การสูญเสีย ความได้เปรียบทรัพยากรมนุษย์ แก่ก่อนรวยต้องเจอปัญหาอะไรบ้าง1
消失的“人口红利”:未富先老多了哪些挑战?

“人口红利”,一个经济学、人口学上的专业术语,正成为时下媒体报道的流行语:
  今年以来,各地纷纷大幅上调最低工资,企业出现“加薪潮”,原因是“人口红利”在消失,不涨工资找不到人干活;
10月起,作为国内人口老龄化程度最高的城市,上海试行企业柔性延迟退休。最新数据显示,20年后中国将两名劳动人口养一名退休人员,有人提议国家也应研究延迟退休年龄,以应对“人口红利”消失、减轻老龄化压力;
  ……
  人口是如何变成“红利”的?中国人口数量庞大,“人口红利”也会消失吗?如果“人口红利”真的消失,对中国经济长远影响会有多大?
什么是“人口红利”?
  劳动力人口供给充分,社会负担轻,劳动力价格便宜、储蓄率高,使经济获得额外增长源泉,这种情况下的高增长被称为“人口红利”
2013年,或者2015年,将是中国“人口红利”消失的转折点———在众多学者眼中,这是一个普遍认可的说法。
1997年,一些外国学者首次提出了“人口红利”(Demographic Bonus)概念,次年开始,它被联合国人口基金会在每年出版的《世界人口现状》中正式使用,也逐渐为国际社会所认同。
  “人口红利”并不难理解。一国人口结构从“高出生、低死亡、高增长”到“低出生、低死亡、低增长”的转变过程中,要经历三个阶段:第一阶段,总人口中青少年比例较高,社会抚养负担重;第二阶段,劳动适龄人口比例高,社会抚养负担轻;第三阶段,人口老龄化高峰来临,社会抚养负担变重。在第一阶段已过去而第三阶段尚未来临时,劳动力人口供给充分,社会负担轻,劳动力价格便宜、储蓄率高,使经济获得额外增长源泉,就形成了“人口红利”。
  这个过程,西方发达国家走了几十年到一百多年的时间,因此“人口红利”并不明显。而经过30年的不懈努力,我国人口过快增长的势头得到有效控制,也迅速实现了人口再生产类型由“高出生、低死亡、高增长”向“低出生、低死亡、低增长”的历史性转变,从而使人口年龄结构表现为明显的“两头小、中间大”。
  有研究表明,1978年,平均一名劳动力要抚养0.603个未成年人和赡养0.081个65岁以上老年人。2006年,则变为一名劳动力负担0.255个儿童和0.127个老年人。这28年间, 少儿抚养负担年均以1.24%的幅度降低, 而老年负担则以0.166%的幅度增加,两者相抵,总抚养负担每年以1.075%的幅度降低。这样,劳动年龄人口多,社会总抚养负担降低,劳动力供应充足、成本低,产生了明显的“人口红利”。
  过去30年,中国经济持续快速增长,GDP年均增长率超过9%,广东更超过13%,这当中确实有很多“人口红利”的影子。上世纪80年代末,青壮年劳动力纷纷南下,广东等地形成了汹涌“民工潮”,千千万万打工仔、打工妹推动了劳动密集型产业的迅猛发展,并以此不断向内地扩展,助推中国经济的历史性起飞。
  据中国社科院研究员蔡昉的研究,我国人口抚养比例每下降一个百分点,人均GDP增加0.115个百分点,中国人均GDP增长率中有27%的贡献来自于“人口红利”。
  然而,“人口红利”既然是人口转变过程中的中间阶段,也就注定终有消失的时候。2004年前后,距“民工潮”兴起不过15年左右,珠三角、长三角等地用工形势迅速转变,“民工潮”变成“民工荒”,并且同样迅速地向内地扩展,各地近年都陆续出现“招工难”的情况。“人口红利”开始消失,越来越受到关注。
  据蔡昉预测,从2000年到2010年,我国劳动年龄人口只增加了约1%,到2015年,中国的劳动年龄人口将不再增长。大概从2013年开始,我们的人口抚养比就将不再下降。也就是说,2013年或2015年前后,随着我国人口老龄化程度提高,劳动年龄人口比重下降,我国传统意义上的“人口红利”应该说就消失了。
  短短数年间,一向被认为中国几近“无限供给”的劳动力,居然正面临短缺———这确实是一个让我们吃惊,却又不能不面对的话题。

การสูญเสีย ความได้เปรียบทรัพยากรมนุษย์ แก่ก่อนรวยต้องเจอปัญหาอะไรบ้าง

ความได้เปรียบด้านทรัพยากรคนในแง่ของเศรษฐศาสตร์และมนุษยศาสตร์กลายเป็นคำพูดติดปากสำหรับสื่อต่างๆไปแล้ว

