Group Blog
 
All blogs
 

Kefir & Probiotics (ENG)

Kefir


The drink we now call Kefir (it is sometimes pronounced Kee-Fur) originated in ancient times when Eastern nomadic shepherds discovered that fresh milk carried in leather pouches would occasionally ferment into a deliciously effervescent beverage. Once the accidental process was discovered, this bubbly refresher became popular throughout the known world. It is thought to originate from the Turkish word “Keif” meaning “good feeling”, for the sense of well-being experienced after drinking it.

Outside of the Balkans, kefir was scarcely known. Marco Polo spoke of kefir in his travels. After that it was forgotten for several hundred years in the West. Renewed interest in kefir occurred in the West in the early nineteenth century as it was found to be useful therapeutically for the treatment of tuberculosis at sanitariums. The World Health Organization says that many other countries have successfully used kefir in the treatment of tuberculosis.


Kefir is extremely high in lactic acid. One of the foremost studies of lactic acid was conducted by a European, Dr. Johannes Kahl, who recommended as a protection against cancer, a wholesome natural diet reinforced with liberal daily amounts of lactic acid fermented foods. Dr. Kahl mentioned kefir, sourdough dark bread, sauerkraut, pickled beets, and pickled cucumbers.


In many parts of the Caucasus Mountains, the natives (many who are still active and live past 100 years of age) drink kefir. The kefir grain with its fermenting yeasts and bacteria is added to fresh milk which is then permitted to sour.
What are the unique properties of kefir? Many Naturopathic doctors consider kefir to be the best remedy for digestive troubles because it has a very low curd tension. This means that the curd breaks up very easily into extremely small particles. The curd of yogurt, on the other hand, holds together or breaks up into lumps. The small size of the kefir curd facilitates digestion by presenting a large surface for the digestive agents to work on.
Kefir, because it is such an easily digested nutritious food is ideal for infants, pregnant women, nursing mothers, convalescents, the elderly, people who suffer from constipation or those who have other abnormal digestive activity.
An international Nobel Prize winning researcher, Elie Metchnikoff (1908) found that kefir activates the flow of saliva, most likely due to its lactic acid content and its slight amount of carbonation. Kefir stimulates peristalsis and digestive juices in the intestinal tract. For these reasons it is recommended as a post-operative food since most abdominal operations cause the bowels to stop contracting and pushing food along (peristalsis).
Candida is usually a condition where there is an excessive growth of yeast cells. In reference to Candida, Dr. Orla-Jenson, a noted Danish bacteriologist specializing in dairy research states that “Kefir digests yeast cell and has a beneficial effect on the intestinal flora”.


Kefir has mild laxative properties. In Germany and many parts of Asia it is used extensively with cases of chronic constipation and is used for wide variety of intestinal disorders. It is also recommended to restore the intestinal flora of people who are recovering from a serious illness or being treated with antibiotics. It has also been effective for people who can not tolerate dairy products. Kefir is predigested due to the fermentation process and is therefore much easier to digest.

By Dr. Steven Novil, Ph. D.




Probiotics

Trace the origins of the word “probiotic,” and you’ll find out that it means “beneficial to life.” Considering that it goes back 2000 years, Kefir is the original probiotic, long before it was ever a buzzword in the health community.

Probiotics are not the easiest thing to explain, but here’s the basic lowdown. Probiotics are friendly bacteria that help strengthen your body. Once they are in your system, research shows evidence that they help boost immunity, promote better digestion, lower cholesterol levels and may even help prevent the development of cancer-causing toxins. They also may help aid with weight loss, ADD, lactose-intolerance and regulating the body after you take antibiotics. Quite an impressive list of reasons to consume probiotics on a regular basis, don’t you think?

Essentially, probiotics work by strengthening and cleansing your digestive system. In order to be considered probiotic, the bacteria must be present in sufficient numbers of live and active cultures; resistant to acid and bile; able to attach to the intestinal wall and colonize the intestinal tract; and beneficial to health.

Probiotics can be taken in pill form, but most experts agree that it is better to get any nutrient through food consumption. While pills may be convenient, they must be from a reputable manufacturer, so that you can be sure that the cultures are live and active, and labeled with the correct expiration date. Often the processing of pills causes the cultures to become inactive. With Lifeway Kefir, that’s not an issue, plus you’ll get the added benefits of calcium, Vitamins A, C and D, lactic acid and potassium. Plus Lifeway Kefir is just so much more delicious than a big old pill.



To get the most probiotic benefit, you should have three servings of Lifeway Kefir a day. If that’s not do-able, probiotics are especially helpful during times of sickness, pregnancy or nursing, to soothe indigestion, to counteract the effects of antibiotics, to minimize a hangover, or after a garlic-heavy meal (to neutralize bad bacteria and control bad breath).

ที่มา
//www.lifeway.net/LifewayWorld/KefirProbiotics.aspx




 

Create Date : 24 มกราคม 2553    
Last Update : 24 มกราคม 2553 22:55:13 น.
Counter : 852 Pageviews.  

ปฎิษัติโครงงาน การผลิตโยเกิร์ตจากเชื้อคีเฟอร์

ที่มา //www.krualisara.com/toy3.htm



บทที่ 1

บทนำ

ความสำคัญและความเป็นมา

ปัจจุบันคนเราหันมาใส่ใจเรื่องของ สุขภาพ กันมากขึ้น การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์จึงเป็นสิ่งสำคัญของทุกคน โยเกิร์ต คือ 1 ในอาหารที่คนนิยมรับประทาน เนื่องจาก โยเกิร์ต เป็นอาหารที่ดีต่อ สุขภาพ แถมยังช่วยทำให้คนเราอายุยืนอีกด้วยโยเกิร์ตทำมาจากนมที่หมักโดยการเติมเชื้อจุลินทรีย์ชนิดดี ที่จัดอยู่ในจำพวก "โพรไบโอติก" ซึ่งจะเปลี่ยนน้ำตาลนม(แลคโตส) เป็นกรดแลคติก นมจึงเปลี่ยนสภาพเป็นกึ่งเหลวกึ่งข้น มีรสเปรี้ยวคล้ายนมบูด การกินโยเกิร์ตมีส่วนช่วยเพิ่มจำนวนจุลินทรีย์ชนิดดีให้ระบบลำไส้ได้

ยังไม่นับกับกรรมวิธีดูแลผิวพรรณและเส้นผมอีกหลากหลายสูตรซึ่งมักจะนำโยเกิร์ตเข้าไปเป็นส่วนผสมสำคัญ จากประโยชน์สารพัดอย่างของโยเกิร์ต ผู้ที่เอาใจใส่ต่อสุขภาพก็มักจะมีโยเกิร์ตติดบ้านไว้เสมอ

