห็ดหอม" เห็ดมหัศจรรย์ต้านมะเร็ง

(ดร.นารี วิลสมิท; หน้า 45-46) ได้กล่าวไว้ว่า
ใน ค.ศ.1970 มีงานวิจัยหลายชิ้นในญี่ปุ่นนั้นพบว่า เห็ดหอมมีกรดอะมีโนที่ชื่อ อิริตาดีนีน (eritadenine) ช่วยให้ไตย่อยคอเลสเตอรอลได้ดียิ่งขึ้น ทำให้ระดับคอเลสเตอรอลในเลือดลดลงได้อย่างน่าอัศจรรย์ และมีสารเลนติเนน (lentinan) ที่ช่วยกระตุ้นการทำงานของเซลล์ระบบภูมิคุ้มกัน ให้มีประสิทธิภาพในการต่อสู้ยับยั้ง หรือป้องกันการเติบโตของเซลล์เนื้องอกต่าง ๆ ได้ดีอีกด้วย

สอดคล้องกับสถาบันทางโภชนาการของญี่ปุ่นได้ทำการทดลองในเรื่องนี้ และพบว่าหญิงสาวที่ทานเห็ดหอมสด 90 กรัม ทุกวันเป็นเวลา 1 อาทิตย์ จะทำให้คอเลสเตอรอลในเลือดลดลง 12% ถ้ารับประทานเป็นเห็ดหอมแห้ง 9 กรัมต่อวัน คอเลสเตอรอลลดลง 7% เมื่อทดลองกับคนอายุ 60 ปี พบว่าคอเลสเตอรอลลดลง 9% หลังจากทานเห็ดหอม 1 อาทิตย์

ขณะที่นักวิจัยสมัยใหม่ซึ่งได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับเห็ดหอม ก็พบว่าเห็ดหอมช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ต้านโรคมะเร็ง และโรคร้ายต่าง ๆ จากเชื้อไวรัส และจากการวิเคราะห์ของนักโภชตรการยังพบด้วยว่า เห็ดหอมมีสารเออร์โกสเตอรอล (ergosterol) อยู่มาก โดยเมื่อร่างกายได้รับแสงอัลตราไวโอเลต หรือรังสียูวีจากดวงอาทิตย์ กลไกรังสียูวีจะไปเปลี่ยนสารเออร์โกสเตอรอลในผิวหนังให้เป็นวิตามินดี ซึ่งจะช่วยให้กระดูกและกล้ามเนื้อแข็งแรง ป้องกันโรคกระดูกผุ โรคโลหิตจางได้



ส่วนที่สถาบันมะเร็งแห่งชาติของญี่ปุ่นก็ได้ทำการวิจัยสารที่สกัดจากเห็ดหอม พบว่ามีสารที่สามารถต่อต้านเนื้องอกและมะเร็ง คือ สารเลนติเนนที่มีเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง 80.7% และยังพิสูจน์ว่าสารเลนติเนนเป็นตัวที่สามารถกระตุ้นให้ร่างกายเกิดภูมิต้านทานได้ดี

จากนั้นได้มีการทดลองนำเห็ดหอมมาสกัด พบว่าในเห็ดหอมให้น้ำตาลโมเลกุลขนาดใหญ่ (mega-sugar) ที่เรียกว่า เบตากูลแคนส์ (beta-glucans) ได้ถึง 2 ชนิด อันได้แก่ เลนติเนน และ LEM (Lentinulaedodes mycelium) ซึ่งช่วยทำหน้าที่กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันต่อสู้กับการติดเชื้อ และชะลอการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง ซึ่งในการทดลองให้สารเลนติเนนกับผู้ป่วยมะเร็งร่วมกับทำเคมีบำบัด ก็พบว่าก้อนมะเร็งนั้นมีขนาดเล็กลง และอาการข้างเคียงจากการทำเคมีบำบัดก็เกิดขึ้นน้อยลงด้วย

ล่าสุดทีมวิจัยในญี่ปุ่นกำลังมองหาความเป็นไปได้ในการใช้ LEM ที่ได้จากเห็ดหอมมาบำบัดผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวี (HIV) และยังพบอีกว่าสารสกัดจากเห็ดหอมอีกตัวหนึ่ง ชื่อ อิริตาดีนีน (eritadenine) เป็นตัวช่วยลดปริมาณไขมันในเลือด และระดับคอเลสเตอรอลให้กับร่างกาย

อย่างไรก็ตามยังมีข้อห้ามเล็กน้อยในเรื่องการรับประทานเห็ดหอม คือ สตรีหลังคลอด ผู้ป่วยหลังฟื้นไข้ และคนที่เพิ่งหายจากการออกหัด ห้ามรับประทาน และจากผลการวิจัยทั้งหลายนั้นยังบอกด้วยว่า เห็ดหอมตากแห้งจะให้คุณค่าทางอาหารมากกว่าเห็ดหอมสด

เอกสารอ้างอิง : นารี วิลสมิท, ดร., เห็ดต้านมะเร็ง. กรุงเทพมหารนคร, สำนักพิมพ์แบงค์คอกบุ๊คส์




 

Create Date : 30 ธันวาคม 2552    
Last Update : 1 มกราคม 2553 18:52:21 น.
Counter : 980 Pageviews.  