ในปีนี้ หลายๆแห่งในประเทศจีนได้ทยอยกันปรับขึ้นเงินเดือนขั้นต่ำ กลายเป็นกระแสขึ้นเงินเดือนสำหรับภาคธุรกิจไปแล้ว เป็นเพราะว่าความได้เปรียบทางทรัพยากรคนกำลังจะหายไป ถ้าไม่ขึ้นเงินเดือนก็อย่าหวังว่าจะหาลูกจ้างได้

เดือนตุลาคมเป็นต้นมา เมืองที่มีประชากรสูงอายุจำนวนมากที่สุดอย่างเซี่ยงไฮ้ได้ทดลองให้เกษียณอายุการทำงานช้าลงอย่างนิ่มๆ ตัวเลขล่าสุดได้ออกมาระบุว่า อีกยี่สิบปีให้หลังประเทศจีนจะมีแรงงานสองคนเลี้ยงดูประชากรที่เกษียณอายุแล้วหนึ่งคน มีคนออกมาให้ความเห็นเกี่ยวกับการวิจัยยืดเวลาเกษียณเพื่อรับมือกับการสูญเสียความได้เปรียบด้านทรัพยากรมนุษย์และความกดดันจากจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น

ทำอย่างไรทรัพยากรมนุษย์ถึงกลายเป็นความได้เปรียบ? ประชากรจีนมีมากมาย ความได้เปรียบนี้จะหายไปจริงหรือ? ถ้าสูญเสียความได้เปรียบนี้ จะเกิดอะไรขึ้นกับการพัฒนาเศรษฐกิจของจีนในระยะยาว?

อะไรคือความได้เปรียบด้านทรัพยากรมนุษย์

แรงงานที่มีมากมาย ภาระของสังคมเบาขึ้น ค่างจ้างแรงงานถูก อัตราเงินเก็บของประชากรสูงขึ้น ทำให้มีเงินมาอุดหนุนภาคเศรษฐกิจ สภาพการณ์แบบนี้ถูกเรียกว่าความได้เปรียบทางทรัพยากรมนุษย์

ในปี 2556 หรือในปี 2558 จะเป็นจุดเปลี่ยนของการสูญเสียความได้เปรียบด้านทรัพยากรมนุษย์ในจีน ในสายตาของผู้รู้หลายคน คำพูดนี้เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป

ในปี 2540 ได้มีผู้รู้ชาวต่างชาติเอ่ยถึงความได้เปรียบด้านทรัพยากรมนุษย์เป็นครั้งแรก ในปีต่อมามันได้ถูกกองทุนสหประชาชาติเพื่อประชากรใช้ในวารสารประจำปีและได้กลายเป็นสิ่งที่ประชาคมโลกให้การยอมรับ

ความได้เปรียบด้านประชากรไม่ใช่เรื่องที่เข้าใจยาก การเปลี่ยนแปลงที่โครงสร้างของแต่ละประเทศพัฒนาจาก เกิดเยอะ ตายน้อย จำนวนประชากรสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็น เกิดน้อย ตายน้อย จำนวนประชากรสูงขึ้นไม่มากนั้นจะต้องผ่านสามช่วงเวลาด้วยกัน หนึ่ง ประชาชนวัยรุ่นมีจำนวนมาก ภาระในการเลี้ยงดูสูง สอง อัตราแรงงานต่อประชากรมีสูง ภาระในการเลี้ยงดูต่ำ สาม ประชากรสูงอายุเพิ่มสูงขึ้นเริ่มมาถึง ภาระในการเลี้ยงดูสูง ในตอนที่ช่วงแรกผ่านพ้นไปแล้วแต่ช่วงเวลาที่สามยังไม่มาถึงจะมีแรงงานเพียงพอต่อความต้องการ ภาระในการเลี้ยงดูไม่สูง ค่าแรงต่ำ อัตราเงินเก็บสูง เป็นแหล่งเงินสนับสนุนเศรษฐกิจ ได้กลายเป็นความได้เปรียบด้านทรัพยากรมนุษย์

ประเทศในแถบยุโรปได้ผ่านขั้นตอนนี้มาเป็นเวลาหลายสิบปีถึงร้อยกว่าปี เพราะฉะนั้นเราจึงเห็นมันได้ไม่ชัดเจนนัก จามความพยายามของสามสิบปีของประเทศจีน ทำให้อัตราการเกิดที่พุ่งทะยานสูงได้รับการควบคุม ขณะเดียวกันก็เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งประวัติศาสตร์จาก เกิดเยอะ ตายน้อย จำนวนคนเพิ่มสูงอย่างรวดเร็วมาเป็น เกิดน้อย ตายน้อย จำนวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ โครงสร้างสังคมก็กลายเป็น สองปลายเล็ก ตรงกลางใหญ่