ดังนั้นทางกลุ่มจึงคิดที่จะทำโยเกิร์ตเพื่อมีไว้ใช้ในบ้านโดยไม่สิ้นเปลืองเงิน เพราะราคาโยเกิร์ตตามท้องตลาดในปัจจุบันอยู่ราวๆกระป๋องละ 12-15 บาท ทางกลุ่มจึงศึกษาวิธีการทำโยเกิร์ตจากเอกสาร หนังสือ ตำรา วารสาร และอินเตอร์เน็ต พอสรุปได้ว่าโยเกิร์ตสามารถทำขึ้นใช้เองได้ และทำได้หลายวิธี แต่วิธีที่สะดวกและน่าสนใจวิธีหนึ่งคือการทำโยเกิร์ตจากเชื้อบัวหิมะธิเบต หรือ คีเฟอร์ ( Kefir ) ซึ่งเป็นพืชตระกูลเดียวกับ “ เห็ด ” และ “ ยีสต์ ” นมหรือโยเกิร์ตที่ได้จากการเพาะเลี้ยงบัวหิมะนี้ จะมีรสและกลิ่นเปรี้ยว ซึ่งไม่ใช่นมบูด แต่มีกระบวนการย่อยสลายเหมือนกับการบูดของอาหาร ต่างกันที่จุลินทรีย์ที่ใช้หมักบัวหิมะนี้ เป็นจุลินทรีย์ที่ดี มีประโยชน์ต่อร่างกาย กินแล้วไม่ท้องเสีย อีกทั้งยังสามารถนำมาพอกผิวหน้าทำให้ผิวนุ่มขึ้น

ดังนั้นทางกลุ่มจึงคิดว่าควรศึกษาการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์ว่าจะมีการเจริญเติบโตได้ในสภาวะแบบใด ทำอย่างไรจึงจะสามารถขยายให้มีปริมาณมากขึ้นเพื่อให้สามารถทำโยเกร์ติให้มาก และมีประสิทธิภาพมากขึ้นได้ต่อไป

จุดประสงค์

1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์ ระหว่างการเลี้ยงด้วยนมวัวพาสเจอร์ไร

ต่างฉลากสินค้า

2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์ โดยใช้นมวัวที่ผ่านกระบวนการพาสเจอร์ไร สเตอร์ริไร

3. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์กับระยะเวลาที่เหมาะสมในในการเจริญเติบโต



ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า

ขอบเขตประชากร เชื้อคีเฟอร์

ขอบเขตเนื้อหา การศึกษาการเจริญเติบโตของคีเฟอร์ที่ใช้ทำโยเกิร์ต

ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง

การทดลองตอนที่ 1 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์ ที่ใช้ทำโยเกิร์ต ระหว่างการ

เลี้ยงด้วยนมวัวที่ผ่านกระบวนการพาสเจอร์ไร ต่างฉลากสินค้า

ตัวแปรต้น เชื้อคีเฟอร์

ตัวแปรตาม การเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์

ตัวแปรควบคุม น้ำนม ควบคุมในเรื่องใช้นมพาสเจอร์ไรสลากสินค้าชนิดเดียวกัน ปริมาณ

น้ำนมที่ใช้เลี้ยง ภาชนะที่ใช้เลี้ยง ระยะเวลาที่ใช้เลี้ยง



การทดลองตอนที่ 2 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์ ที่ใช้ทำโยเกิร์ต

โดยใช้นมวัวที่ผ่านกระบวนการพาสเจอร์ไร และนมวัวที่ผ่านกระบวนการสเตอร์ริไร

ตัวแปรต้น เชื้อคีเฟอร์

ตัวแปรตาม การเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์

ตัวแปรควบคุม น้ำนม ที่ใช้ทั้งนมพาสเจอร์ไรและสเตอร์ริไรเป็นสลากสินค้าชนิดเดียวกัน ปริมาณที่ใช้เลี้ยง ภาชนะที่ใช้เลี้ยง ระยะเวลาที่ใช้เลี้ยง



การทดลองตอนที่ 3 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์กับระยะเวลาที่เหมาะสมในการหมักให้เป็นโยเกิร์ตพอกหน้าที่มีกลิ่นและรสที่พอเหมาะ

ตัวแปรต้น เชื้อคีเฟอร์

ตัวแปรตาม การเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์

ตัวแปรควบคุม น้ำนมที่ใช้เป็นน้ำนมประเภทพาสเจอร์ไรสลากสินค้าชนิดเดียวกัน ปริมาณที่ใช้เลี้ยง ภาชนะที่ใช้เลี้ยง



ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. สามารถผลิตโยเกิร์ตที่ใช้สำหรับรับประทานและพอกหน้าไว้ใช้ในครัวเรือน

2. ได้ฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ และกระบวนการทำงานกลุ่ม











บทที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง



ความหมายของโยเกิร์ต

โยเกิร์ตเป็นผลิตภัณฑ์นมซึ่งผ่านขบวนการหมัก ทำให้มีรสเปรี้ยวและมีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว ซึ่งมีต้นกำเนิดแถวเทือกเขาคอเคซัสของรัสเซีย ในโยเกิร์ตจะประกอบด้วยแบคทีเรียหลักๆ 2 ชนิดด้วยกันคือ Streptococcus thermophilus และ Lactobacillus bulgaricus ซึ่งแบคทีเรียเหล่านี้จะทำปฏิกิริยาเปลี่ยนนมให้เป็นโยเกริ์ต

ประโยชน์ของโยเกิร์ต

คุณค่าทางอาหารของโยเกิร์ตนั้นจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับปริมาณแบคทีเรียที่ยังมีชีวิตในโยเกิร์ตในขณะที่รับประทาน ดังนั้นขบวนการผลิต การบรรจุ การเก็บ ตลอดจนการขนส่ง ล้วนแล้วแต่มีผลต่อคุณภาพของโยเกิร์ต ถึงแม้ว่าจะไม่มีมาตรฐานที่แน่นอนในการกำหนดคุณภาพของโยเกิร์ต แต่โยเกิร์ตที่ดีควรมีแบคทีเรียที่ยังมีชีวิต 100 ถึง 1000 ล้านตัวต่อปริมาณโยเกิร์ต 1 มิลลิกรัม

กระเพาะอาหารจัดเป็นปราการสำคัญในการกำจัดเชื้อโรค เนื่องจากความเป็นกรดใรกระเพาะสามารถฆ่าแบคทีเรียหลายๆชนิดก่อนที่เชื้อโรคเหล่านี้จะผ่านไปยังลำไส้ แบคทีเรียในโยเกิร์ตก็เช่นเดียวกัน จะถูกทำลายไปจำนวนหนึ่งเมื่อผ่านไปที่กระเพาะอาหาร ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องรับประทานโยเกิร์ตในปริมาณที่มากพอ เพื่อให้แบคที่เรียที่มีประโยชน์เหล่านี้จำนวนหนึ่งเหลือรอดผ่านไปยังลำไส้ได้ อย่างไรก็ตามในลำไส้เองก็มีแบคทีเรียมากมายหลายประเภทอาศัยอยู่ บางชนิดมีประโยชน์ต่อร่างกาย บางชนิดไม่มีประโยชน์ เมื่อเรารับประทานโยเกริ์ต แบคทีเรียที่อยู่ในโยเกิร์ตจัดเป็นสิ่งแปลกปลอมของร่างกาย แบคทีเรียเหล่านี้จึงไม่สามารถที่จะเกาะติดผนังลำไส้ได้ ดังนั้นจึงถูกขับออกจากลำไส้อย่างรวดเร็ว ในรูปของอุจจาระ