สารสกัดเห็ดยืดอายุผู้ป่วยมะเร็ง เพิ่มภูมิคุ้มกันร่างกาย ไม่มีผลข้างเคียง

แพทย์สถาบันมะเร็งแห่งชาติทดสอบสารสกัดในเห็ด ช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายมีชีวิตอยู่กับครอบครัวได้นานขึ้น โดยสารสกัดกระตุ้นให้ร่างกายเกิดภูมิต้านทาน ไร้ผลข้างเคียง ต่างจากยาฉีดที่ใช้รักษามะเร็งทั่วไป

น.พ.สุพล มโนรมณ์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเคมีบำบัด สถาบันมะเร็งแห่งชาติ เปิดเผยว่า ทางสถาบันมะเร็งแห่งชาติได้ศึกษาวิจัยผู้ป่วยมะเร็งตับในคนไทย ด้วยการนำสารสกัดโปรตีโอไกลแคน (Proteoglycan) มาศึกษาคุณสมบัติในการสร้างภูมิต้านทานของร่างกาย ด้วยการรับประทาน โดยมีอาสาสมัครคนไทยที่เป็นมะเร็งตับระยะสุดท้ายเข้าร่วม 44 ราย

ผู้ป่วยดังกล่าวเป็นกลุ่มที่ไม่สามารถทำการผ่าตัด หรือรักษาด้วยเคมีบำบัด ใช้เวลาศึกษา และติดตามผลเป็นเวลา 3 ปี โดยแบ่งกลุ่มผู้ป่วยออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่รับประทานสารสกัดโปรตีโอไกลแคน จำนวน 34 คน และกลุ่มที่รักษาปกติ หรือประคับประคอง จำนวน 10 คน ในกลุ่มผู้ที่ได้รับประทานจะได้รับสารสกัดโปรตีโอไกลแคน วันละ 6 กรัม

ผลการวิจัย สรุปว่า กลุ่มผู้ป่วยที่รักษาแบบประคับประคองเสียชีวิตทั้งหมด ในเวลาเฉลี่ย 3.5 เดือน และกลุ่มที่รับประทานสารสกัดโปรตีโอไกลแคน ยังมีชีวิตอยู่สูงถึง 73% ทำให้การมีชีวิตอยู่ได้นานกว่า และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผลการตรวจพบว่า ระดับสารอินเตอร์ลิวคีน 12 (IL 12) และสารอินเตอร์เฟอรอนแกมมา (IFN-y) เพิ่มขึ้น ซึ่งบ่งชี้ว่า ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมีประสิทธิภาพสูงขึ้นโปรตีโอไกลแคน จึงสามารถใช้เป็นตัวกระตุ้นภูมิต้านทานด้วยการรับประทานได้

น.พ.สุพล กล่าวอีกว่า การรักษามะเร็งในทางการแพทย์ปัจจุบันมีการพัฒนายาใหม่มาตลอดเวลา มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ผลข้างเคียงของยาช่วยให้โอกาสของผู้ป่วยมะเร็งอยู่รอดมีมากขึ้น ดังนั้น การพัฒนาคิดค้นวิจัยการป้องกัน การรักษาเพื่อผู้ป่วยมะเร็ง ยังจำเป็นที่ต้องร่วมมือกันกับหน่วยงานต่างๆ เนื่องจากแนวโน้มประชาชนป่วยเป็นโรคมะเร็งในทั่วโลกยังเพิ่มสูงเป็นลำดับ

จากสถิติเมื่อปี 2543 มีผู้ป่วยมะเร็งจำนวน 22.4 ล้านคน เป็นผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ 10.1 คน และเสียชีวิตปีละ 6.2 ล้านคน อีกทั้งในสถิติดังกล่าว 60% ของผู้ป่วยเป็นประชาชนอยู่ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา องค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่า มีผู้ป่วยมะเร็งถึงจำนวน 30 ล้านคน ในจำนวนนี้มีผู้ป่วยเป็นมะเร็งรายใหม่ 15.7 ล้านคน และจะมีผู้ป่วยมะเร็งเสียชีวิตปีละ 10 ล้านคนทั่วโลก

ที่มา: หนังสือพิมพ์คมชัดลึก ฉบับวันเสาร์ที่ 1 กรกฎาคม 2549 (คอลัมน์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี)




 

Create Date : 08 มกราคม 2551    
Last Update : 8 มกราคม 2551 10:19:11 น.
Counter : 2635 Pageviews.  

