กิเลส
กิเลส  มีองค์ประกอบคือ

อวิชชา ตัณหา และ อุปาทาน  ทั้งหมดเป็น  กิเลส

อวิชชา คือความไม่รู้

เป็นต้นเหตุไห้เกิด  กิเลส  อวิชชาตัดได้ด้วยการมี วิชชา

วิชชา
  คือความรู้

วิชชา  คือความรู้แจ้งใน อริยสัจ เมื่อมีความรู้แจ้งแล้ว อวิชชาก็ดับ นิพพาน  ก็ปรากฏ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------
อุปาทาน คือ การยึดมั่นถือมั่นทางจิตใจ เช่น
  • ยึดมั่นถือมั่นใน  เบญจขันธ์  คือร่างกายและจิตใจรวมกันว่าเป็น "ตัวตน" และยึดมั่นถือมั่นในสิ่งที่ถูกใจ อันมาเกี่ยวข้องด้วยว่าเป็น "ของตน"
  • หรือที่ละเอียดลงไปกว่านั้นก็คือยึดถือจิตส่วนหนึ่งว่าเป็น"ตัวเรา" แล้วยึดถือเอารูปร่างกาย ความรู้สึก ความจำ และความนึกคิด ๔ อย่างนี้ว่าเป็น "ของเรา"
  • อุปาทาน 4 อย่าง
  1. กามุปาทาน ยึดติดในกาม
  2. ทิฏฐุปาทาน ยึดถือในทิฏฐิ
  3. สีลัพพัตตุปาทาน ติดยึดในศีลวัตรที่งมงาย
  4. อัตตวาทุปาทาน ยึดมั่นในตัวกู ของกู

พุทธภาษิตมีอยู่ว่า "เมื่อกล่าวโดยสรุปแล้ว เบญจขันธ์  ที่ประกอบอยู่ด้วยอุปาทานนั่นแหละเป็นตัวทุกข์"

ดังนั้น เบญจขันธ์  ที่ไม่มีอุปาทานครอบงำนั้นหาเป็นทุกข์ไม่ ฉะนั้น คำว่าบริสุทธิ์หรือหลุดพ้นจึงหมายถึง การหลุดพ้นจากอุปาทานว่า "ตัวเรา" ว่า "ของเรา" นี้โดยตรง ดังมีพุทธภาษิตว่า "คนทั้งหลายย่อมหลุดพ้นเพราะไม่ยึดมั่นถือมั่นด้วยอุปาทาน"

อ้างอิง พุทธทาสภิกขุ. "ตัวกู-ของกู"

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อุปาทาน เกิดจาก  ตัณหา

ตัณหา คือ
ความกำหนัด หรือ ความอยาก หรือ ไม่อยาก ในความรู้สึก หรือเวทนาที่เกิดขึ้นมา

ตัณหา

เกิดจาก  โลภะ  โทสะ  โมหะ  ที่เป็นผลมาจาก  อายตนะภายใน  กระทบอายตนะภายนอก  ที่เรียกว่า  ผัสสะ จนเกิด  เวทนา  ( สุข ทุกข์ เฉย ๆ )

อายตนะภายใน คือ ประสาทสัมผัส ประกอบด้วย ตา หู จมูก ลิ้น กาย และ ใจ

อายตนะภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส (เย็น ร้อน อ่อนแข็ง) อารมย์ทางใจ หรือธรรมารมย์

เมื่อมี กิเลส ก็กระทำกรรมแล้วเกิดเป็นวิบาก หมุนเวียนกันเป็นวงรอบ ทำไห้ ออกจากทุกข์ไม่ได้

วิธีดับกิเลส

ก็คือต้องเจริญ  มรรค  จนมี  วิชชา

การเจริญมรรค คือ เจริญ ศีล สมาธิ ปัญญา
หรือ สมถะ และ วิปัสสนา

-------------------------------------------------------------------------------------------------------
แบ่งกิเลสตาม สังโยชน์

สังโยชน์  คือ  กิเลสที่ผูกมัดใจคนหรือสัตว์ ไว้กับทุกข์ซึ่งมี ๑๐ อย่าง

๑. สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน
๒. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัยในพระรัตนตรัย
๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต
๔. กามราคะ ความติดใจในกามคุณ
๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ
๖. รูปราคะ ความติดใจใน
อายตนะภายในรูปธรรมอันประณีต
๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม
๘. มานะ ความถือตัวว่าเป็นนั่นเป็นนี่
๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่านในธรรม
๑๐. อวิชชา ความไม่รู้อริยสัจ


ผู้ที่ตัดกิเลสได้ก็คือพระอริยะบุคคล โดยแบ่งตามภูมิธรรมได้ดังนี้

พระโสดาบัน สามารถละสังโยชน์ขั้นต้นได้ ๓ อย่างคือ

๑. สักกายทิฏฐิ
๒. วิจิกิจฉา
๓. สีลัพพตปรามาส

พระสกิทาคามี ทำสังโยชน์ข้อ ๔ และ ๕ ให้เบาบางลงได้เท่านั้น

๔. กามราคะ เบาบาง
๕. ปฏิฆะ เบาบาง


พระอนาคามี สามารถละสังโยชน์เบื้องต่ำที่เหลืออีก ๒ ตัวคือ

๔. กามราคะ
๕. ปฏิฆะ

พระอรหันต์ สามารถละสังโยชน์เบื้องสูงได้อีก ๕ ข้อคือ

๖. รูปราคะ
๗. อรูปราคะ
๘. มานะ
๙. อุทธัจจะ
๑๐. อวิชชา





Create Date : 16 สิงหาคม 2555
Last Update : 16 สิงหาคม 2555 17:54:27 น.
Counter : 2714 Pageviews.