การรับประทานโยเกิร์ตให้ได้รับประโยชน์เต็มที่นั้นต้องรับประทานเป็นประจำและต้องเป็นปริมาณที่มากพอ เพื่อให้มีปริมาณแบคทีเรียในลำไส้ปริมาณหนึ่ง เนื่องจากแบคทีเรียในโยเกิร์ตจะถูกขับออกจากร่างกายในเวลาไม่นานนัก

โยเกิร์ตจัดเป็นผลิตภัณฑ์ประเภท probiotics ซึ่งหมายถึงอาหารที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตซึ่งเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เนื่องจากสามารถปรับสมดุลของเชื้อจุลินทรีย์ในลำไส้ของผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์ประเภท probiotics นอกจากโยเกิร์ตแล้ว ยังได้แก่ นมเปรี้ยว ผักดอง คีเฟอร์



สำหรับประโยชน์ของโยเกิร์ตทั่วๆไปมีคุณสมบัติย่อยง่าย เนื่องจากมีเอมไซน์ช่วยย่อยโปรตีนเคซีน ซึ่งเป็นโปรตีนที่ย่อยยาก ส่งผลให้ร่างกายดูดซึมไปใช้ได้ง่ายขึ้น ลดปัญหาภูมิแพ้ต่อ น้ำตาลแลคโตสอีกทั้งยังสร้างภูมิคุ้มกันกลุ่มแบคทีเรียที่ดีที่อาศัยอยู่ภายในลำไส้ นอกจากนี้ยังเห็นผลในการบรรเทาอาการท้องเสียท้องเดิน เพราะจากการศึกษาวิจัยพบว่าผู้ป่วยเด็ก หายจากอาการท้องเสียเร็วขึ้น หลังจากได้รับประทานโยเกิร์ต ตลอดจนการช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจเนื่องจากจุลินทรีย์แลคโตบาซิลัส ช่วยควบคุมปริมาณโคเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในเลือดได้ อย่างไรก็ตามการรับประทานโยเกิร์ตยังสามารถป้องกันการเกิดโรคมะเร็งได้อีกด้วย เพราะแลคโตบาซิลัสสามารถช่วยยับยั้งกลุ่มแบคทีเรียในลำไส้ที่สร้างสารไนเตรท ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งตัวหนึ่ง พร้อมกับช่วยเปลี่ยนสารฟลาโวนอยด์จากพืชให้เป็นสารต้านมะเร็งได้ ยังไม่นับกับกรรมวิธีดูแลผิวพรรณและเส้นผมอีกหลากหลายสูตรซึ่งมักจะนำโยเกิร์ตเข้าไปเป็นส่วนผสมสำคัญ



ขั้นตอนการผลิตโยเกิร์ต

การผลิตโยเกิร์ตจากเชื้อคีเฟอร์

1. นำบัวหิมะหรือคีเฟอร์มาใส่นมแค่พอท่วมปิดหมด ไม่ต้องใส่นมหมดกล่อง เพื่อให้เมล็ดบัวหิมะได้มีเวลาปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ และไม่บอบช้ำจนเกินไป

2. ทิ้งไว้1-2 วันหากระชอนกรองที่เป็นพลาสติก หรือกระชอนผ้า ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 นิ้ว เทนมที่เลี้ยงคีเฟอร์หรือบัวหิมะลงไป ร่อนเอาส่วนที่เป็นโยเกิร์ตลงในภาชนะที่สะอาด

3. ล้างคีเฟอร์ด้วยน้ำสะอาด โดยอาจใช้วิธีปล่อยน้ำไหลผ่าน หรือแกว่งในน้ำสะอาด จนกระทั่งสะอาด ซับน้ำออกให้แห้ง จึงนำไปใส่ภาชนะใหม่
4. เทนมใหม่ ใส่ต่อต่อไป

5. นำโยเกิร์ตที่ได้เก็บไว้ในตู้เย็น สามารถนำมารับประทาน หรือทาหน้าเพื่อให้ผิวหน้านุ่มได้



ทำโยเกิร์ตด้วยตัวเอง
นำนมสดรสจืด 1 ลิตร ต้มด้วยไฟปานกลาง (ในภาชนะที่ล้างสะอาดและเช็ดให้แห้ง) พอเดือดอ่อนๆ ทิ้งไว้จนนมลดอุณหภูมิลงเหลือประมาณ 40 องศาเซลเซียส เติมโยเกิร์ตรสธรรมชาติลงไป ประมาณ 1 ถ้วย คนให้เข้ากัน แล้วเทแบ่งใส่ภาชนะที่มีฝาปิด วางทิ้งไว้นอกตู้เย็น 1 คืน ลองชิมดู ถ้ายังไม่เปรี้ยว อาจทิ้งไว้อีกประมาณ 2-3 ชั่วโมง หรือจนได้รสที่ต้องการ จึงนำเข้าแช่ตู้เย็น เวลาจะกินใส่ผลไม้ หรือธัญพืชที่ชอบลงไป คนให้เป็นเนื้อเดียวกัน โยเกิร์ตนี้เก็บไว้ในตู้เย็นได้ 2-3 วัน และเก็บไว้เป็นหัวเชื้อในครั้งต่อไปได้














บทที่ 3

วิธีดำเนินการทดลอง

อุปกรณ์

1. บีกเกอร์ขนาด 400 ml

2. กระชอนพลาสติก หรือกระชอนตักลูกน้ำ

3. กล่องพลาสติก

วัสดุ

1. เชื้อคีเฟอร์ 6 ช้อนโต๊ะ

2. นมวัวสลากสินค้าไทยเดนมาร์กชนิดพาสเจอร์ไรขนาด 250 มิลลิลิตร 2 กล่อง

3. นมวัวสลากสินค้าโฟร์โมสชนิดพาสเจอร์ไรขนาด 250 มิลลิลิตร 2 กล่อง

4. นมวัวสลากสินค้าไทยเดนมาร์กชนิดสเตอร์ริไรขนาด 250 มิลลิลิตร 2 ขวด



การทดลองตอนที่ 1 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์ ที่เลี้ยงด้วยนมวัวพาสเจอร์ไรรสจืด ฉลากสินค้าไทยเดนมาร์ก โฟร์โมสต์

วิธีดำเนินการทดลอ

1. นำเชื้อคีเฟอร์ปริมาณ 1 ช้อนตวงเบอร์ใส่ลงในกระป๋องพลาสติกใส

2. เติมนมพาสเจอร์ไรรสจืดฉลากไทย-เดนมาร์กปริมาณ 200 ซีซี กระป๋องพลาสติกมีเชื้อคีเฟอร์

3. ปิดฝา เขียนฉลากรายละเอียดติดข้างกล่องหรือฝากล่อง ทิ้งไว้ 24 ชม.

