ขอเป็นกำลังใจให้กับทุก ๆ คน ทุกสิ่งเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และก็ดับไป ขอมีกำลังใจที่เต็มเปี่ยมและเข้มแข็ง มีสติที่ตั้งมั่น ธรรมย่อมรักษาผู้ปฏิบัติธรรม, ทุกสิ่งเป็น อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา, การนำข้อมูลไปใช้ต้องใช้หลักกาลามสูตร. Group Blog จำนวน 215 Group Blog : รวมข้อมูลทั้งหมด 525 เรื่อง (Click (คลิ๊ก) ตรงกล่องสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีฟ้า หรือเครื่องหมายสามเหลี่ยมของกล่องสี่เหลี่ยม (ทางด้านขวามือ) (มีข้อมูลอยู่ในนั้นครับ) "ขอขอบคุณเจ้าของผลงานต่างๆ และข้อมูลเหล่านี้ใช้เพื่อการศึกษา เรียนรู้ และการวิจัยเท่านั้น"
Group Blog
 
All Blogs
 

การเจาะโพรงเยื่อหุ้มปอด (Thoracentesis)

ที่มา : //www.si.mahidol.ac.th/department/Medicine/home/chest/b08.htm

โดย : นิธิพัฒน์ เจียรกุล

ข้อบ่งชี้

1. เพื่อ นำสารน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอดมาทำการตรวจวินิจฉัยหาสาเหตุ

2. เพื่อระบายสารน้ำออก สำหรับ บรรเทาอาการหอบเหนื่อย ใน ผู้ป่วยที่มีสารน้ำ ในโพรงเยื่อหุ้มปอด จำนวนมาก

3. เพื่อระบายลมออกสำหรับผู้ป่วยที่มี ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ (pneumothorax)


ข้อห้าม

1. สารน้ำ ในโพรงเยื่อหุ้มปอด มีปริมาณน้อย ( โดยการถ่ายภาพรังสีทรวงอกในท่าตะแคงด้านที่มีสารน้ำลง และพบขอบของ
สารน้ำห่างจากขอบในของกระดูกซี่โครงไม่ถึง 10 มม . แต่ถ้าอยู่ระหว่าง 10 -15 มม . อาจใช้เครื่องตรวจด้วยคลื่นเสียงช่วย
ในการเจาะได้ )

2. ผู้ป่วยมี ภาวะเลือดออก ผิดปรกติ ที่รุนแรง

3. ผู้ป่วย ใช้ เครื่อง ช่วยหายใจ ( ไม่เป็นข้อห้ามตายตัว ถ้าจำเป็นให้เจาะด้วยความระมัดระวังและเตรียม พร้อม แก้ไข ในกรณีเกิด
ภาวะ โพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ)

4. มีการติดเชื้อรุนแรงผิวหนังบริเวณที่จะทำการเจาะ

อุปกรณ์

• Povidone iodine ผ้าเจาะกลาง สำลี ผ้ากอซ พลาสเตอร์ ถุงมือปลอดเชื้อ ยาชาพร้อมเข็มและกระบอกฉีดยา

• เข็มฉีดยาขนาด 18 หรือ 20 G ยาว 1.5 นิ้ว กระบอกฉีดยาขนาด 20 มล . หรือ 50 มล . สำหรับใช้เจาะ

• Three-way stopcock และสายยางยาวสำหรับต่อระบายลงขวด ถ้าไม่มีให้ใช้ชุดให้น้ำเกลือแทนโดยตัดสายตรงด้าน
กระเปาะที่จะแทงเข้าขวดน้ำเกลือออกแล้วต่อปลายด้านนั้นลงขวด ส่วนด้านที่จะต่อน้ำเกลือเข้ากับผู้ป่วยให้ต่อเข้ากับ three-
way stopcock

• ขวดสำหรับเก็บสารน้ำส่งตรวจ

วิธีการ

1. ในกรณีที่มีสารน้ำเป็นจำนวนมากและไม่อยู่กับที่ (free fluid) จัดท่าให้ผู้ป่วยนั่งฟุบหน้าลงและวางแขนคร่อมบนโต๊ะขวางเตียง
โดยผู้ทำการเจาะอยู่ด้านหลังของผู้ป่วย ถ้าเป็นสารน้ำที่อยู่กับที่ (loculated fluid) ให้จัดท่า และเลือกตำแหน่งที่เจาะตามการ
ตรวจพบ ในกรณีเจาะโพรงเยื่อหุ้มปอดเพื่อระบายอากาศ ให้ผู้ป่วยนอนหงายหัวสูงและยกมือข้างนั้นพาดศีรษะ

2. หาตำแหน่งช่องซี่โครงที่จะทำการเจาะ สำหรับสารน้ำให้ดูจากภาพรังสีทรวงอก และเคาะดูบริเวณที่เริ่มเคาะทึบ แล้วเลื่อนต่ำ
ลง ไปอย่างน้อย 1 ช่องซี่โครง เลือกจุดที่จะเจาะให้อยู่กึ่งกลางระหว่าง posterior axillary line กับ spinous process
ในกรณีเจาะระบายอากาศเลือกทำที่ช่องซี่โครงที่ 3 ทางด้านหน้า

3. ใส่ถุงมือปลอดเชื้อและเตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ ทำความสะอาดผิวหนังและปูผ้าเจาะกลางบริเวณที่เจาะ แล้วให้ผู้ช่วยยึด
ตรึงขอบบนของผ้าด้วยพลาสเตอร์เข้ากับเสื้อผ้าผู้ป่วย

4. ฉีดยาชาเข้าผิวหนังตำแหน่งที่จะเจาะและค่อยๆ ดันเข็มลึกเข้าไปพร้อมกับฉีดยาเรื่อยๆ ก่อนที่จะฉีดยาทุกครั้งให้ออกแรงดูด
เบาๆเพื่อให้แน่ใจว่าปลายเข็มฉีดยาไม่ได้อยู่ในหลอดเลือด ให้ปลายเข็มชิดกับขอบบนของกระดูกซี่โครงซี่ล่าง ใช้ยาชาประมาณ
3-5 มล . เมื่อรู้สึกผ่านแรงต้านบริเวณเยื่อหุ้มปอดไปแล้ว ให้ออกแรงดูดจนได้สารน้ำหรืออากาศเข้ามาในกระบอกฉีด - ยาชา
ประมาณความลึกของตำแหน่งที่เจาะดูดแล้วถอนกระบอกฉีดยาชาพร้อมเข็มออก