ตำนานของเห็ดและรารักษามะเร็ง

เห็ดและรา เป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มเดียวกัน มีวิวัฒนาการมานานกว่าพันล้านปี คุณสมบัติพิเศษของเห็ดก็คือ มีโครงสร้างและสารประกอบภายใน ที่สามารถปรับตัวและปกป้องตนเองได้ ในทุกสภาวะแวดล้อม ทำให้เห็ดเป็นสิ่งมีชีวิตที่คงทน สามารถเติบโตได้แม้ในที่กันดาร และไม่มีแสงแดด

การแพทย์ยุคดั้งเดิมที่เก่าแก่ที่สุด คือการแพทย์สมุนไพร หรือเฮอร์บอลิซึม ได้พบภาพเขียนผนังถ้ำ แสดงการใช้พืชสมุนไพรรักษาโรคที่ถ้ำลาสโคซ์ (Lascaux Cave) ประเทศฝรั่งเศส มีอายุอยู่ในช่วง 15,000 ถึง 27,000 ปีมาแล้ว



ต่อมาราว 5,000 ปีที่แล้ว ก็พบบันทึกการแพทย์อียิปต์ ตามมาด้วยการแพทย์อินเดีย เปอร์เซีย จีน เฮบรู การแพทย์ยุโรปสมัยแรก การแพทย์อิสลามิก และการแพทย์ยุโรปสมัยเรอเนสซอง

แต่ละยุคสมัย ล้วนมีการใช้เห็ดรา ที่มีอยู่มากกว่า 100,000 ชนิด เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เริ่มจากใช้เป็นยาบำรุงร่างกาย ต่อมาใช้เป็นยารักษาโรคต่างๆ และที่สุดก็ยกระดับสูงขึ้นกลายเป็นยารักษาผู้ป่วยมะเร็ง ที่ทรงประสิทธิภาพ

ในระยะแรกก็ใช้ในรูปของยาต้ม ยาดองเหล้า หรือยาบทเป็นผง ต่อมาก็สกัดให้ได้ตัวยาที่เข้มข้น แล้วบรรจุเป็นแคปซูล หรือยาเม็ด

เห็ดชิตาเกะ


เห็ดหลินจือ


เห็ดราที่นำมาใช้กับผู้ป่วยมะเร็งนั้น มีอยู่หลายชนิด ได้แก่ ชากา (Chaga), อะการิกัส (Agarigus), แอสตาการัส (Astagarus), คอร์ดิเซปส์ (Cordiceps), เห็ดชิตากะ (Shitake), และเห็ดหลินจือ (Ling Zhi)

เอกสารอ้างอิง : นายแพทย์สุรพล รักปทุม. สู้มะเร็งด้วยหลินจือ : กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ภาพพิมพ์, 2550.




 

Create Date : 14 ตุลาคม 2550    
Last Update : 16 ตุลาคม 2550 14:22:16 น.
Counter : 2519 Pageviews.  

วิธีใช้เห็ดหลินจือและขนาดรับประทาน



หมายเหตุ
1) หลินจือชนิดแคปซูล บรรจุผงสกัดที่มีรสขมมาก ให้รับประทานหลังอาหาร สามารถใช้ได้สูงสุดวันละ 80 แคปซูล
2) หลินจือชนิดผงสปอร์ มีสีน้ำตาล รสจืดมีกลิ่นหอมเฉพาะตัวให้ชงกับน้ำอุ่น รับประทานก่อนอาหารมือใดมื้อหนึ่ง ถ้าไม่รู้สึกสบายท้องให้รับประทานพร้อมอาหาร หรือเปลี่ยนเป็นทานหลังอาหาร อาจผสมน้ำผึ้ง น้ำตาล น้ำผลไม้ เครื่องดื่ม หรือผสมอาหารปั่น ไข่ต๋น น้ำแกง หรืออาหารคาวหวานต่างๆ และควรให้ยาตามเวลาที่แน่นอนเป็นประจำ สามารถใช้สูงสุด วันละ 9 กรัม
3) ควรรับประทานร่วมกับวิตามินซี วันละ 4-20 กรัม จะช่วยบำรุงร่างกาย ช่วยต่อต้านมะเร็ง และทำให้เห็ดหลินจือออกฤทธิ์ดีขึ้น ถ้าใช้ยาบำรุงเลือด ที่มีธาตุเหล็กอยู่ด้วย ให้รับประทานวิตามินซีห่างจากธาตุเหล็กอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อไม่ให้รบกวนการดูดซึมของยาซึ่งกันและกัน
4) ไม่ควรใช้เห็ดหลินจือในการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง เพียงอย่างเดียว โดยละทิ้งการรักษาแผนปัจจุบัน นอกจากมะเร็งระยะสุดท้าย ที่ไม่มีการรักษาอย่างอื่น
5) การใช้เห็ดหลินจือในระยะแรก อาจมีอาการท้องร่วง หรือมีอาการคันที่ผิวหนังเล็กน้อย ให้รับประทานต่อไป อาการมักดีขึ้นเอง ภายใน 1-2 สัปดาห์ ถ้าอาการมากขึ้น อาจหยุดยาจนอาการหายไป แล้วเริ่มต้นใหม่ ในขนาดต่ำสุด ถ้าไม่มีอาการผิดปกติ ให้เพิ่มขนาดยาทีละน้อยทุก 3 วัน กรณีที่มีอาการคัน อาจใช้ยาแก้แพ้ร่วมด้วยก็ได้ หากสงสัยให้ปรึกษาแพทย์
6) ขนาดและวิธีใช้ อาจเปลี่ยนแปลงตามคำแนะนำของแพทย์

เอกสารอ้างอิง : นายแพทย์สุรพล รักปทุม. สู้มะเร็งด้วยหลินจือ : กรุงเทพมหานคร : บริษัทเคล็ดไทย (จำกัด), 2550




 

Create Date : 01 ตุลาคม 2550    
Last Update : 11 พฤศจิกายน 2550 0:29:43 น.
Counter : 1689 Pageviews.  