4. เมื่อครบ 24 ชม. นำมากรองโดยใช้กระชอนพลาสติกหรือกระชอนผ้าแยกเนื้อครีมที่มีลักษณะข้นคล้ายโยเกิร์ตออกจากเชื้อคีเฟอร์ นำเชื้อคีเฟอร์ ไปล้างด้วยน้ำสะอาด

5. นำคีเฟอร์ซับเอาน้ำออก จากนั้นใส่ไว้ในกระป๋องพลาสติกที่สะอาดและเติมน้ำนมเลี้ยงใหม่

6. ทดลองซ้ำข้อ 1-6 โดยเปลี่ยนน้ำนมเป็นพาสเจอร์ไรรสจืดฉลากโฟร์มสต์



















การทดลองตอนที่ 2 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์ ที่เลี้ยงด้วยนมวัวรสจืด พาสเจอร์ไร สเตอริไร ฉลากโฟร์โมสต์



วิธีดำเนินการทดลอง

1. นำเชื้อคีเฟอร์ปริมาณ 1 ช้อนตวงเบอร์ 1 ใส่ลงในกระป๋องพลาสติกใส

2. เติมนมพาสเจอร์ไรรสจืดฉลากโฟร์โมสต์ปริมาณ 200 ซีซี กระป๋องพลาสติกมีเชื้อคีเฟอร์

3. ปิดฝา เขียนฉลากรายละเอียดติดข้างกล่องหรือฝากล่อง ทิ้งไว้ 24 ชม.

4. เมื่อครบ 24 ชม. นำมากรองโดยใช้กระชอนพลาสติกหรือกระชอนผ้าแยกเนื้อครีมที่มีลักษณะข้นคล้ายโยเกิร์ตออกจากเชื้อคีเฟอร์ นำเชื้อคีเฟอร์ ไปล้างด้วยน้ำสะอาด

5. นำคีเฟอร์ซับเอาน้ำออก จากนั้นใส่ไว้ในกระป๋องพลาสติกที่สะอาดและเติมน้ำนมเลี้ยงใหม่

6. ทดลองซ้ำข้อ 1-6 โดยเปลี่ยนน้ำนมเป็นสเตอร์ริไรรสจืดฉลากโฟร์มสต์



การทดลองตอนที่ 3 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์ กับระยะเวลาที่เหมาะสม



วิธีดำเนินการทดลอง

1. นำเชื้อคีเฟอร์ปริมาณ 1 ช้อนตวงเบอร์ 1 ใส่ลงในกระป๋องพลาสติกใส

2. เติมนมพาสเจอร์ไรรสจืดฉลากไทยเดนมาร์ก ปริมาณ 200 ซีซี กระป๋องพลาสติกมีเชื้อคีเฟอร์

3. ปิดฝา เขียนฉลากรายละเอียดติดข้างกล่องหรือฝากล่อง ทิ้งไว้ 24 ชม.

4. เมื่อครบ 24 ชม. นำมากรองโดยใช้กระชอนพลาสติกหรือกระชอนผ้าแยกเนื้อครีมที่มีลักษณะข้นคล้ายโยเกิร์ตออกจากเชื้อคีเฟอร์ นำเชื้อคีเฟอร์ ไปล้างด้วยน้ำสะอาด

5. นำคีเฟอร์ซับเอาน้ำออก จากนั้นใส่ไว้ในกระป๋องพลาสติกที่สะอาดและเติมน้ำนมเลี้ยงใหม่

6. ทดลองซ้ำข้อ 1-6 โดยเปลี่ยนระยะเวลาจาก ทิ้งไว้ 24 ชม. มาเป็นทิ้งไว้ 36 ชม.




บทที่ 4

ผลการทดลอง



การจัดทำโครงงานเรื่องการศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของคีเฟอร์เพื่อใช้ทำโยเกิร์ต์ มีจุดประสงค์เพื่อ

1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์ ระหว่างการเลี้ยงด้วยนมวัวพาสเจอร์ไร

ต่างฉลากสินค้า

2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์ โดยใช้นมวัวที่ผ่านกระบวนการพาสเจอร์ไร สเตอร์ริไร

3. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์กับระยะเวลาที่เหมาะสมในในการเจริญเติบโตปรากฏผลการทดลองดังนี้



ตาราง 1 การเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์ ระหว่างการเลี้ยงด้วยนมวัวพาสเจอร์ไร ต่างฉลากสินค้า

18 ส.ค. 2551
นมไทยเดนมาร์ก
มีปริมาณเพิ่มขึ้นเล็กน้อย การเกาะกันเป็นเม็ดเล็กมีขนาดเท่ากับไข่ปลา สีขาว
นมโฟร์โมสต์
มีปริมาณเพิ่มขึ้นเล็กน้อย มีการเกาะกันเป็นเม็ดเล็กขนาดเท่ากับไข่ปลา สีขาว


25 ส.ค. 2551
นมไทยเดนมาร์ก
มีปริมาณเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ขนาดการเกาะกันเป็นเม็ดเล็กเท่ากับไข่ปลา บางก้อนมีขนาดใหญ่ขึ้นเท่าปลายนิ้วก้อย มีสีขาว
นมโฟร์โมสต์
มีปริมาณเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ขนาดการเกาะกันเป็นเม็ดเล็กเท่ากับไข่ปลา บางก้อนมีขนาดใหญ่ขึ้นเท่าปลายนิ้วก้อย มีสีขาว

31 ส.ค. 2551
นมไทยเดนมาร์ก
มีปริมาณเพิ่มขึ้นเท่าตัว ขนาดการเกาะกันเป็นเม็ดเท่าเม็ดฝรั่งเป็นส่วนใหญ่ และมีขนาดเท่าปลายนิ้วก้อย และขนาดเล็กๆเท่าไข่ปลาเล็กน้อย มีสีขาว
นมโฟร์โมสต์
มีปริมาณเพิ่มขึ้นเท่าตัว ขนาดการเกาะกันเป็นเม็ดเท่าเม็ดฝรั่งเป็นส่วนใหญ่ และมีขนาดเท่าปลายนิ้วก้อยและขนาดเล็กๆเท่าไข่ปลาเล็กน้อย มีสีขาว


สรุปจากตารางการเจริญเติบโตของเชื้อคีเฟอร์ ระหว่างการเลี้ยงด้วยนมวัวพาสเจอร์ไร ฉลากสินค้าไทยเดนมาร์ก และโฟร์โมสต์ มีการเจริญเติบโต ไม่มีความแตกต่างกัน







 

Create Date : 24 มกราคม 2553    
Last Update : 24 มกราคม 2553 1:54:13 น.
Counter : 6838 Pageviews.  

(บัวหิมะ)How is Kefir Made?

How is Kefir Made?


นม




นมแพะ




น้ำมะพร้าว





ที่มา //www.kefir.net/intro.htm

Kefir can be made from any type of milk, cow, goat or sheep, coconut, rice or soy. Although it is slightly mucous forming, the mucous has a "clean" quality to it that creates ideal conditions in the digestive tract for the colonization of friendly bacteria.