5. สวมเข็มขนาด 18 G เข้ากับ three-way stopcock แล้วนำไปต่อเข้ากับกระบอกฉีดยาขนาด 20 มล. ต่อสายยางเข้ากับ
ปลาย ที่เหลือของ three-way stopcock โดยให้ปลายสายอยู่ต่ำกว่าตำแหน่งที่เจาะ

6. แทงเข็มในแนวตั้งฉากกับบริเวณที่ฉีดยาชาจนลึกถึงตำแหน่งที่ประมาณไว้เดิม ระวังไม่ให้เลือดที่ออกจากการฉีดยาชาปนเปื้อน
ขณะแทง เพราะอาจจะมีผลต่อการวิเคราะห์สารน้ำที่ได้ เมื่อรู้สึกว่าเข็มผ่านเยื่อหุ้มปอดแล้ว ให้หาตำแหน่งที่สามารถ ดูดสารน้ำ
หรืออากาศไหลเข้ามาในกระบอกฉีดยาได้อย่างสม่ำเสมอแล้วตรึงตำแหน่งเข็มไว้ให้คงที่ ดูดสารน้ำ หรืออากาศจนเต็มกระบอก
ฉีดยา ปรับทิศทาง three-way stopcock เพื่อดันสารน้ำหรืออากาศจากกระบอกฉีดยาลงสู่ขวด ถ้าต้องการระบายสารน้ำ
หรืออากาศออกมากให้เปลี่ยนเป็นกระบอกฉีดยาขนาด 50 มล . ทำซ้ำๆจนได้ปริมาณที่ต้องการ

7. ถอนเข็มออก กดห้ามเลือดด้วยสำลีแห้งปลอดเชื้อจนเลือดหยุด ปิดตำแหน่งที่เจาะด้วยผ้าก๊อซและพลาสเตอร์

ภาวะแทรกซ้อน

• ภาวะอากาศในโพรงเยื่อหุ้มปอด (pneumothorax) จากการฉีกขาดของเนื้อปอด

• ภาวะเลือดออกในโพรงเยื่อหุ้มปอดหรือผนังทรวงอกจากการฉีกขาดของหลอดเลือด

• ปอดบวมน้ำหลังขยายตัว (reexpansion pulmonary edema) เกิดจากการดูดสารน้ำออกไปเร็วหรือมากเกิน ป้องกันโดยเจาะสารน้ำออกครั้งละไม่เกิน 1 ลิตร และไม่เร็วกว่า 15 นาที

• อาการเป็นลมจาก vasovagal reflex ความกลัว หรือ ความเจ็บปวด

• ภาวะพร่องออกซิเจนจากการเจาะสารน้ำออกจำนวนมาก

• การติดเชื้อในโพรงเยื่อหุ้มปอด

• การตกเลือดในช่องท้องจากการเจาะเข้าช่องท้องทำให้มีการฉีกขาดของตับ หรือม้าม

เอกสารประกอบ

1. นันทา มาระเนตร์ . การเจาะช่องเยื่อหุ้มปอดและการตัดเยื่อหุ้มปอดเพื่อตรวจ . ใน : สง่า นิลวรางกูร ,จินตนา ศิรินาวิน ,
บรรณาธิการ . การปฏิบัติการและหัตถการทางอายุรศาสตร์ , โครงการตำราศิริราช , กรุงเทพมหานคร , เรือนแก้วการพิมพ์ ,
2532;151-8.

2. Light RW. Thoracentesis (diagnostic and therapeutic) and pleural biopsy. In : Light RW, ed.
Pleural disease 3 rd edition, Williams & Wilkins, Baltimore, 1995;311-26.




 

Create Date : 04 กุมภาพันธ์ 2551    
Last Update : 4 กุมภาพันธ์ 2551 1:24:16 น.
Counter : 40844 Pageviews.  

วิธีปฏิบัติ เรื่อง การเจาะปอด (Thoracentesis)

ที่มา : โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ (//wwwsrih.moph.go.th/ha_forums/mhs/sop/icu/guid_ICU.doc)

ข้อบ่งชี้
1. เพื่อการรักษา โดยเจาะปอดเพื่อบรรเทาอาการหายใจลำบากในผู้ป่วยที่มีน้ำหรืออากาศอยู่ในช่องเยื่อหุ้มปอดและฉีดยาเข้าช่องเยื่อหุ้มปอด
2. เพื่อการวินิจฉัยโรค โดยการดูดเอาน้ำเพื่อตรวจหาเชื้อโรค เซลล์มะเร็ง และตัดชิ้นเนื้อของเยื่อหุ้มปอดไปตรวจ

ข้อห้าม
1. ในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด
2. ผู้ป่วยที่ไม่ให้ความร่วมมือ
3. ผู้ป่วยที่สะอึกหรือไอและไม่สามารถควบคุมอาการนั้นๆได้
4. ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อที่ผิวหนังหรือมีงูสะวัดบริเวณที่เจาะ

อุปกรณ์
1. ที่ paint
2. Syringe 50 cc. หัว lock
3. Syringe 5 cc.
4. ผ้าสี่เหลี่ยม
5. ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
6. เข็มเบอร์ 18 , 24
7. เข็มเจาะปอด เบอร์ 15
8. ถ้วยใส่ Betadine
9. Betadine
10. 1% or 2% Xylocain with out Adrenaline
11. ก๊อส
12. สำลี

ขั้นตอน
1. เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม
2. เตรียมผู้ป่วย
- อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความจำเป็นในการทำหัตถการและขั้นตอนการทำพอสังเขป
- การปฏิบัติตัวและความรู้สึกที่เกิดขึ้นในระหว่างทำ ผู้ป่วยจะต้องอยู่นิ่งๆ และระวังอย่าไอ เพราะเข็มที่แทงอยู่อาจจะทะลุเยื่อหุ้มปอดชั้นในและทำอันตรายต่อเนื้อปอดได้ นอกจากนี้ความรู้สึกเจ็บเสียวที่หัวไหล่และหายใจรู้สึกเจ็บเสียวในทรวงอกแสดงว่าปลายเข็มไประคายเคืองต่อเยื่อหุ้มปอดชั้นใน
- บอกให้ผู้ป่วยทราบ กั้นม่าน จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบายที่สุด เช่น
ก. ท่านั่งห้อยเท้าบนเตียงมีที่วางเท้าและฟุบบนโต๊ะคร่อมเตียง
ข. ท่านั่งเก้าอี้หันหน้าเข้าหาพนักเก้าอี้และวางแขนลงบนพนักเก้าอี้
ค. ท่านั่งพิงบนเตียงยกแขนสูงขึ้นไขว้กันไว้บนศีรษะ
ง. ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถนั่งได้ จัดให้นอนตะแคงให้ข้างที่จะเจาะอยู่ด้านบน
3. วัดสัญญาณชีพก่อนเจาะ
4. ช่วยแพทย์ทำหัตถการจนเสร็จสิ้น พร้อมทั้งประเมินอาการขณะทำหัตถการด้วย
5. จัดให้ผู้ป่วยนอนตะแคงไปด้านที่ไม่ได้เจาะ เพื่อต้องการให้แผลที่เจาะติดเร็วขึ้นและน้ำในเยื่อหุ้มปอดไม่ซึมออกมาในขณะที่ผู้ป่วยไอหรือออกมาตามแรงดึงดูด
6. บันทึกจำนวน ลักษณะของน้ำ สี กลิ่น และเก็บน้ำจากปอดส่งห้องปฏิบัติการ