1  2  

muansuk
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 84 คน [?]




blog counter
blog counterDiseño Web
Share on Facebook



 Follow Me on Twitter
 คลิ๊ก


 ลงนามสมุดเยี่ยม muansuk blog ครับ คลิ๊ก




“ทาน ศีล ภาวนา ธรรมทั้ง 3 นี้
เป็นรากแก้วของความเป็นมนุษย์
และเป็นรากเหง้าของพระศาสนา”

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต




“ถ้าเรารู้เรื่องธรรมดาของโลก และรู้จักความเป็นจริงของธรรมแล้ว
เราก็จะไม่ต้องมีความยุ่งยากในการเป็นอยู่
เรื่องภายนอกนั้น ถึงเราจะศึกษาให้มีความรู้สักเท่าไรๆ
ก็ไม่ทำให้เราพ้นจากทุกข์ได้
สู้การเรียนรู้จิตใจของตนอยู่ภายในวงแคบๆ นี้ไม่ได้”

ท่านพ่อลี ธมฺมธโร




“… อย่าไปอยากรู้เรื่องของคนอื่นมันเป็นทุกข์
ให้สนใจเรื่องของตัวเอง
คือเรื่องของกายกับใจ
ดูให้มันชัด …”

หลวงปู่เพียร วิริโย




“… สิ่งใดมันล่วงไปแล้ว สิ่งนั้นมันก็ล่วงไปแล้ว หมดไปแล้ว
ไม่ควรเอามาคิด มาติดอยู่ในใจ ละทิ้งให้หมด
ส่วนว่าอารมณ์อันเป็นอนาคตกาล
ดีร้ายประการใด ทั้งทางโลก และทางธรรม
สิ่งนั้นก็ยังอยู่ข้างหน้า คือยังไม่มาถึง
เวลาปัจจุบัน คือ เป็นเวลาเรานั่งภาวนา ฟังธรรม
สงบกาย สงบวาจา สงบจิต สงบใจ อยู่นี้แหละ
เป็นธรรมะปัจจุบัน ให้ระลึกภาวนาทุกลมหายใจเข้าออก...”

หลวงปู่สิม พุทธาจาโร




“... ให้รักษาศีล
ให้รู้จักพิจารณา เกิด แก่ เจ็บ ตาย
รู้จักแก้ไขจิตของตน ... ”