Kefir is made from gelatinous white or yellow particles called "grains." This makes kefir unique, as no other milk culture forms grains. These grains contain the bacteria/yeast mixture clumped together with casein (milk proteins) and complex sugars. They look like pieces of coral or small clumps of cauliflower and range from the size of a grain of wheat to that of a hazelnut. Some of the grains have been known to grow in large flat sheets that can be big enough to cover your hand!. The grains ferment the milk, incorporating their friendly organisms to create the cultured product. The grains are then removed with a strainer before consumption of the kefir and added to a new batch of milk.




 

Create Date : 12 มกราคม 2553    
Last Update : 12 มกราคม 2553 10:55:36 น.
Counter : 544 Pageviews.  

บทความ Kefir( บัวหิมะ )โดย รองศาสตราจารย์พรผจง เลาหวิเชียร ผู้อำนวยการวิทยาลัยการแพทย์ทางเลือก

นมคีเฟอร์เป็นผลิตภัณฑ์นมที่มีการหมักเพื่อผลิตนมที่มีกรดและแอลกลฮอล์เล็กน้อย กรดโนนม ชนิดนี้เป็นกรดแอซีติกและกรดแลคติค ทำให้เกิดความเปรี้ยว นมหมักคีเฟอร์ผลิตจากการหมักนมกับเม็ดคีเฟอร์ (kefir grain)
การทำนมคีเฟอร์ เดิมทีแพร่หลายในชนเผ่าพื้นเมืองของพวกคอเคซัส โดยพระธิเบลจากเทือกเขาเกียนเป็นคนเผยแพร่ และศาสตราจารย์นายแพทย์ชาวโปแลนด์นำไปเผยแพร่ในยุโรปเนื่องจากสามารถรักษามะเร็งได้ ต่อมาได้กระจายทั่วไปในกลุ่มประเทศทางตะวันตก การหมักนมคีเฟอร์ในชนเผ่าดั้งเดิม หมักไว้ในถุงหนังสัตว์แล้ววางไว้ใกล้ประตูบ้าน เมื่อคนผ่านเข้าออกประตูบ้าน ก็จะผลักถุงหรือแตะถุงนมเพื่อให้เกิดการผสมกันของนม สำหรับในประเทศไทยส่วนใหญ่ได้รับเม็ดคีเฟอร์มาจากประเทศธิเบต “เม็ดคีเฟอร์” หรือที่รู้จักกันในนามของชื่อ “บัวหิมะ” คือ การรวมกลุ่มของจุลินทรีย์หลายชนิดประกอบด้วย แลกติกแผลซิคแบคทีเรีย (Lactic acid bacteria) แลกโตคอกไค (Lactococci) ลิวโคนอสตอกส์ (Lcuconostoc) และยีสต์ (yeast) หลากหลายชนิด รวมถึงจุลินทรีย์อื่น ๆ อีกหลายชนิด ลักษณะเม็ดคีเฟอร์ มีสีขาวเหมือนดอกกะหล่ำ จุลินทร์เหล่านี้มาเกาะกลุ่มรวมกัน (cluster) แบบเอื้อประโยชน์แก่กันเป็นความสัมพันธ์แบบพึ่งพา (symbiosis) สร้างสารอาหารที่มีประโยชน์เป็นส่วนผสมในนมคีเฟอร์

แบคทีเรียและยีสต์หลายชนิดนี้ จะมีชีวิตอยู่รอดและเติบโตได้ดีต้องอาศัยการอยู่ร่วมกัน ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ชีวิตหนึ่งจะอยู่รอดได้ขึ้นอยู่กับสิ่งมีชีวิตอีกหลายสายพันธุ์ ความสัมพันธุ์แบบนี้เป็นการส่งเสริมการเป็นอยู่ซึ่งกันและกัน เมื่อไหรที่จุลิทรีย์ทั้งหลายเหล่านี้มาอยู่ร่วมกัน ก็จะสร้างสารที่มีประโยชน์การแยกสายพันธุ์บริสุทธิ์ออกมาเป็นสิ่งที่ทำได้ยาก เนื่องจากจุลินทรีย์เหล่านี้ไม่สามารถอยู่อย่างโดเดี่ยวได้เมื่อที่แยกกันอยู่ จุลิทรีย์เหล่านี้ไม่สามารถที่จะเจริญเติบโตได้ และกิจกรรมทางชีวเคมีที่สร้างสารที่มีประโยชน์จะลดลง นี่คือตัวอย่างการอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยอย่างแท้จริง (Margulis, 1995) การอยู่ร่วมกันของจุลินทรีย์เหล่านี้สอนสัจธรรมให้เราได้สำนึกว่า หากกลุ่มคนดีมาอยู่ร่วมกัน ช่วเหลือเกื้อกูลกัน เหมือนกลุ่มแบคทีเรีย และยีสต์ในคีเฟอร์ ย่อมสามารถสร้างสรรค์ค์ประโยชน์ให้สังคมได้อย่างใหญ่หลวง
นมคีเฟอร์ที่เกิดจากการหมักนมสดพลาสเจอร์ไรซ์กับเม็ดคีเฟอร์ เป็นนมที่มีลักษณะข้นเป็นครีมเนื้อละเอียด มีความสด รสเปรี้ยว มีฟองจากการหมักตัวของยีสต์ รสหวานเล็กน้อย เนื่องจากมีน้ำตาลแลคด๖ศ (lACTOSE) มีแรงตึงผิวน้อยทำให้ดื่มง่าย รสกลมกล่อมคล่องคอ มีกลิ่นเฉพาะตัว นมคีเฟอร์จะไม่บูดเพราะมีกรดจากแบคทีเรียในคีเฟอร์ ที่จะยับยั้งการทำงานของแบคทีเรียที่จะทำให้นมบูด
ภายหลังกระบวนการหมักนมคีเฟอร์ ผู้บริโภคสามารถกรองนมมาดื่มได้ทันทีโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการฆ่าเชื้อ (Pastcurization) ดังนั้นในนมคีเฟอร์จึงยังคงมีแบคทีเรีย และยีสต์ที่มีชีวิต และเป็นประโยชน์อาศัยอยู่ ความจริงในร่างกายของคนจะมีแบคทีเรียตัวดีเหล่านี้ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่เป็นเชื้อโรค บางครั้งการบริโภคยาหลายชนิด หรือบริโภคสารเคมีปนเปื้อนเข้าไปในร่างกาย จะไปทำลายแบคทีเรียที่ดีมีประโยชน์ ทำให้ร่างกายเราอ่อนแอ ภูมิคุ้มกันโรคต่ำ การดื่มนมคีเฟอร์จึงมีประโยชน์ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย เพราะในนมคีเฟอร์มีแบคทีเรียตัวดีหลากหลายชนิดที่ทำหน้าที่คอยเป็นทหารเอกคอยช่วยเราอยู่ รวมทั้งยีสต์สายพันธุ์ที่มีประโยชน์ในคีเฟอร์ เช่น Saccharomyces kefir และ Torula kefir จะควบคุมและกำจัดยีสต์ที่เป็นโทษต่อร่างกาย โดยการสร้างสารเคลือบผนังทางเดินอาหาร ทำให้ทางเดินอาหารสะอาด และแข็งแรงขึ้นอย่างน่าทึ่ง