 

Create Date : 04 กุมภาพันธ์ 2551    
Last Update : 4 กุมภาพันธ์ 2551 1:05:14 น.
Counter : 2083 Pageviews.  

การเจาะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (Thoracentesis)

Reference : //www.webmd.com/a-to-z-guides/thoracentesis

Thoracentesis is a procedure to remove fluid from the space between the lungs and the chest wall called the pleural space. It is done with a needle (and sometimes a plastic catheter) inserted through the chest wall. This pleural fluid may be sent to a lab to determine what may be causing the fluid to accumulate in the pleural space.



Normally only a small amount of pleural fluid is present in the pleural space. Accumulation of excess pleural fluid (pleural effusion) may be caused by many conditions, such as infection, inflammation, heart failure, or cancer. If a large amount of fluid is present, it may be difficult to breathe. Fluid inside the pleural space may be found during a physical examination and is usually confirmed by a chest X-ray.



Why It Is Done
Thoracentesis may be done to:

Determine the cause of excess pleural fluid (pleural effusion).
Relieve shortness of breath and pain caused by a pleural effusion.

How To Prepare

You will be asked to sign a consent form before a thoracentesis. Talk to your doctor about any concerns you have regarding the need for the procedure, its risks, how it will be done, or what the results will indicate. To help you understand the importance of this procedure, fill out the medical test information form(What is a PDF document?).

Tell your doctor if you:

Are taking any medications.
Have allergies to any medications, including anesthetics.
Have any bleeding problems or take blood thinners, such as aspirin or warfarin (Coumadin).
Are or might be pregnant.
Also, certain conditions may increase the difficulty of thoracentesis. Let your doctor know if you have:

Had lung surgery. The scarring from the first procedure may make it difficult to do this procedure.
A long-term (chronic), irreversible lung disease, such as emphysema.
A chest X-ray is usually done before the procedure. Your doctor may order certain blood tests, such as a complete blood count (CBC) and bleeding factors, before your procedure.

How It Is Done
This procedure may be done in your doctor's office, in the X-ray department of a hospital, in an emergency room, or at your bedside in the hospital. Your doctor may have a nurse assist with the procedure.

You will need to take off all or most of your clothes (you may be allowed to keep on your underwear if it does not interfere with the procedure). You will be given a cloth or paper covering to use during the procedure. During the procedure, you will be seated but leaning forward on a padded bedside table. If your test is done in the X-ray department, X-rays or an ultrasound may be used to confirm the location of fluid in your chest.

How It Is Done continued...
The needle site between your ribs will be cleaned with an antiseptic solution. Your doctor will give you a local anesthetic in your chest wall so you won't feel any pain when the longer needle that withdraws the fluid is inserted. Once the area is numb, your doctor will insert the needle to where the fluid has collected (pleural space). You may feel some mild pain or pressure as the needle enters the pleural space.

A syringe or a small tube attached to a vacuum bottle is used to remove the pleural fluid. Your doctor collects 50 mL to 100 mL of fluid at a time to send to the lab. Up to 1500 mL may be removed if the fluid is making it difficult for you to breathe. Once the fluid is removed, the needle or small tube is removed and a bandage is put on the site.

An X-ray is usually taken right after the procedure to make sure that no complications have occurred. If more pleural fluid collects and needs to be removed, another thoracentesis may be done later.

This procedure takes about 10 to 15 minutes.

How It Feels
When you are given the shot to numb your skin at the needle site, you will feel a sharp stinging or burning sensation that lasts a few seconds. When the needle is inserted into the chest wall, you may again feel a sharp pain for a few seconds.

When the pleural fluid is removed, you may feel a sense of "pulling" or pressure in your chest. Tell your doctor or nurse if you feel faint or if you have any shortness of breath, chest pain, or uncontrollable cough.

If a large amount of pleural fluid was removed during the procedure, you will probably be able to breathe more easily.

Risks
Thoracentesis is generally a safe procedure. A chest X-ray is usually done right after the procedure to make sure that no complications have occurred. Complications may include:

A partial collapse of the lung (pneumothorax). This may occur if the needle used to remove the pleural fluid punctures the lung, allowing air to flow into the pleural space.
Pulmonary edema, which may occur if a large amount of fluid is removed.
Infection and bleeding.
Damage to the liver or spleen, though this is rare.

Results
Thoracentesis is a procedure to remove fluid from the space between the lungs and the chest wall called the pleural space. Results from a lab are usually available in 1 to 2 working days. If the fluid is being tested for an infection, such as tuberculosis, results may not be available for several weeks.



What Affects the Test
Factors that can interfere with your procedure or the accuracy of the results include:

Use of antibiotics.
The inability to remain still.
What To Think About
Thoracentesis may not be done for people who have:
A bleeding disorder.
Heart failure or enlargement of the right side of the heart (cor pulmonale).
A pleural biopsy may be done at the same time as a thoracentesis to collect a sample of tissue from the inner lining of the chest wall.
Thoracentesis may be done before another procedure called pleurodesis. During this procedure, a chemical or medication (talc or doxycycline) is put into the pleural space, which triggers an inflammatory reaction over the surface of the lung and inside the pleural space. This in turn causes the layer of pleura attached to the lung to stick to the layer of pleura on the inside of the chest wall. This takes away the space between the pleura and prevents or reduces the collection of more pleural fluid. Pleurodesis may be done when fluid collects in the chest more than one time.

Other Works Consulted
Chernecky CC, Berger BJ, eds. (2004). Laboratory Tests and Diagnostic Procedures, 4th ed. Philadelphia: Saunders.