หลวงปู่จาม มหาปุณฺโญ





หลวงพ่อชา สุภทฺโท : ปล่อยวาง 1





พระอาจารย์สิงห์ทอง ธมฺมวโร : ธรรมสู่ใจ





หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ : ไม่ยอมละ





ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download): หนังสือมุตโตทัย-อาจาโรวาท โดย หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต และ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร (PDF) (9.25 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ฝากไว้ บันทึกคติธรรมและธรรมเทศนาของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล (โดย พระโพธินันทมุนี) (PDF) (625 KB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมธาตุ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (13.38) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือชาติสุดท้าย (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (6.97) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพ่อแม่ครูอาจารย์ ชีวประวัติ คติธรรม และปฏิปทา พระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว  ญาณสัมปันโน (PDF) (12.82 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือปฏิปทาของพระธุดงคกรรมฐาน สายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต (ท่านอาจารย์พระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (14.68 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือไม่มาเกิดมาตายเรียกว่าชาติสุดท้าย (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (4.72 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงตา พระผู้สืบสานอริยวงศ์  รวบรวมโดยคณะศิษยานุศิษย์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (50.51 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือกายคตาสติ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (10.8 MB) คลิ๊ก
 ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมปกครองใจ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน และหลวงปู่จันทร์ศรี  จันททีโป (PDF) (11.47 MB) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือปัญญาอบรมสมาธิ โดยท่านอาจารย์พระมหาบัว  ญาณสัมปันโน (PDF) (1.29 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงตานิพพาน (พิธีพระราชทานเพลิงถวายสรีระสังขารหลวงตามหาบัวญาณสมฺปนฺโน) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมะทะลุโลก โดยท่านพ่อลี ธมฺมธโร (PDF) (3.18 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือท่านพ่อลี ธมฺมธโร พระอริยเจ้าผู้มีพลังแก่กล้า (PDF) (30.21 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่เล่าเรื่อง (หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรม...ย้ำเตือน  โดยหลวงปู่เพียร  วิริโย (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมพระเพียร  วิริโย เป็นเพชรน้ำหนึ่งเพราะความพากเพียร (หลวงตาพระมหาบัว  ญาณสัมปันโน) (PDF) (8.68 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมพเนจร (หลวงปู่จันทา  ถาวโร) (PDF) (30.39 MB) คลิ๊ก Download หนังสือหลวงปู่เจี๊ยะ  จุนฺโท  พระผู้เป็นดั่งผ้าขี้ริ้วห่อทอง (PDF) (13.58 MB) คลิ๊ก
Download หนังสือพระธรรมเทศนา หลวงพ่อชา สุภัทโท (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือสุภัททานุสรณ์ ชุด..จาริกสู่ประเทศอังกฤษ (PDF) (21.06 MB) คลิ๊ก Download หนังสือธรรมะหลวงปู่หล้า เขมปัตโต (PDF) (8.5MB) คลิ๊ก Download หนังสือสันติธมฺโมบูชา โดยหลวงปู่ฟัก สันติธมฺโม (PDF) (37.97 MB) คลิ๊ก Download หนังสือหนีนรก โดยหลวงพ่อฤๅษีลิงดำ (PDF) คลิ๊ก
Download หนังสือสังโยชน์ 10 โดยหลวงพ่อฤๅษีลิงดำ (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือวัดป่าบ้านตาด (PDF) (10.72 MB) ( คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือเศรษฐีธรรม (หลวงปู่ลี กุสลธโร) (PDF) (6.83 MB) ( คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือชีวิตนี้น้อยนัก โดยสมเด็จพระญาณสังวร (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือทำอย่างไรจะหายโกรธ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือภูมิธรรมชาวพุทธ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระหลวงตา (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (7.98 MB)  คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือจิตตวิชา หลักความรู้แจ้งทางจิตต์ (พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร) (PDF) (3.97 MB) คลิ๊ก Download หนังสือเปิดใจรับความสุข โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก Download E-Book ว.วชิรเมธี คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ โครงการบูรพาจารย์ (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ประวัติ ข้อวัตร และปฏิปทา (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 1) (PDF) (12.5 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):   หนังสือหลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม พระอรหันต์ผู้มีฤทธิ์ในยุคปัจจุบัน (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 2)  (PDF) (15.77 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือหลวงปู่แหวน สุจิณโณ (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 3) (PDF) (19.12 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ขาว อนาลโย (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 4) (PDF) (12.53 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระครูวิเวกพุทธกิจ หลวงปู่ใหญ่เสาร์ กนฺตสีโล พระปรมาจารย์ใหญ่ฝ่ายพระกรรมฐาน (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 5) (PDF) (12.13 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระกรรมฐานสู่ล้านนา (ตอน 1) (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 6) (PDF) (24.41 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระกรรมฐานสู่ล้านนา (ตอน 2) (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 7) (PDF) (43.49 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่หลุย จนฺทสาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 8) (PDF) (70.26 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ชอบ ฐานสโม (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 9) (PDF) (10.17 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 10) (PDF) (10.17 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ฝั้น อาจาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 11).pdf (PDF) (14.3 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 12).pdf (PDF) (13.41 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือวิธีปฏิบัติสมาธิ วิปัสสนากัมมัฏฐาน (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download): หนังสือวิธีทำสมาธิแบบหลวงปู่มั่น โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (1.05 MB)คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): แนวทางปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน 2 (พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร)  (PDF) (5.75 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): เรื่องของลม (ท่านพ่อลี ธมฺมธโร) (PDF) (271.99 KB) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือวิธีเดินจงกรมภาวนา-นั่งสมาธิภาวนา โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (9.18 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ สำหรับผู้ป่วย, ญาติ และผู้รักษา (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือธรรมะสำหรับผู้ป่วย โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือกายหายไข้ ใจหายทุกข์ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก
Download หนังสือรักษาใจยามป่วยไข้ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือนึกถึงความตายสบายนัก โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือพระไตรปิฎก :

Download หนังสืออริยวินัย (PDF) (9.27 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะทั่วไป (Download E-Book) :

Download หนังสืออริยวินัย (PDF) (9.27 MB) คลิ๊ก








Google

 ศีลและกรรมบถ คลิ๊ก
 พระธรรมเทศนาของหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จังหวัดอุดรธานี คลิ๊ก  ธรรมบรรยาย และธรรมนิพนธ์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) วัดญาณเวศกวัน คลิ๊ก
 รวบรวมงานเขียนและบทความของพระไพศาล วิสาโล คลิ๊ก  วัดสังฆทาน จ.นนทบุรี (หลวงพ่อสนอง กตปุญโญ) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก



 กำลังใจสู้มะเร็ง คลิ๊ก  การดูแลสภาพจิตใจผู้ป่วยมะเร็ง คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): วารสาร นิตยสาร และสถิติ ที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง:

ดาวน์โหลด (Download) : วารสารมะเร็งวิวัฒน์ ปีที่ 18, ฉบับที่ 1 ปี 2555 (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : วารสารมะเร็งวิวัฒน์ ปีที่ 17, ฉบับที่ 1 ปี 2554 (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ Cancer in Thailand Volume.5, 2001-2003 (PDF) คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): เอกสาร, คู่มือมะเร็ง และที่เกี่ยวข้อง:

ดาวน์โหลด (Download) :  หนังสือ, เอกสาร และคู่มือ เกี่ยวกับมะเร็ง ที่น่าสนใจ (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือเกี่ยวกับเคมีบำบัด (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือเกี่ยวกับรังสีรักษา, การดูแลตนเองของผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา และอื่น ๆ (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือควบคุมอาการปวดสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งและครอบครัว, อาการปวดจากโรคมะเร็ง (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสาร และคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง, การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายที่บ้าน (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งปอด (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งเต้านม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งเต้าตับ (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) :  แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (โรงพยาบาลสงฆ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  สมาธิบำบัดกับการรักษาโรคมะเร็ง (วัดคำประมง  จังหวัดสกลนคร) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download):  แนวทางการปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินด้วยอากาศยาน (PDF) คลิ๊ก




ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสารแนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัยโรคมะเร็งปอด (2547) (กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสารแนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งปอด (2549) (ศ.พญ.สุมิตรา  ทองประเสริฐ และคณะ) (PDF) คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับมะเร็ง

ลิงค์ (Link): การตรวจวินิจฉัยวิธีใหม่ด้วย PET-CT สแกน โดย รศ.นพ.สุภัทรพร เทพมงคล คลิ๊ก ลิงค์ (Link): Bone Scan: การตรวจสแกนกระดูก (พญ.ศิริอนงค์ นามวงศ์พรหม; คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) (PDF)  คลิ๊ก ลิงค์ (Link) : การผ่าตัดมะเร็งทำให้โรคแพร่กระจายจริงหรือ (รศ.นพ.อดุลย์ รัตนวิจิตราศิลป์ : ภาควิชาศัลยศาสตร์  สาขาวิชาศัลยศาสตร์ศีรษะ คอ และเต้านม คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): ผลข้างเคียงจากยาเคมีบำบัด (สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) คลิ๊ก ลิงค์ (Link): ความรู้เกี่ยวกับรังสีรักษา การฉายรังสีและเครื่องมือทางรังสีรักษา (สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): สูตรอาหารต้านมะเร็ง (เอื้อเฟื้อโดย น.พ.สำราญ อาบสุวรรณ; ผู้หายจากมะเร็งปอดระยะสุดท้าย) : ข้อมูลจาก วัดคำประมง จังหวัดสกลนคร  คลิ๊ก


 ลิงค์ (Link): การตรวจ MRI คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): การแพทย์ทางเลือก, การแพทย์แผนไทย และธรรมชาติบำบัด

ลิงค์ (Link): วัดคำประมง จังหวัดสกลนคร (หลวงตาปพนพัชร์  จิรธัมโม) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก  ลิงค์ (Link): การแพทย์ทางเลือก บีเมสส คลินิก จังหวัดนครราชสีมา (นพ.สำราญ  อาบสุวรรณ : ผู้หายจากมะเร็งปอดระยะสุดท้าย) คลิ๊ก  ลิงค์ (Link): วิถีไทยคลินิกการแพทย์แผนไทย กรุงเทพมหานคร (อาจารย์เภสัชกร มงคลศิลป์  บุญเย็น) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): Gerson Institute
 (รักษาตามแนวธรรมชาติบำบัด) คลิ๊ก





Link: ลิงค์ หน่วยงาน, สถาบัน, องค์กร และที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง

ลิงค์ (Link) :  สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข คลิ๊ก ลิงค์ (Link) :  สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คลิ๊ก
ลิงค์ (Link) : สถานวิทยามะเร็งศิริราช คลิ๊ก ลิงค์ (Link) : โครงการโรคมะเร็ง คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี คลิ๊ก
ลิงค์ (Link) :  วัดคำประมง จ.สกลนคร (หลวงตาปพนพัชร์  จิรธัมโม) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก



 http://www.cancer.gov: National Cancer Institute คลิ๊ก  http://www.eortc.be: European Organisation for Research and Treatment of Cancer คลิ๊ก  http://www.oncolink.org: OncoLink (University of Pennsylvania) มีข้อมูลข่าวสารมากมาย และได้ผ่านการคัดเลือกและตรวจสอบโดย editorial board ของ OncoLink แล้ว, มีข่าวใหม่ประจำสัปดาห์เกี่ยวกับโรคมะเร็ง, บทคัดย่อใหม่ของการวิจัยโรคมะเร็งที่ตีพิมพ์, การประชุมทางวิชาการต่าง ๆ ฯลฯ  คลิ๊ก
 http://www.iarc.fr/: The International Agency for Research on Cancer (IARC) คลิ๊ก  http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed: Pubmed เป็นเครื่องมือค้นหาฐานข้อมูล เรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล MEDLINE ซึ่งประกอบด้วยแหล่งอ้างอิง, บทคัดย่อ และบทความตัวเต็มทางวิทยาศาสตร์และชีวเวชศาสตร์ คลิ๊ก






Link: ลิงค์ หน่วยงาน, สถาบัน, องค์กรด้านการสาธารณสุข และที่เกี่ยวข้อง

 กระทรวงสาธารณสุข คลิ๊ก





 องค์การเภสัชกรรม คลิ๊ก
 กรมสุขภาพจิต คลิ๊ก

 สภากาชาดไทย คลิ๊ก



แพทยสภา คลิ๊ก ทันตแพทยสภา คลิ๊ก  สภาเทคนิคการแพทย์ คลิ๊ก  สภากายภาพบำบัด คลิ๊ก  สภาเภสัชกรรม คลิ๊ก  สภาการพยาบาล คลิ๊ก