ส่วนประกอบในนมคีเฟอร์
แบคทีเรีย และยีสต์ได้ผลิตนมที่มีประโยชน์มาก เนื่องจากแบคทีเรียเหล่านี้สร้างสารที่มีคุณค่าแก่ร่างกาย ได้แก่ กรดอะมิโนหลายชนิด เช่น ไลซีน โปรลีน ซีสเทอิน ไอโซลิวซีน ฟินิลแอลละนิน และอาร์จินิน วิตามินบีรวมหลากหลายชนิด เช่น B6 B12 B13 ไบโอดิน กรดโฟลิกปริมาณสูงวิตามินซี แลกโดส กรดแลกติก และแอลกอฮอล์เล็กน้อย

ประโยชน์ของนมคีเฟอร์
1. มีกรดโฟลิก (Folic acid) จำนวนมาก โดยเฉพาะหากทิ้งไว้ถึง 48 ชั่วโมง กรดโฟลิกจะเพิ่มมากถึง 116% จากปริมาณของนมเดิม กรดโฟลิกทำหน้าที่สร้างเลือด เม็ดเลือดแดงและป้องกันการพิการของทารกแรกเกิด จากผลการวิจัยพบว่า นมคีเฟอร์สามารถดื่มขณะมีครรภ์และสามารถนำมาเลี้ยงทารกได้ (Franworth,2003)
2. มีน้ำตาลเชิงซ้อนที่ละลายน้ำได้ ได้แก่คีเฟอแรน (Kefiran) ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่นทำเครื่องสำอาง ใช้นมคีเฟอร์ทาใบหน้าจะช่วยกระชับรูขุมขน ทำให้ใบหน้าดูอ่อนเยาว์ เต่งตึง และยังช่วยขจัดสิว คีเฟอร์แรนยังช่วยป้องกันการเกิดแผลพุพองในปากที่เกิดจากเชื้อรา(Thrush) ชนิด C.alhicans
3. มีวิตามินบีรวมหลายชนิด B6 B12 B13
4. ช่วยขยายเส้นเลือด ทำให้โลหิตมีการไหลเวียนดี เนื่องจากผลการหมักนมจะมีแอลกอฮอล์เป็นส่วนประกอบเล็กน้อย ตั้งแต่ 0.02% ไม่เกิน 1.5 %
5. มีวิตามิน เค ช่วยในการทำงานของตับไต
6. ช่วยให้ระบบต่างๆ ของร่างกายสร้างระบบภูมิคุ้มกันชีวิตที่ดีขึ้น รักษาภูมิแพ้
7. สามารถป้องกันโรคหัวใจ และระบบการทำงานของหัวใจที่บกพร่อง
8. ช่วยให้การทำงานของตับ ม้ามดีขึ้น
9. ป้องกันโรคนิ่วในถุงน้ำดี และช่วยสลายนิ่วในถุงน้ำดี
10. สร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย ขจัดเชื้อโรคที่จะเข้าสู่ร่างกาย
11. ช่วยปรับความดันโลหิตให้ปกติ
12. ระงับการแพร่กระจายของโรคมะเร็ง
13. ช่วยให้การทำงานของไต และกระเพาะปัสสาวะขึ้น
14. ทำให้ร่างกายสดชื่น ไม่อ่อนเพลีย ลดความเครียดได้ เพราะในคีเฟอร์มีทิพโทแฟน (Tryptophan) จำนวนมาก ซึ่งเป็นกรดอะมิโนจำเป็น ช่วยการทำงานของระบบประสาท นอกจากนี้ในนมคีเฟอร์ยังมี Ca และ Mg มากทำให้ความเครียดคลายลง
15. เนื่องจากนมชนิดนี้มีสภาพเป็นกรด จึงมีคุณค่าในการบำบัดโรค (Therapcutic) ของระบบทางเดินอาหาร โดยเชื้อแบคทีเรียที่มีประโยชน์ในนมคีเฟอร์ จะผลิตกรดออกมามีผลยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดอาการท้องเสีย ในลำไส้ และรักษาแผลในกระเพาะลำไส้ ลดการเกิดแก๊สในทางเดินอาหาร แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ และยังช่วยย่อยจึงทำให้ระบบขับถ่ายดี เนื่องจากนมคีเฟอร์อุดมสมบูรณ์ไปด้วยแร่ธาตุ และกรดอะมิโนที่จำเป็นมากชนิด จึงรักษาสุขภาพร่างกายได้แข็งแรง และโปรตีนในนมคีเฟอร์เป็นโปรตีนโมเลกุล ที่ง่ายต่อการดูดซึมไปเสริมสร้างร่างกาย ทำให้ร่างกายกลับมามีสุขภาพที่ดีขึ้น นอกจากนี้ เม็ดคีเฟอร์ยังช่วยลดคลอเรสเตอรอล ดดยถ้าหมักนม 24 ชั่วโมง ณ. อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซยสคลอเรสเตอรอลในนมจะลดลง 22.63 % จากปริมาณเริ่มต้น หมัก 48 ชั่วโมง คอลเรสเตอรอลในนมจะลดลง 41.84% ปัจจุบันมีการทดลองนำคีเฟอร์มารักษาคนไข้โรคเลือด เช่น ท่ลาสซีเมีย โลหิตจาง โรคเกร็ดเลือดต่ำ
16. ใช้ลดความอ้วนได้ ด้วยการดื่มนมคีเฟอร์แทนอาหารมื้อค่ำ
17. ช่วยย่อยน้ำตาลแลคโตส ไม่ว่าจะเป็นผู้ใหญ่หรือเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับขาดเอนไซม์ย่อยน้ำตาลในนม เมื่อดื่มนมคีเฟอร์แล้ว จุลินทรีย์ในนมคีเฟอร์จะช่วยย่อยน้ำตาลในนม ทำให้สามารถดื่มนมทุกชนิดได้โดยท้องไม่เสีย
ฯลฯ

ส่วนประกอบ และภาชนะในการเตรียมนมคีเฟอร์
1. เม็ดคีเฟอร์ 1-2 ช้อนโต๊ะ ต่อนม 1-2 ถ้วยประมาณ 200-250 ซีซี
2. นมที่ใช้สามารถใช้นมสดจากวัว จากแพะ ได้ทุกชนิด ทั้งพร่องไขมัน และไม่พร่องไข่มัน แต่ต้องผ่านกระบวนการพลาสเจอร์ไรซ์ (Pastcurize) จากประสบการณ์ การทำนมคีเฟอร์ของผู้เขียน ถ้าทำนมคีเฟอร์โดยใช้นมไม่พร่องไขมันจะได้นมคีเฟอร์รสดีไม่เปรี้ยวมาก ถ้าใช้นมพร่องไขมันจะได้นมคีเฟอร์ที่รสเปรี้ยวมาก และเม็ดคีเฟอร์จะอ่อนแออยู่ได้ไม่นาน ถ้าใช้นมถั่วเหลือง เม็ดคีเฟอร์จะขนาดเล็กลงมาก
3. ตะแกรงที่ใช้กรอง ช้อนตัก ควรใช้พลาสติก ไม้ ผ้า ไม่ควรใช้โลหะเพราะเม็ดคีเฟอร์เป็นกรด จะทำปฏิกิริยากับโลหะ เป็นผลต่อการเจริญ และผลผลิตของคีเฟอร์ได้ แต่อนุโลมให้ใช้ตะแกรงสแตนเลสได้ เนื่องจากเทผ่านเพื่อแยกเม็ดคีเฟอร์ในเวลาไม่นาน
4. ขวดใส่คีเฟอร์เพื่อเลี้ยง ควรเป็นขวดปากกว้างเป็นแก้วหรือ พลาสติก ห้ามทำด้วยโลหะเด็ดขาดเพราะเม็ดคีเฟอร์อยู่ในขวดนาน ควรใช้ขวดขนาด 750 ซีซี ถึง 1 ลิตร