Fischbach FT, Dunning MB III, eds. (2004). Manual of Laboratory and Diagnostic Tests, 7th ed. Philadelphia: Lippincott Williams and Wilkins.

Pagana KD, Pagana TJ (2006). Mosby’s Manual of Diagnostic and Laboratory Tests, 3rd ed. St. Louis: Mosby.








 

Create Date : 04 กุมภาพันธ์ 2551    
Last Update : 4 กุมภาพันธ์ 2551 0:27:36 น.
Counter : 4184 Pageviews.  

การเจาะปอด (Thoracentesis)

Reference : //en.wikipedia.org/wiki/Thoracentesis

Thoracentesis (also known as thoracocentesis or pleural tap) is an invasive procedure to remove fluid or air from the pleural space for diagnostic or therapeutic purposes. A cannula, or hollow needle, is carefully introduced into the thorax, generally after administration of local anesthesia. The procedure was first described in 1852.

The recommended location varies depending upon the source. Some sources recommend the midaxillary line, in the sixth, seventh, or eighth intercostal space.[1]

Indications
This procedure is indicated when unexplained fluid accumulates in the chest cavity outside the lung. In more than 90% of cases analysis of pleural fluid yields clinically useful information. If a large amount of fluid is present, then this procedure can also be used therapeutically to remove that fluid and improve patient comfort and lung function.

The most common causes of pleural effusions are cancer, congestive heart failure, pneumonia, and recent surgery. In countries where tuberculosis is common, this is also a common cause of pleural effusions.

When cardiopulmonary status is compromised (i.e. when the fluid or air has its repercussions on the function of heart and lungs), due to air (significant pneumothorax), fluid (pleural fluid) or blood (hemothorax) outside the lung, then this procedure is usually replaced with tube thoracostomy, the placement of a large tube in the pleural space.

Contraindications
An uncooperative patient or a coagulation disorder that can not be corrected are absolute contraindications.

Relative contraindications are site of insertion has known bullous disease (e.g. emphysema), use of positive end-expiratory pressure (PEEP, see mechanical ventilation) and only one functioning lung (due to diminished reserve).

Complications
Major complications are pneumothorax (3-30%), hemopneumothorax, hemorrhage, hypotension (low blood pressure due to a vasovagal response) and reexpansion pulmonary edema.

Minor complications include a dry tap (no fluid return), subcutaneous hematoma or seroma, anxiety, dyspnea and cough (after removing large volume of fluid).

Interpretation of pleural fluid analysis
Several diagnostic tools are available to determine the etiology of pleural fluid.

Transudate versus exudate
First the fluid is either transudate or exudate.

A transudate is defined as pleural fluid to serum total protein ratio of less than 0.5, pleural fluid to serum LDH ratio < 0.6, and absolute pleural fluid LDH < 200 IU or < 2/3 of the normal serum level.

An exudate is any pleural fluid that does not meet aforementioned criteria.

Exudate
- hemorrhage
- Infection
- Inflammation
- Malignancy
- Iatrogenic
- Connective tissue disease
- Endocrine disorders
- Lymphatic disorders vs Constrictive pericarditis

Transudate
- Congestive heart failure
- Nephrotic syndrome
- Hypoalbuminemia
- Cirrhosis
- Atelectasis
- trapped lung
- Peritoneal dialysis
- Superior vena cava obstruction

Amylase
A high amylase level (twice the serum level or the absolute value is greater than 160 Somogy units) in the pleural fluid is indicative of either acute or chronic pancreatitis, pancreatic pseudocyst that has dissected or ruptured into the pleural space, cancer or esophageal rupture.

Glucose
This is considered low if pleural fluid value is less than 50% of normal serum value. The differential diagnosis for this is:
- rheumatoid effusion
- lupus effusion
- bacterial empyema
- malignancy
- tuberculosis
- esophageal rupture (Boerhaave syndrome)

pH
Normal pleural fluid pH is approximately 7.60. A pleural fluid pH below 7.30 with normal arterial blood pH has the same differential diagnosis as low pleural fluid glucose.

Triglyceride and cholesterol
Chylothorax (fluid from lymph vessels leaking into the pleural cavity) may be identified by determining triglyceride and cholesterol levels, which are relatively high in lymph. A triglyceride level over 110 mg/dl and the presence of chylomicrons indicate a chylous effusion. The appearance is generally milky but can be serous.

The main cause for chylothorax is rupture of the thoracic duct, most frequently as a result of trauma or malignancy (such as lymphoma).

Cell count and differential
The number of white blood cells can give an indication of infection. The specific subtypes can also give clues as to the type on infection. The amount of red blood cells are an obvious sign of bleeding.

Cultures and stains
If the effusion is caused by infection, microbiological culture may yield the infectious organism responsible for the infection, sometimes before other cultures (e.g. blood cultures and sputum cultures) become positive. A Gram stain may give a rough indication of the causative organism. A Ziehl-Neelsen stain may identify tuberculosis or other mycobacterial diseases.

Cytology
Cytology is an important tool in identifying effusions due to malignancy. The most common causes for pleural fluid are lung cancer, metastasis from elsewhere and mesothelioma. The latter often presents with an effusion. Normal cytology results do not reliably rule out malignancy, but make the diagnosis more unlikely.

References

^ Human Gross Anatomy. Retrieved on 2007-10-22.
- Intensive Care Medicine by Irwin and Rippe
- The ICU Book by Marino
- Procedures and Techniques in Intensive Care Medicine by Irwin and Rippe
- Pulmonary - Critical Care Associates of East Texas
- Thoracentesis from THE MERCK MANUAL, Sec. 6, Ch. 65, Special Procedures

External links

- A photo gallery of thoracentesis showing the procedure step-by-step. V. Dimov, B. Altaqi, Clinical Notes, 2005. A free PDA version.
- Diagnostic Thoracentesis Virtual Cancer Centre
- Therapeutic Thoracentesis Virtual Cancer Centre




 

Create Date : 02 กุมภาพันธ์ 2551    
Last Update : 4 กุมภาพันธ์ 2551 1:48:21 น.
Counter : 2134 Pageviews.  