ผลการวิจัยระบุว่าในปี 2521 คนวัยทำงานหนึ่งคนต้องเลี้ยงดูผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 0.603 คน และต้องเลี้ยงดูผู้สูงอายุที่อายุเกิน 65 จำนวน 0.081 คน ในปี 2549 ได้กลายเป็นคนวัยทำงานหนึ่งคนต้องเลี้ยงดูผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 0.255 คน และต้องเลี้ยงดูผู้สูงอายุ 0.127 ภายใน 28 ปีที่ผ่านมานี้ ภาระการเลี้ยงดูเด็กได้หายไป 1.24% แต่ทว่าภาระเลี้ยงดูผู้สูงอายุเพิ่ม 0.166% เมื่อนำสองช่วงเวลานี้มาเปรียบเทียบกัน ภาระในการเลี้ยงดูลดลง 1.075% ทุกปี ดังนั้นคนวัยทำงานยิ่งเยอะ ภาระในการเลี้ยงดูก็ยิ่งต่ำ แรงงานมีอย่างเพียงพอ ต้นทุนต่ำ เห็นได้ชัดถึงความได้เปรียบทางทรัพยากรมนุษย์

สามสิบปีที่ผ่านมาเศรษฐกิจของประเทศจีนพัฒนาอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง จีดีพีเติบโตมากกว่า9%ทุกปี ที่กวางตุ้งเติบโตมากกว่า 13% สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความได้เปรียบด้านทรัพยากรมนุษย์ ในปลายทศวรรษที่ แรงงานหนุ่มสาวต่างทยอยเดินทางสู่ทางใต้ เช่นที่กวางตุ้ง ทำให้พื้นที่แถบนี้กลายเป็นจุดศูนย์รวมแรงงาน จำนวนแรงงานนับพันนับหมื่นกลายเป็นแรงกระตุ้นการเติบโตของกิจการที่ใช้แรงงานในการผลิตอย่างมหาศาล อีกทั้งยังเติบโตอย่างไม่หยุดยั้ง เป็นแรงผลักดันให้การเติบโตของเศรษฐกิจจีนครั้งประวัติศาสตร์ครั้งนี้

ผลจากการสำรวจและวิจัยของเจ้าหน้าที่สังคมศาสตร์ ภาระการเลี้ยงดูของประเทศจีนจะลดลงหนึ่งร้อยเปอร์เซ็นต์ อัตราจีดีพีต่อคนเพิ่ม เปอร์เซ็นต์ อัตราการเพิ่มของจีดีพี 27% มาจากความได้เปรียบด้านทรัพยากรมนุษย์

ความได้เปรียบด้านทรัพยากรมนุษย์คือส่วนหนึ่งของจุดเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากร แน่นอนมันย่อมมีโอกาสสูญหายไป หลังจากปี 2547 จุดศูนย์รวมแรงงาน นั้นไม่สามารถยืนหยัดได้นานกว่าสิบห้าปี ปากแม่น้ำหลายแห่งนอกจากที่กวางตงถูกใช้ไปในทางที่เปลี่ยนไป จากจุดศูนย์รวมแรงงานกลายเป็นขาดแคลนแรงงาน อีกทั้งยังมีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ในหลายพื้นทยอยเกิดขาดแคลนแรงงานตามมาเรื่อยๆ ความได้เปรียบด้านแรงงานได้เริ่มสูญเสียไปแล้ว นับวันจะได้รับความสนใจมากขึ้นเรื่อยๆ

จากการสำรวจและวิจัยสามารถคาดเดาได้ว่า นับจากปี 2543 ถึง ปี 2553 คนวัยแรงงานเพิ่มปีละ 1% เท่านั้น จนถึงปี 2558 แรงงานจีนจะไม่การเพิ่มขึ้น ประการไว้ว่าตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นไป ภาระการเลี้ยงดูประชากรจะไม่ลดลง หรือพูดอีกทางหนึ่งคือ หลังจากปี 2556 หรือ ปี 2558 จำนวนแรงงานจะลดลงเนื่องจากจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น ความได้เปรียบด้านทรัพยากรมนุษย์ที่มีมาอย่างยาวนานก็คงจะสูญหายไป

ในเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ จีนถูกเข้าใจว่าเป็นแหล่งแรงงานที่ไม่มีวันหมด แต่จีนกำลังเผชิญกับภาวะขาดแคลนแรงงาน เรื่องนี้ทำให้เราตกใจไม่น้อย อีกทั้งยังไม่สามารถเผชิญหน้ากับปัญหาได้



เรากำลังทดลองแปลงานอยู่ เพราะอยากเป็นนักแปลมากที่สุดเลยในตอนนี้ ในที่สุดก็แปลเสร็จหนึ่งตอน ยากมากมาย ฮือๆ จะมีคนอ่านรู้เรื่องไหมอ่ะ



Create Date : 11 ตุลาคม 2553
Last Update : 11 ตุลาคม 2553 19:43:51 น.
Counter : 801 Pageviews.

1 comments
  
พยายามเข้าครับ..
โดย: วลี.. วันที่: 28 พฤศจิกายน 2553 เวลา:18:39:37 น.
ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
 *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

นางสาวคานทอง
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]



All Blog