 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) คลิ๊ก  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) คลิ๊ก



 สำนักงานประกันสังคม คลิ๊ก






ดาวน์โหลด (Download): กฎหมาย, ประกาศ, ระเบียบ, ข้อบังคับ, คำสั่ง

ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2550 คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2553 คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 คลิ๊ก

ดาวน์โหลด (Download) : ข้อบังคับแพทยสภา คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : ข้อบังคับ, ประกาศ และระเบียบ ทันตแพทยสภา คลิ๊ก



ลิงค์ (Link) : ค้นหาราชกิจจานุเบกษา : ค้นหาพระบรมราชโองการ, พระราชบัญญัติ, พระราชกำหนด, พระราชกฤษฎีกา, กฎกระทรวง, ประกาศ, ระเบียบ, ข้อบังคับ และคำสั่ง คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): เอกสารข้อมูลทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สำคัญ

ดาวน์โหลด (Download) : สิทธิผู้ป่วย คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : สิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : ใบรับรองแพทย์ คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): การเดินทาง, แผนที่, ตารางเวลา และการส่งกลับทางอากาศ :

 การบินไทย (Thai Airways) คลิ๊ก นกแอร์ (Nok Air) คลิ๊ก  แอร์เอเชีย (Air Aisa) คลิ๊ก  บางกอกแอร์เวย์ (Bangkok Airways) คลิ๊ก  รถไฟฟ้า BTS คลิ๊ก  รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) : (รถไฟฟ้าใต้ดิน)
คลิ๊ก การรถไฟแห่งประเทศไทย : จำหน่ายตั๋วล่วงหน้า, ตารางเวลาเดินรถและราคาค่าโดยสาร, ระบบติดตามขบวนรถ  คลิ๊ก  เรียกแท็กซี่ (Taxi) คลิ๊ก


 ตรวจสอบ, คำนวณ ระยะทาง และพิมพ์แผนที่ คลิ๊ก  ตรวจสอบ, หาพิกัดดาวเทียม
 GPS คลิ๊ก  ตรวจสอบสภาพการจราจร   Near Real Time คลิ๊ก
 ตรวจสอบสถานการณ์น้ำกับ กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คลิ๊ก  ตรวจสอบเส้นทางน้ำท่วมทางหลวง โดยกรมทางหลวง คลิ๊ก  ตรวจสอบเวลาการเดินรถไฟ คลิ๊ก
 ค้นหารถประจำทาง คลิ๊ก  เส้นทางการเดินรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT คลิ๊ก  เส้นทางการเดินรถไฟฟ้า BTS คลิ๊ก
 ท่าขึ้นรถตู้ กรุงเทพ ฯ (และที่ใกล้เคียง) – ต่างจังหวัด คลิ๊ก  ค้นหาสายรถตู้ คลิ๊ก  เรือด่วนเจ้าพระยา คลิ๊ก






ลิงค์ (Link): หมายเลขโทรศัพท์, การติดต่อสื่อสาร และการขนส่ง

 YellowPages (เยลโล่เพจเจส) : ค้นหาหมายเลขโทรศัพท์ และอื่น ๆ คลิ๊ก

 หอพัก สกสค. (หอพักคุรุสภา) คลิ๊ก



 บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
 คลิ๊ก  บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) คลิ๊ก  AIS คลิ๊ก  DTAC คลิ๊ก  Truemove คลิ๊ก  ไปรษณีย์ไทย : บริการด้วยใจ เชื่อมไทย เชื่อมโลก คลิ๊ก







ลิงค์ (Link): ค้นหาแผนที่


 Google Map: กูเกิ้ล แม็ฟส์ คลิ๊ก  Maps.com: แม็ฟส์ ดอท คอม คลิ๊ก



 ค้นหาค้นหาแผนที่โรงพยาบาล คลิ๊ก  ค้นหาค้นหาแผนที่โรงพยาบาล คลิ๊ก
 ค้นหาสถานีบริการ LPG คลิ๊ก  ค้นหาสถานีบริการ NGV คลิ๊ก







Facebook: เฟสบุ๊ค – เข้าระบบ, ลงทะเบียน หรือเรียนรู้เพิ่มเติม คลิ๊ก Twitter: ทวิตเตอร์ – ลงชื่อเข้าใช้งาน คลิ๊ก YouTube: ยูทูป  – เข้าใช้งาน คลิ๊ก Wikipedia: วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี คลิ๊ก ดาว์นโหลด (Download) :  Adobe Reader คลิ๊ก  Google Map: กูเกิ้ล แม็ฟส์ คลิ๊ก ดาว์นโหลด (Download) Adobe Flash Player คลิ๊ก





สมาทานศีล 5



หลวงพ่อชา สมาทานศีล 5



พุทธมนต์, พุทธคุณ ๑๐๘ นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเช้า นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเย็น นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเย็น นำสวดโดย หลวงพ่ออุทัย สิริธโร