ข้อปฏิบัติในการเจาะปอด (Thoracocentesis)

ที่มา : //www.rtanc.ac.th/Image/data/report/report1.htm

เขียนโดย : ร.อ.หญิง กุสุมา กำจร; อาจารย์ภาควิชาการพยาบาลเบื้องต้น กองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก : 2547

ก่อนตรวจ และขณะตรวจ

ท่านั่ง
1. นั่งห้อยเท้าริมเตียง ฟุบ Over bed

2. นั่งเก้าอี้หันหน้าทางพนักพิง วางแขนบนพนัก

3. นั่งบนเตียง ยกแขนไขว้มือไว้บนศีรษะ

ท่านอน
- นอนตะแคงด้านที่เจาะขึ้นข้างบน

หลังตรวจ
- นอนตะแคงด้านตรงข้ามกับที่เจาะ ป้องกันน้ำในช่องปอดซึม โดยเฉพาะเวลาไอหรือจามและเพื่อให้แผลสะอาดติดเร็วขึ้น




 

Create Date : 02 กุมภาพันธ์ 2551    
Last Update : 4 กุมภาพันธ์ 2551 1:47:46 น.
Counter : 1563 Pageviews.  


muansuk
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 84 คน [?]




blog counter
blog counterDiseño Web
Share on Facebook



 Follow Me on Twitter
 คลิ๊ก


 ลงนามสมุดเยี่ยม muansuk blog ครับ คลิ๊ก




“ทาน ศีล ภาวนา ธรรมทั้ง 3 นี้
เป็นรากแก้วของความเป็นมนุษย์
และเป็นรากเหง้าของพระศาสนา”

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต




“ถ้าเรารู้เรื่องธรรมดาของโลก และรู้จักความเป็นจริงของธรรมแล้ว
เราก็จะไม่ต้องมีความยุ่งยากในการเป็นอยู่
เรื่องภายนอกนั้น ถึงเราจะศึกษาให้มีความรู้สักเท่าไรๆ
ก็ไม่ทำให้เราพ้นจากทุกข์ได้
สู้การเรียนรู้จิตใจของตนอยู่ภายในวงแคบๆ นี้ไม่ได้”

ท่านพ่อลี ธมฺมธโร




“… อย่าไปอยากรู้เรื่องของคนอื่นมันเป็นทุกข์
ให้สนใจเรื่องของตัวเอง
คือเรื่องของกายกับใจ
ดูให้มันชัด …”

หลวงปู่เพียร วิริโย




“… สิ่งใดมันล่วงไปแล้ว สิ่งนั้นมันก็ล่วงไปแล้ว หมดไปแล้ว
ไม่ควรเอามาคิด มาติดอยู่ในใจ ละทิ้งให้หมด
ส่วนว่าอารมณ์อันเป็นอนาคตกาล
ดีร้ายประการใด ทั้งทางโลก และทางธรรม
สิ่งนั้นก็ยังอยู่ข้างหน้า คือยังไม่มาถึง
เวลาปัจจุบัน คือ เป็นเวลาเรานั่งภาวนา ฟังธรรม
สงบกาย สงบวาจา สงบจิต สงบใจ อยู่นี้แหละ
เป็นธรรมะปัจจุบัน ให้ระลึกภาวนาทุกลมหายใจเข้าออก...”

หลวงปู่สิม พุทธาจาโร




“... ให้รักษาศีล
ให้รู้จักพิจารณา เกิด แก่ เจ็บ ตาย
รู้จักแก้ไขจิตของตน ... ”

หลวงปู่จาม มหาปุณฺโญ





หลวงพ่อชา สุภทฺโท : ปล่อยวาง 1





พระอาจารย์สิงห์ทอง ธมฺมวโร : ธรรมสู่ใจ





หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ : ไม่ยอมละ





ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download): หนังสือมุตโตทัย-อาจาโรวาท โดย หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต และ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร (PDF) (9.25 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ฝากไว้ บันทึกคติธรรมและธรรมเทศนาของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล (โดย พระโพธินันทมุนี) (PDF) (625 KB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมธาตุ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (13.38) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือชาติสุดท้าย (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (6.97) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพ่อแม่ครูอาจารย์ ชีวประวัติ คติธรรม และปฏิปทา พระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว  ญาณสัมปันโน (PDF) (12.82 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือปฏิปทาของพระธุดงคกรรมฐาน สายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต (ท่านอาจารย์พระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (14.68 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือไม่มาเกิดมาตายเรียกว่าชาติสุดท้าย (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (4.72 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงตา พระผู้สืบสานอริยวงศ์  รวบรวมโดยคณะศิษยานุศิษย์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (50.51 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือกายคตาสติ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (10.8 MB) คลิ๊ก
 ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมปกครองใจ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน และหลวงปู่จันทร์ศรี  จันททีโป (PDF) (11.47 MB) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือปัญญาอบรมสมาธิ โดยท่านอาจารย์พระมหาบัว  ญาณสัมปันโน (PDF) (1.29 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงตานิพพาน (พิธีพระราชทานเพลิงถวายสรีระสังขารหลวงตามหาบัวญาณสมฺปนฺโน) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมะทะลุโลก โดยท่านพ่อลี ธมฺมธโร (PDF) (3.18 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือท่านพ่อลี ธมฺมธโร พระอริยเจ้าผู้มีพลังแก่กล้า (PDF) (30.21 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่เล่าเรื่อง (หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรม...ย้ำเตือน  โดยหลวงปู่เพียร  วิริโย (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมพระเพียร  วิริโย เป็นเพชรน้ำหนึ่งเพราะความพากเพียร (หลวงตาพระมหาบัว  ญาณสัมปันโน) (PDF) (8.68 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมพเนจร (หลวงปู่จันทา  ถาวโร) (PDF) (30.39 MB) คลิ๊ก Download หนังสือหลวงปู่เจี๊ยะ  จุนฺโท  พระผู้เป็นดั่งผ้าขี้ริ้วห่อทอง (PDF) (13.58 MB) คลิ๊ก
Download หนังสือพระธรรมเทศนา หลวงพ่อชา สุภัทโท (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือสุภัททานุสรณ์ ชุด..จาริกสู่ประเทศอังกฤษ (PDF) (21.06 MB) คลิ๊ก Download หนังสือธรรมะหลวงปู่หล้า เขมปัตโต (PDF) (8.5MB) คลิ๊ก Download หนังสือสันติธมฺโมบูชา โดยหลวงปู่ฟัก สันติธมฺโม (PDF) (37.97 MB) คลิ๊ก Download หนังสือหนีนรก โดยหลวงพ่อฤๅษีลิงดำ (PDF) คลิ๊ก
Download หนังสือสังโยชน์ 10 โดยหลวงพ่อฤๅษีลิงดำ (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือวัดป่าบ้านตาด (PDF) (10.72 MB) ( คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือเศรษฐีธรรม (หลวงปู่ลี กุสลธโร) (PDF) (6.83 MB) ( คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือชีวิตนี้น้อยนัก โดยสมเด็จพระญาณสังวร (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือทำอย่างไรจะหายโกรธ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือภูมิธรรมชาวพุทธ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระหลวงตา (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (7.98 MB)  คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือจิตตวิชา หลักความรู้แจ้งทางจิตต์ (พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร) (PDF) (3.97 MB) คลิ๊ก Download หนังสือเปิดใจรับความสุข โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก Download E-Book ว.วชิรเมธี คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ โครงการบูรพาจารย์ (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ประวัติ ข้อวัตร และปฏิปทา (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 1) (PDF) (12.5 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):   หนังสือหลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม พระอรหันต์ผู้มีฤทธิ์ในยุคปัจจุบัน (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 2)  (PDF) (15.77 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือหลวงปู่แหวน สุจิณโณ (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 3) (PDF) (19.12 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ขาว อนาลโย (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 4) (PDF) (12.53 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระครูวิเวกพุทธกิจ หลวงปู่ใหญ่เสาร์ กนฺตสีโล พระปรมาจารย์ใหญ่ฝ่ายพระกรรมฐาน (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 5) (PDF) (12.13 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระกรรมฐานสู่ล้านนา (ตอน 1) (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 6) (PDF) (24.41 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระกรรมฐานสู่ล้านนา (ตอน 2) (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 7) (PDF) (43.49 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่หลุย จนฺทสาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 8) (PDF) (70.26 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ชอบ ฐานสโม (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 9) (PDF) (10.17 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 10) (PDF) (10.17 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ฝั้น อาจาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 11).pdf (PDF) (14.3 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 12).pdf (PDF) (13.41 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือวิธีปฏิบัติสมาธิ วิปัสสนากัมมัฏฐาน (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download): หนังสือวิธีทำสมาธิแบบหลวงปู่มั่น โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (1.05 MB)คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): แนวทางปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน 2 (พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร)  (PDF) (5.75 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): เรื่องของลม (ท่านพ่อลี ธมฺมธโร) (PDF) (271.99 KB) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือวิธีเดินจงกรมภาวนา-นั่งสมาธิภาวนา โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (9.18 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ สำหรับผู้ป่วย, ญาติ และผู้รักษา (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือธรรมะสำหรับผู้ป่วย โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือกายหายไข้ ใจหายทุกข์ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก
Download หนังสือรักษาใจยามป่วยไข้ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือนึกถึงความตายสบายนัก โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือพระไตรปิฎก :

Download หนังสืออริยวินัย (PDF) (9.27 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะทั่วไป (Download E-Book) :

Download หนังสืออริยวินัย (PDF) (9.27 MB) คลิ๊ก








Google

 ศีลและกรรมบถ คลิ๊ก
 พระธรรมเทศนาของหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จังหวัดอุดรธานี คลิ๊ก  ธรรมบรรยาย และธรรมนิพนธ์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) วัดญาณเวศกวัน คลิ๊ก
 รวบรวมงานเขียนและบทความของพระไพศาล วิสาโล คลิ๊ก  วัดสังฆทาน จ.นนทบุรี (หลวงพ่อสนอง กตปุญโญ) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก



 กำลังใจสู้มะเร็ง คลิ๊ก  การดูแลสภาพจิตใจผู้ป่วยมะเร็ง คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): วารสาร นิตยสาร และสถิติ ที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง:

ดาวน์โหลด (Download) : วารสารมะเร็งวิวัฒน์ ปีที่ 18, ฉบับที่ 1 ปี 2555 (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : วารสารมะเร็งวิวัฒน์ ปีที่ 17, ฉบับที่ 1 ปี 2554 (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ Cancer in Thailand Volume.5, 2001-2003 (PDF) คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): เอกสาร, คู่มือมะเร็ง และที่เกี่ยวข้อง:

ดาวน์โหลด (Download) :  หนังสือ, เอกสาร และคู่มือ เกี่ยวกับมะเร็ง ที่น่าสนใจ (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือเกี่ยวกับเคมีบำบัด (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือเกี่ยวกับรังสีรักษา, การดูแลตนเองของผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา และอื่น ๆ (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือควบคุมอาการปวดสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งและครอบครัว, อาการปวดจากโรคมะเร็ง (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสาร และคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง, การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายที่บ้าน (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งปอด (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งเต้านม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งเต้าตับ (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) :  แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (โรงพยาบาลสงฆ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  สมาธิบำบัดกับการรักษาโรคมะเร็ง (วัดคำประมง  จังหวัดสกลนคร) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download):  แนวทางการปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินด้วยอากาศยาน (PDF) คลิ๊ก




ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสารแนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัยโรคมะเร็งปอด (2547) (กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสารแนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งปอด (2549) (ศ.พญ.สุมิตรา  ทองประเสริฐ และคณะ) (PDF) คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับมะเร็ง

ลิงค์ (Link): การตรวจวินิจฉัยวิธีใหม่ด้วย PET-CT สแกน โดย รศ.นพ.สุภัทรพร เทพมงคล คลิ๊ก ลิงค์ (Link): Bone Scan: การตรวจสแกนกระดูก (พญ.ศิริอนงค์ นามวงศ์พรหม; คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) (PDF)  คลิ๊ก ลิงค์ (Link) : การผ่าตัดมะเร็งทำให้โรคแพร่กระจายจริงหรือ (รศ.นพ.อดุลย์ รัตนวิจิตราศิลป์ : ภาควิชาศัลยศาสตร์  สาขาวิชาศัลยศาสตร์ศีรษะ คอ และเต้านม คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): ผลข้างเคียงจากยาเคมีบำบัด (สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) คลิ๊ก ลิงค์ (Link): ความรู้เกี่ยวกับรังสีรักษา การฉายรังสีและเครื่องมือทางรังสีรักษา (สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): สูตรอาหารต้านมะเร็ง (เอื้อเฟื้อโดย น.พ.สำราญ อาบสุวรรณ; ผู้หายจากมะเร็งปอดระยะสุดท้าย) : ข้อมูลจาก วัดคำประมง จังหวัดสกลนคร  คลิ๊ก


 ลิงค์ (Link): การตรวจ MRI คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): การแพทย์ทางเลือก, การแพทย์แผนไทย และธรรมชาติบำบัด