วิธีทำนมคีเฟอร์
1. เทเม็ดคีเฟอร์ 1-3 ช้อนโต๊ะ ลงในขวดขนาด750 ซีซี แล้วเทนมสด 200-250 ซีซี ลงบนเม็ดคีเฟอร์ หรือประมาณ 2/3 ขวด อย่าให้นมเต็มขวด เนื่องจากเวลาเกิดการหมัก (Fcnncntation) จะเกิดแก๊ส CC2 หากปิดฝาจะระเบิดได้เพราะเกิดความดัน
2. ปิดฝาขวดด้วยผ้าขาวบางที่แห้งสะอาด วางไว้ในอุณหภูมิห้องที่ไม่โดนแสง ประมาณ 12- 24 ชั่วโมง จะได้นมคุณภาพดี รสอร่อย สำหรับประเทศไทยเป็นเมืองร้อน การหมักนมควรลดจำนวนชั่วโมงลง เพราะนมจะหมักได้ที่เร็วกว่าในต่างประเทศที่มีอากาศเย็น จากการทดลองเลี้ยง สามารถเทมาดื่มได้ตั้งแต่ 12-24 ชั่วโมง โดยปรับตามอุณหภูมิห้องในแต่ละสถานการณ์ ( ภาพที่ 3 )
3. เมื่อถึงเวลาที่นมพร้อมรับประทาน ตามปกติหมักไว้ 24 ชั่วโมง จะได้คุณภาพของนมดี ให้กรองส่วนผสมทั้งหมดลงในตะแกรงรองที่ไม่ใช่โลหะ ส่วนของเม็ดคีเฟอร์ จะติดอยู่ที่ตะแกรง ของเหลวส่วนที่ไหลผ่านผ้ากรองลงในภาชนะรองรับคือ นมคีเฟอร์ที่รสอร่อย สด และมีประโยชน์ สามารถดื่มได้ทันที หรือเก็บไว้ในตู้เย็น ดื่มตอนเช้า หรือก่อนนอนตอนท้องว่างดีที่สุด
กรณีที่ยังไม่มีเวลาในการกรองคีเฟอร์ออกมา ให้เก็บขวดส่วนผสมคีเฟอร์เข้าตู้เย็นไว้ก่อนการะบวนการหมักจะลดลง โดยนมคีเฟอร์ไม่เสื่อมคุณภาพ
4. นำเม็ดคีเฟอร์บนตะแกรงใส่กลับลงในขวดที่ล้างสะอาดแล้ว เติมนมสดตามขั้นตอนข้อ 1 ใหม่
5. ควรเขย่าขวดเลี้ยงวันละ 1-2 ครั้งเพื่อกันเชื้อรา
* ใส่เม็ดคีเฟอร์ลงในขวด เตรียมนม
* เทนมลงบนคีเฟอร์ ปิดฝาขวดด้วยผ้าขาวบาง
* นมคีเฟอร์พร้อมดื่ม หมักประมาณ 12-18 ชั่วโมง
* นมคีเฟอร์พร้อมดื่มหมัก 24 ชั่วโมง
* กรองเม็ดคีเฟอร์ออกจากนมคีเฟอร์

นมสดก่อนหมัก เนื้อนมเหลวเป็นเนื้อเดียวกัน
นมคีเฟอร์ เนื้อนมข้นเป็นก้อน (Curd) แยกชั้นกับส่วนของน้ำ (Whey)


ไม่ควรล้างเม็ดคีเฟอร์ เนื่องจากส่วนที่เม็ดคีเฟอร์ผลิตออกมาหุ้มตัวเม็ดไว้เป็น Polysaccharidc ชื่อคีเฟอแรน (Kefiran) มีประโยชน์ จะถูกทำลายไป อีกประการหนึ่งที่ไม่ควรล้างคือ เนื่องจากในน้ำมีคลอรีน ฟลูออไรด์ หรือจุลิทรีย์อื่นที่ไม่เป็นประโยชน์ สิ่งเหล่านี้จะขัดขวางการเจริญเติบโตของคีเฟอร์ และขัดขวางการเกาะกลุ่มกันของแบคทีเรีย และยีสต์ ซึ่งรวมกันอยู่โดยเอื้อประโยชน์ต่อกันในการสร้างสารที่มีประโยชน์ เช่น acid วิตามินB หลายชนิด วิตามิน K รวมทั้งร่วมกันผลิตสารต้านการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่จัทำให้นมบูด และต้านแบคทีเรียที่จะทำให้เกิดโรคท้องเสียด้วย โดยปกติเม็ดคีเฟอร์จะเจริญเติบโตดี และทำงานมีประสิทธิภาพในลัหษณะที่เป็นธรรมชาติมากกว่า ยกเว้น การล้าง ก่อนการพักเม็ดคีเฟอร์และคุณภาพของนมที่ผลิตออกมาด้วย

การหยุดพักเม็ดคีเฟอร์
การทำนมคีเฟอร์รับประทาน ควรทำรับประทานติดต่อกัน 20 วัน และหยุดพักเม็ดคีเฟอร์ 10 วัน การพักตัวของเม็ดคีเฟอร์ เป็นการเตรีมตัวเพื่อทำงาน (Warm up) จะทำให้การผลิตนมคีเฟอร์มีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ไม่ควรพักนานเกิน 1 เดือน เนื่องจากจะทำให้ระยะการกลับมาทำงานของเม็ดคีเฟอร์ช้าลง และเชื้อยีสต์ที่เป็นประโยชน์จะถูกทำลายไป