พาหุงมหากา นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



บทสวดพระคาถาชินบัญชร



บทสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก



บทสวดโพชฌังคปริตร



พระคาถาสักกัตวา



หลวงพ่อชา สอนการทำสมาธิ



หลวงพ่อจรัญสอนกรรมฐาน ตอนที่ 3/9



หลวงพ่อจรัญสอนกรรมฐาน ตอนที่ 4/9



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 1



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 2



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 3



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 4



หลวงพ่อพุธ ฐานิโย สอนกรรมฐาน









ลิงค์ (Link): ข่าวสาร, ข้อมูล, บทความเกี่ยวกับน้ำท่วม



 แจ้งขอความช่วยเหลือ (Thaiflood.com) คลิ๊ก




Thaiflood

 18 วิธีรับมือน้ำท่วม คลิ๊ก  การเตรียมการก่อนน้ำท่วม คลิ๊ก  การรับมือระหว่างน้ำท่วม คลิ๊ก
 การเตรียมการอพยพ คลิ๊ก  ข้อมูลดาวเทียมแสดงอุทกภัยประเทศไทย (ข้อมูลจาก GISTDA) คลิ๊ก  ภาพแสดงระดับความสูงต่ำของพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เพื่อการวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของมวลน้ำ คลิ๊ก
 วิกฤตการณ์น้ำท่วมประเทศไทย 2554 (Crisis Map) คลิ๊ก  ตรวจสอบแผนที่น้ำท่วมกับ esri Thailand คลิ๊ก  สถานการณ์น้ำในเขื่อน คลิ๊ก
 ตรวจสอบเส้นทางน้ำท่วมทางหลวง โดยกรมทางหลวง คลิ๊ก  แผนที่เส้นทางหนีน้ำท่วมจาก กทม.ไป ภาคเหนือ, อีสาน คลิ๊ก  รวมข้อมูล ที่จอดรถหนีน้ำท่วม สำหรับผู้ประสบอุทกภัย คลิ๊ก
 เทคนิควาง “กระสอบทราย” สู้น้ำท่วม คลิ๊ก
 การป้องกันน้ำเข้าบ้าน และวิธีอุดปิดช่องทางน้ำเข้าบ้าน คลิ๊ก  เมื่อต้องขับรถลุยน้ำ น้ำท่วม!!! และเมื่อรถตกน้ำควรปฏิบัติอย่างไร คลิ๊ก  การทำเรืออย่างง่าย ๆ คลิ๊ก
 “ตะคริว” กับการเรียนรู้สู้ภัยน้ำท่วม คลิ๊ก  การปฏิบัติการช่วยฟื้นชีวิตขั้นพื้นฐาน (Basic Cardio Life Support : BCLS) (กรมแพทย์ทหารเรือ) คลิ๊ก  จะช่วยคนจมน้ำได้อย่างไร (ศ.พญ.วันดี วราวิทย์) คลิ๊ก


ดาวน์โหลด (Download): เอกสาร คู่มือเกี่ยวกับน้ำท่วม

ดาวน์โหลด (Download): Flood Fighting Methods (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): British Columbia Flood Plan (BC Flood Plan) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): Fact Sheet Floods (FEMA) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วม (จัดทำโดย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): คู่มือรับมือน้ำท่วมไม่ยาก (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): โรคที่มากับน้ำท่วม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): อีกทางเลือกหนึ่งของชูชีพอย่างง่าย (สามารถทำเองได้) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): การใช้ถุงทรายเพื่อป้องกันน้ำท่วม (รศ.ดร.อมร  พิมานมาศ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): 6 แนวทางกันนํ้าท่วมเข้าบ้าน (รศ.ดร.อมร  พิมานมาศ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): รวมวิธีป้องกันรถจากภัยน้ำท่วม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): “ผนึกกำลัง ร่วมใจ สู้ภัยน้ำท่วม” การเตรียมตัวเตรียมใจก่อนภัยน้ำท่วม ฉบับประชาชน (กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (PDF) คลิ๊ก




หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ :




 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์คมชัดลึก คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์ข่าวสด คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์บ้านเมือง คลิ๊ก

 TV 3 คลิ๊ก  TV 5 คลิ๊ก  TV 7 คลิ๊ก  ModerNine TV คลิ๊ก  Thai PBS คลิ๊ก



Ayutthaya Thai Flood 2011



น้ำท่วมกรุงเทพ ปี 2485 (Bangkok floods in 1942)



Nuidears Flood Control



mobile flood barrier



ถุงคลุมรถ



ข้อควรปฏิบัติขับรถช่วงน้ำท่วม



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 1/5 (23 ต.ค.54



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 2/5 (23 ต.ค.54



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 3/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 4/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 5/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม - พบหมอบ้าน 1/6 (22 ต.ค.54)



เพลง ประสบทุกข์ ประสบภัย ฝ่าไปด้วยกัน (ขับร้องโดย พนักงานไทยพีบีเอส



เพลงน้ำใจไทย (ขับร้องโดย แอ๊ด คาราบาว)



Friends' blogs
[Add muansuk's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.