ลิงค์ (Link): วัดคำประมง จังหวัดสกลนคร (หลวงตาปพนพัชร์  จิรธัมโม) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก  ลิงค์ (Link): การแพทย์ทางเลือก บีเมสส คลินิก จังหวัดนครราชสีมา (นพ.สำราญ  อาบสุวรรณ : ผู้หายจากมะเร็งปอดระยะสุดท้าย) คลิ๊ก  ลิงค์ (Link): วิถีไทยคลินิกการแพทย์แผนไทย กรุงเทพมหานคร (อาจารย์เภสัชกร มงคลศิลป์  บุญเย็น) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): Gerson Institute
 (รักษาตามแนวธรรมชาติบำบัด) คลิ๊ก





Link: ลิงค์ หน่วยงาน, สถาบัน, องค์กร และที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง

ลิงค์ (Link) :  สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข คลิ๊ก ลิงค์ (Link) :  สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คลิ๊ก
ลิงค์ (Link) : สถานวิทยามะเร็งศิริราช คลิ๊ก ลิงค์ (Link) : โครงการโรคมะเร็ง คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี คลิ๊ก
ลิงค์ (Link) :  วัดคำประมง จ.สกลนคร (หลวงตาปพนพัชร์  จิรธัมโม) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก



 http://www.cancer.gov: National Cancer Institute คลิ๊ก  http://www.eortc.be: European Organisation for Research and Treatment of Cancer คลิ๊ก  http://www.oncolink.org: OncoLink (University of Pennsylvania) มีข้อมูลข่าวสารมากมาย และได้ผ่านการคัดเลือกและตรวจสอบโดย editorial board ของ OncoLink แล้ว, มีข่าวใหม่ประจำสัปดาห์เกี่ยวกับโรคมะเร็ง, บทคัดย่อใหม่ของการวิจัยโรคมะเร็งที่ตีพิมพ์, การประชุมทางวิชาการต่าง ๆ ฯลฯ  คลิ๊ก
 http://www.iarc.fr/: The International Agency for Research on Cancer (IARC) คลิ๊ก  http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed: Pubmed เป็นเครื่องมือค้นหาฐานข้อมูล เรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล MEDLINE ซึ่งประกอบด้วยแหล่งอ้างอิง, บทคัดย่อ และบทความตัวเต็มทางวิทยาศาสตร์และชีวเวชศาสตร์ คลิ๊ก






Link: ลิงค์ หน่วยงาน, สถาบัน, องค์กรด้านการสาธารณสุข และที่เกี่ยวข้อง

 กระทรวงสาธารณสุข คลิ๊ก





 องค์การเภสัชกรรม คลิ๊ก
 กรมสุขภาพจิต คลิ๊ก

 สภากาชาดไทย คลิ๊ก



แพทยสภา คลิ๊ก ทันตแพทยสภา คลิ๊ก  สภาเทคนิคการแพทย์ คลิ๊ก  สภากายภาพบำบัด คลิ๊ก  สภาเภสัชกรรม คลิ๊ก  สภาการพยาบาล คลิ๊ก



 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) คลิ๊ก  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) คลิ๊ก



 สำนักงานประกันสังคม คลิ๊ก






ดาวน์โหลด (Download): กฎหมาย, ประกาศ, ระเบียบ, ข้อบังคับ, คำสั่ง

ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2550 คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2553 คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 คลิ๊ก

ดาวน์โหลด (Download) : ข้อบังคับแพทยสภา คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : ข้อบังคับ, ประกาศ และระเบียบ ทันตแพทยสภา คลิ๊ก



ลิงค์ (Link) : ค้นหาราชกิจจานุเบกษา : ค้นหาพระบรมราชโองการ, พระราชบัญญัติ, พระราชกำหนด, พระราชกฤษฎีกา, กฎกระทรวง, ประกาศ, ระเบียบ, ข้อบังคับ และคำสั่ง คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): เอกสารข้อมูลทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สำคัญ

ดาวน์โหลด (Download) : สิทธิผู้ป่วย คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : สิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : ใบรับรองแพทย์ คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): การเดินทาง, แผนที่, ตารางเวลา และการส่งกลับทางอากาศ :

 การบินไทย (Thai Airways) คลิ๊ก นกแอร์ (Nok Air) คลิ๊ก  แอร์เอเชีย (Air Aisa) คลิ๊ก  บางกอกแอร์เวย์ (Bangkok Airways) คลิ๊ก  รถไฟฟ้า BTS คลิ๊ก  รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) : (รถไฟฟ้าใต้ดิน)
คลิ๊ก การรถไฟแห่งประเทศไทย : จำหน่ายตั๋วล่วงหน้า, ตารางเวลาเดินรถและราคาค่าโดยสาร, ระบบติดตามขบวนรถ  คลิ๊ก  เรียกแท็กซี่ (Taxi) คลิ๊ก


 ตรวจสอบ, คำนวณ ระยะทาง และพิมพ์แผนที่ คลิ๊ก  ตรวจสอบ, หาพิกัดดาวเทียม
 GPS คลิ๊ก  ตรวจสอบสภาพการจราจร   Near Real Time คลิ๊ก
 ตรวจสอบสถานการณ์น้ำกับ กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คลิ๊ก  ตรวจสอบเส้นทางน้ำท่วมทางหลวง โดยกรมทางหลวง คลิ๊ก  ตรวจสอบเวลาการเดินรถไฟ คลิ๊ก
 ค้นหารถประจำทาง คลิ๊ก  เส้นทางการเดินรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT คลิ๊ก  เส้นทางการเดินรถไฟฟ้า BTS คลิ๊ก
 ท่าขึ้นรถตู้ กรุงเทพ ฯ (และที่ใกล้เคียง) – ต่างจังหวัด คลิ๊ก  ค้นหาสายรถตู้ คลิ๊ก  เรือด่วนเจ้าพระยา คลิ๊ก






ลิงค์ (Link): หมายเลขโทรศัพท์, การติดต่อสื่อสาร และการขนส่ง

 YellowPages (เยลโล่เพจเจส) : ค้นหาหมายเลขโทรศัพท์ และอื่น ๆ คลิ๊ก

 หอพัก สกสค. (หอพักคุรุสภา) คลิ๊ก



 บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
 คลิ๊ก  บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) คลิ๊ก  AIS คลิ๊ก  DTAC คลิ๊ก  Truemove คลิ๊ก  ไปรษณีย์ไทย : บริการด้วยใจ เชื่อมไทย เชื่อมโลก คลิ๊ก