วิธีการหยุดพักเม็ดคีเฟอร์
การหยุดพักคีเฟอร์ ควรล้างเม็ดคีเฟอร์ด้วยน้ำต้มสุกที่เย็นแล้ว จนสะอาดก่อน
1. หยุดพัก 1 สัปดาหื หรือมากกว่า กระทำโดยการนำเม็ดคีเฟอร์ที่ล้างแล้วใส่ลงในภาชนะสะอาดแล้วเทนมสดปริมาณเท่ากับที่เคยใช้ใส่ลงในภาชนะที่มีเม็ดคีเฟอร์ ปิดทับด้วยผ้าขาวบาง แล้วนำเข้าตู้เย็น พอถึงเวลาที่กำหนดไว้ นำออกมากรองนมคีเฟอร์รับประทานได้ รสยังอร่อยเช่นเดิมแต่จะความเปรี้ยวจะลดลงมากเพราะกระบวนการหมักช้าลง หลังการพักเม็ดคีเฟอร์ความเปรี้ยวจะลดลง และระยะที่เม็ดคีเฟอร์จะกลับมาทำหน้าที่ผลิตนมได้ในลักษณะเดิมจะใช้เวลาอีกประมาณ 2-3 ครั้งที่เตรียมนม
2. การหยุดพักมากกว่า 1 สัปดาห์ดำเนินตามข้อ 1 พอสิ้นสุดสัปดาห์ นำมากรองนมคีเฟอร์รับประทาน แล้วเติมนมในปริมาณเดิม และเก็บเข้าตู้เย็น ( การพักเม็ดคีเฟอร์ตามข้อ 1 และ 2 ควรเขย่าขวดโดยการแกว่ง หรือใช้ช้อนพลาสติกคนเบาๆ วันละครั้ง เพื่อไม่ให้ผิวหน้านมนิ่งนานเพราะจะทำให้เกิดเชื้อรา)
3. การเก็บรักษาเม็ดคีเฟอร์ เพื่อให้มีชีวิตนานมากกว่า 2 เดือน (กรณีผู้เลี้ยงนมคีเฟอร์ไม่ได้อยู่ที่พักนานๆ )สามารถทำได้โดยวิธีแช่แข็งกระทำโดย
3.1 ล้างเม็ดคีเฟอร์ด้วยน้ำต้มสุก ที่ทิ้งไว้ให้เย็นแล้ว
3.2 วางเม็ดคีเฟอร์บนผ้าขาวบางที่ผ่านการรีดและทิ้งไว้จนเย็นแล้ว เพื่อซับน้ำที่ติดอยู่บนเม็ดคีเฟอร์
3.3 ใส่เม็ดเชื้อคีเฟอร์ที่ซับน้ำแล้ว ลงในขวดแก้วหรือขวดพลาสติก
3.4 ใส่นมผงลงบนตัวเชื้อคีเฟอร์ในขวดให้ทั่วตัว ห้ามใส่นมสด หรือน้ำใดๆลงไป
3.5 นำเข้าช่องแช่แข็งในตู้เย็น ไม่ควรเก็บนานเกิน 1 เดือน เนื่องจากเมื่อนมผงหมด ยีสต์จะถูกทำลาย แต่แบคทีเรียที่เป็น ประโยชน์อื่นยังอยู่
4. การพัก เม็ดคีเฟอร์ อาจทำได้นอกตู้เย็น โดยใส่นมเล็กน้อยบน เม็ด คีเฟอร์และวางไว้นอกตู้เย็น ในอุณหภูมิห้อง ซึ่งนมคีเฟอร์จะข้นมาก และเปรี้ยวมากด้วย
*** ดังนั้นพื่อให้ได้รับประทานนมคีเฟอร์ทุกวัน หากมีเม็ดคีเฟอร์ปริมาณมากพอ ควรแบ่งเม็ดคีเฟอร์เป็น 2 ส่วน ส่วนหนึ่งพักไว้ อีกส่วนหนึ่งนำมาเตรียมนมรับประทาน จะทำให้เกิดการหมุนเวียนของเม็ดคีเฟอร์ให้ได้พัก และเม็ดคีเฟอร์ปริมาณมากนี้สามารถแบ่งปันให้เพื่อนๆ หลังการพักเม็ดคีเฟอร์แล้วถือเป็นทานบารมีของผู้ให้ด้วย

วิธีการล้างภาชนะที่ใช้เตรียมนมคีเฟอร์
ล้างด้วยน้ำ 1- 2 ลิตร ผสมสารล้างผักผลไม้ (ผงโซเดียมไบคาร์บอเนต)1 ช้อนชา ตามด้วยน้ำ 2-3 ลิตร ผสมน้ำส้มสายชู 1 ช้อนชา ตามด้วยน้ำต้มสุกที่เย็นแล้ว หรือน้ำประปาที่คลอรีนเจือจางแล้ว แต่ตามประสบการณ์ของผู้เขียน ที่เลี้ยงเม็ดคีเฟอร์ เคยล้างภาชนะด้วยน้ำประปาธรรมดาผสมกับผงโซเดียมไบคาร์บอเนต ปรากฏว่า เม็ดคีเฟอร์ ยังเจริญตามปกติ

เอกสารอ้างอิง
Anfitcoto.Donminic N. (2005).kalir Making in-sitc. Dom’s kcfir-making .(2005.April 6 )

Harnworth.E.R.2003. Handbook of Fermented Functional foods.
CRC Press. America.390p.




 

Create Date : 08 มกราคม 2553    
Last Update : 8 มกราคม 2553 10:54:04 น.
Counter : 1019 Pageviews.  

Kefir Reference thank you

Kefir Reference thank you

//www.magma.ca/~pavel/science/Anaglyph.htm

//www.agalico.com/board/showthread.php?t=2199

//topicstock.pantip.com/lumpini/topicstock/2006/05/L4360458/L4360458.html

//users.sa.chariot.net.au/~dna/kefirpage.html

//www.kefir.net

//pharm.kku.ac.th/herbal/rqa.asp?pos=176

//en.wikipedia.org/wiki/Kefir

//www.uga.edu/nchfp/publications/nchfp/factsheets/kefir.html

//www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=30332&page=1

//www.answers.com/topic/kefir

Anfitcoto.Donminic N. (2005).kalir Making in-sitc. Dom’s kcfir-making in sitc:

//uscrchariot.nct.au/-dna/makckcfir.huml.(2005.April 6 )

Harnworth.E.R.2003. Handbook of Fermented Functional foods.

CRC Press. America.390p.

//allaboutkefir.blogspot.com/

//www.babushkaskefir.com.au/howdoesitallwork.html






 

Create Date : 19 ธันวาคม 2552    
Last Update : 19 ธันวาคม 2552 14:31:55 น.
Counter : 443 Pageviews.  

1  2  3  

Kanphicha
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 3 คน [?]




ที่มาของคำว่า Kefir By รัญรักษ์
ไม่ใช่ชื่อยี่ห้อ ไม่ใช่เครื่องหมายการค้า
แต่เป็นชื่อพ่อและแม่ของกานต์เองค่ะ
เมื่อกานต์ทำบุญครั้งใด ก็จะยกกุศลทั้งหมดให้พ่อและแม่
การแจกจ่ายบัวหิมะให้คนอื่นๆ
ถือเป็นการทำบุญอีกคร้งหนึ่ง
กานต์ขอยกกุศลผลบุญทั้งหมดให้บุพการีที่เป็นที่รักของกานต์ทั้งสองท่าน โดยการตั้งชื่อท่านทั้งสองในการแจกจ่าย Kefir นะคะ
free counters
Friends' blogs
[Add Kanphicha's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.