1 comments
  
สวัสดีนะจ้ะ เราแวะมาเยี่ยมนะจ้ะ ^____^ สักคิ้ว 6 มิติ ลบรอยสักคิ้วด้วยเลเซอร์ ลบรอยสักคิ้ว Eyebrow Tattoo Removal เพ้นท์คิ้วลายเส้น เพ้นท์คิ้ว 3 มิติ
ให้ใจหายใจ สุขภาพ วิธีลดความอ้วน การดูแลสุขภาพ อาหารเพื่อสุขภาพ ออกกำลังกาย สุขภาพผู้หญิง สุขภาพผู้ชาย สุขภาพจิต โรคและการป้องกัน สมุนไพรไทย ขิง น้ำมันมะพร้าว ผู้หญิง ศัลยกรรม ความสวยความงาม แม่ตั้งครรภ์ สุขภาพแม่ตั้งครรภ์ พัฒนาการตั้งครรภ์ 40 สัปดาห์ อาหารสำหรับแม่ตั้งครรภ์ โรคขณะตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอด การออกกำลังกาย ทารกแรกเกิด สุขภาพทารกแรกเกิด ผิวทารกแรกเกิด การพัฒนาการของเด็กแรกเกิด การดูแลทารกแรกเกิด โรคและวัคซีนสำหรับเด็กแรกเกิด เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อาหารสำหรับทารก เด็กโต สุขภาพเด็ก ผิวเด็ก การพัฒนาการเด็ก การดูแลเด็ก โรคและวัคซีนเด็ก อาหารสำหรับเด็ก การเล่นและการเรียนรู้ ครอบครัว ชีวิตครอบครัว ปัญหาภายในครอบครัว ความเชื่อ คนโบราณ
โดย: สมาชิกหมายเลข 3757448 วันที่: 20 มีนาคม 2560 เวลา:17:34:25 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

Faraday
Location :
กรุงเทพฯ  Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 5 คน [?]



ความสงบเรียบง่าย สอดคล้องกับธรรมชาติ
ความสดชื่นงดงาม สรรพเสียงที่ไพเราะเสนาะหู
คือสิ่งที่ควรรักษาให้ดำรงค์อยู่ ในช่วงชีวิตของเรา

ทำความเข้าใจสังคม สิ่งแวดล้อม ที่เราอาศัยอยู่
และดำเนินชีวิตอย่างสอดคล้องเหมาะสม
คือสิ่งดีที่สุดของการดำรงค์ชีวิต

ถ้าแม้ไม่สมที่หวัง ไม่เป็นไร ลืมมันเสีย
แล้วทำเหตุไหม่เพื่อให้มันเกิดอย่างที่ตั้งใจไว้

--------------------------------------------

สถิติ

จำนวน Blog รวม 448 Blog
จำนวนผู้ชม 200003 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 670 ครั้ง
๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ (๑๓.๐๗ น.)


จำนวน Blog รวม 445 Blog
จำนวนผู้ชม 197298 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 658 ครั้ง
๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๖ (๒๒.๑๗ น.)

จำนวน Blog รวม 423 Blog
จำนวนผู้ชม 140566 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 349 ครั้ง
๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ (๐๙.๔๑ น.)


จำนวน Blog รวม 407 Blog
จำนวนผู้ชม 122229 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 212 ครั้ง
๒๙ มกราคม ๒๕๕๖ (๐๘.๐๘ น.)

จำนวน Blog รวม 407 Blog
จำนวนผู้ชม 122024 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 212 ครั้ง
๒๘ มกราคม ๒๕๕๖ (๑๘.๕๒ น.)

จำนวน Blog รวม 405 Blog
จำนวนผู้ชม 120971 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 208 ครั้ง
๒๖ มกราคม ๒๕๕๖ (๙.๓๙ น.)

จำนวน Blog รวม 398 Blog
จำนวนผู้ชม 111449 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 167 ครั้ง
๒ มกราคม ๒๕๕๖

จำนวน Blog รวม 391 Blog
จำนวนผู้ชม 102211 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 140 ครั้ง
๒ ธันวาคม ๒๕๕๕



จำนวน Blog รวม 390 Blog
จำนวนผู้ชม 92241 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 128 ครั้ง
๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕

จำนวน Blog รวม 375 Blog
จำนวนผู้ชม 81537 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 107 ครั้ง
๖ ตุลาคม ๒๕๕๕ ( ๒๑.๓๙ )

จำนวน Blog รวม 374 Blog
จำนวนผู้ชม 80228 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 107 ครั้ง
๔ ตุลาคม ๒๕๕๕ ( ๐๙.๒๔ )

จำนวน Blog รวม 361 Blog
จำนวนผู้ชม 78077 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 101 ครั้ง
๓๐ กันยายน ๒๕๕๕ ( ๑๕.๑๔ )

จำนวน Blog รวม 361 Blog
จำนวนผู้ชม 77503 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 101 ครั้ง
๒๙ กันยายน ๒๕๕๕ ( ๑๑.๑๘ )

จำนวน Blog รวม 269 Blog
จำนวนผู้ชม 38102 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 69 ครั้ง
๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕ (๑๑.๒๕ น.)

จำนวน Blog รวม 210 Blog
จำนวนผู้ชม 18,049 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 65 ครั้ง
6 กรกฎาคม ๒๕๕๕ (๑๖.๓๙ น.)

จำนวน Blog รวม 62 Blog
จำนวนผู้ชม 5,278 ครั้ง
จำนวนผู้ชม Profile 65 ครั้ง
๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๕ (๑๐.๑๙ น.)
New Comments
Group Blog
All Blog