ลิงค์ (Link): ค้นหาแผนที่


 Google Map: กูเกิ้ล แม็ฟส์ คลิ๊ก  Maps.com: แม็ฟส์ ดอท คอม คลิ๊ก



 ค้นหาค้นหาแผนที่โรงพยาบาล คลิ๊ก  ค้นหาค้นหาแผนที่โรงพยาบาล คลิ๊ก
 ค้นหาสถานีบริการ LPG คลิ๊ก  ค้นหาสถานีบริการ NGV คลิ๊ก







Facebook: เฟสบุ๊ค – เข้าระบบ, ลงทะเบียน หรือเรียนรู้เพิ่มเติม คลิ๊ก Twitter: ทวิตเตอร์ – ลงชื่อเข้าใช้งาน คลิ๊ก YouTube: ยูทูป  – เข้าใช้งาน คลิ๊ก Wikipedia: วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี คลิ๊ก ดาว์นโหลด (Download) :  Adobe Reader คลิ๊ก  Google Map: กูเกิ้ล แม็ฟส์ คลิ๊ก ดาว์นโหลด (Download) Adobe Flash Player คลิ๊ก





สมาทานศีล 5



หลวงพ่อชา สมาทานศีล 5



พุทธมนต์, พุทธคุณ ๑๐๘ นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเช้า นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเย็น นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเย็น นำสวดโดย หลวงพ่ออุทัย สิริธโร



พาหุงมหากา นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



บทสวดพระคาถาชินบัญชร



บทสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก



บทสวดโพชฌังคปริตร



พระคาถาสักกัตวา



หลวงพ่อชา สอนการทำสมาธิ



หลวงพ่อจรัญสอนกรรมฐาน ตอนที่ 3/9



หลวงพ่อจรัญสอนกรรมฐาน ตอนที่ 4/9



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 1



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 2



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 3



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 4



หลวงพ่อพุธ ฐานิโย สอนกรรมฐาน









ลิงค์ (Link): ข่าวสาร, ข้อมูล, บทความเกี่ยวกับน้ำท่วม



 แจ้งขอความช่วยเหลือ (Thaiflood.com) คลิ๊ก




Thaiflood

 18 วิธีรับมือน้ำท่วม คลิ๊ก  การเตรียมการก่อนน้ำท่วม คลิ๊ก  การรับมือระหว่างน้ำท่วม คลิ๊ก
 การเตรียมการอพยพ คลิ๊ก  ข้อมูลดาวเทียมแสดงอุทกภัยประเทศไทย (ข้อมูลจาก GISTDA) คลิ๊ก  ภาพแสดงระดับความสูงต่ำของพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เพื่อการวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของมวลน้ำ คลิ๊ก
 วิกฤตการณ์น้ำท่วมประเทศไทย 2554 (Crisis Map) คลิ๊ก  ตรวจสอบแผนที่น้ำท่วมกับ esri Thailand คลิ๊ก  สถานการณ์น้ำในเขื่อน คลิ๊ก
 ตรวจสอบเส้นทางน้ำท่วมทางหลวง โดยกรมทางหลวง คลิ๊ก  แผนที่เส้นทางหนีน้ำท่วมจาก กทม.ไป ภาคเหนือ, อีสาน คลิ๊ก  รวมข้อมูล ที่จอดรถหนีน้ำท่วม สำหรับผู้ประสบอุทกภัย คลิ๊ก
 เทคนิควาง “กระสอบทราย” สู้น้ำท่วม คลิ๊ก
 การป้องกันน้ำเข้าบ้าน และวิธีอุดปิดช่องทางน้ำเข้าบ้าน คลิ๊ก  เมื่อต้องขับรถลุยน้ำ น้ำท่วม!!! และเมื่อรถตกน้ำควรปฏิบัติอย่างไร คลิ๊ก  การทำเรืออย่างง่าย ๆ คลิ๊ก
 “ตะคริว” กับการเรียนรู้สู้ภัยน้ำท่วม คลิ๊ก  การปฏิบัติการช่วยฟื้นชีวิตขั้นพื้นฐาน (Basic Cardio Life Support : BCLS) (กรมแพทย์ทหารเรือ) คลิ๊ก  จะช่วยคนจมน้ำได้อย่างไร (ศ.พญ.วันดี วราวิทย์) คลิ๊ก


ดาวน์โหลด (Download): เอกสาร คู่มือเกี่ยวกับน้ำท่วม

ดาวน์โหลด (Download): Flood Fighting Methods (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): British Columbia Flood Plan (BC Flood Plan) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): Fact Sheet Floods (FEMA) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วม (จัดทำโดย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): คู่มือรับมือน้ำท่วมไม่ยาก (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): โรคที่มากับน้ำท่วม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): อีกทางเลือกหนึ่งของชูชีพอย่างง่าย (สามารถทำเองได้) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): การใช้ถุงทรายเพื่อป้องกันน้ำท่วม (รศ.ดร.อมร  พิมานมาศ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): 6 แนวทางกันนํ้าท่วมเข้าบ้าน (รศ.ดร.อมร  พิมานมาศ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): รวมวิธีป้องกันรถจากภัยน้ำท่วม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): “ผนึกกำลัง ร่วมใจ สู้ภัยน้ำท่วม” การเตรียมตัวเตรียมใจก่อนภัยน้ำท่วม ฉบับประชาชน (กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (PDF) คลิ๊ก




หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ :




 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์คมชัดลึก คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์ข่าวสด คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์บ้านเมือง คลิ๊ก

 TV 3 คลิ๊ก  TV 5 คลิ๊ก  TV 7 คลิ๊ก  ModerNine TV คลิ๊ก  Thai PBS คลิ๊ก



Ayutthaya Thai Flood 2011



น้ำท่วมกรุงเทพ ปี 2485 (Bangkok floods in 1942)



Nuidears Flood Control



mobile flood barrier



ถุงคลุมรถ



ข้อควรปฏิบัติขับรถช่วงน้ำท่วม



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 1/5 (23 ต.ค.54



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 2/5 (23 ต.ค.54



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 3/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 4/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 5/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม - พบหมอบ้าน 1/6 (22 ต.ค.54)



เพลง ประสบทุกข์ ประสบภัย ฝ่าไปด้วยกัน (ขับร้องโดย พนักงานไทยพีบีเอส



เพลงน้ำใจไทย (ขับร้องโดย แอ๊ด คาราบาว)



Friends' blogs
[Add muansuk's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.