เรียนรู้ สู่การสร้างสรร เพื่อแบ่งปันความรู้ ให้บุคคลอื่น

คนสุรินทร์เหลา
Location :
ชลบุรี Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 4 คน [?]




ไม่มีอะไรมากหรอก จากเด็กบ้านนอก เมืองช้าง หลงทาง มาหากิน อยู่ถิ่นไกล ห่างจากบ้านตัวเองหลายร้อยกิโล
Group Blog
 
All Blogs
 
Friends' blogs
[Add คนสุรินทร์เหลา's blog to your web]
Links
 

 
มารู้จักกับ มาตรฐาน DVB-T2 ที่จะมาพร้อมกับ TV Digital ในเมืองไทย

DVB-T2 คืออะไร

   DVB-T2 เป็นมาตรฐานการส่งโทรทัศน์ภาคพื้ นดินระบบดิจิทัลที่ก้าวหน้าและทันสมัยที่สุด ที่มี
ประสิทธิภาพการใช้งานสูงสุดในขณะนี ้ สัญญาณมีความคงทน และมีความยืดหยุ่นในการใช้งาน ได้นำเสนอ
การผสมสัญญาณ (modulation) ระบบใหม่สุด และเทคนิคการเข้ารหัสสัญญาณที่มีประสิทธิภาพสูงเท่าที่มีใช้งาน
ในการส่งโทรทัศน์ในคลื่นความถี่ที่ส่งสัญญาณภาพ และเสียง และการบริการส่งข้อมูลที่ใช้สำหรับ เครื่องรับ
โทรทัศน์แบบเคลื่อนที่ (portable) และเครื่องรับโทรทัศน์แบบมือถือ (mobile) การใช้เทคนิคใหม่นีท้ ำให้ DVB-T2
มีประสิทธิภาพอย่างน้อยสูงกว่า 50% ของประสิทธิภาพการส่งโทรทัศน์ภาคพืน้ ดินระบบดิจิทัลอื่น ๆ ที่ใช้งานใน
โลก


ความเป็นมาของ DVB-T

   DVB-T เป็นมาตรฐานการส่งโทรทัศน์ภาคพืน้ ดินระบบดิจิทัล ที่หลายประเทศนำมาใช้งานอย่าง
กว้างขวาง โดยเริ่มประกาศตัวเป็นทางการในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2540 และมี 68 ประเทศ นำ DVB-T ไปใช้งาน
บริการส่งโทรทัศน์ และมากกว่า 59 ประเทศยอมรับมาตรฐานไปใช้งาน ส่วนที่สำคัญที่ยอมรับในการประกาศใช้
มาตรฐาน DVB-T สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องรับโทรทัศน์ที่มีราคาต่ำ และมีความยืดหยุ่น
เพียงพอในการดำเนินการเชิงธุรกิจ ดังนัน้ ในช่วงระยะเวลาที่เลิกการส่งโทรทัศน์ภาคพืน้ ดินระบบอนาล็อกใกล้เข้า
มา ในกลุ่มประเทศยุโรป ได้สร้างแรงผลักดันในการปรับปรุงมาตรฐานการส่งโทรทัศน์ในเรื่องประสิทธิภาพการใช้
คลื่นความถี่ให้ทันสมัย เหมือนความสำเร็จในการปรับปรุงมาตรฐานการส่งโทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียม DVB-S2
ที่ได้ดำเนินการไปเรียบร้อยแล้ว
   เช่นเดียวกันมาตรฐานการส่งโทรทัศน์ทัง้ หมดของ DVB การส่งโทรทัศน์ภาคพืน้ ดินระบบดิจิทัล DVB-T2
มีพืน้ ฐานขึน้ อยู่กับความต้องการในการตอบสนองเชิงธุรกิจ ส่วนที่สำคัญคือ ความต้องการที่จะเพิ่มขนาด
สัญญาณการส่งรายการโทรทัศน์ให้มากขึน้ ปรับปรุงคุณภาพของสัญญาณให้มีความทนทาน และสามารถที่จะ
ใช้งานกับสายอากาศเครื่องรับโทรทัศน์เดิมที่ใช้งานอยู่ได้ DVB-T2 รุ่นแรกได้ประกาศใช้งานด้วยมาตรฐาน ETSI
ในเดือน กันยายน พ.ศ. 2552 (EN302 755) และต่อมารุ่นปรับปรุงใหม่ ซงึ่ ได้กำหนดเป็นกลุ่มย่อยของ DVB-T2
เหมาะสมสำหรับการรับโทรทัศน์แบบเคลื่อนที่ (portable) และการรับโทรทัศน์แบบมือถือ (T2-Lite) ถูกนำเสนอ
ในเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2554 (DVB BlueBook A122)



DVB-T2 ทำงานอย่างไร

   เช่นเดียวกับ DVB-T คุณสมบัติทางเทคนิคของ DVB-T2 ใช้หลักการผสมสัญญาณ OFDM (orthogonal
frequency division multiplex) โดยการแบ่งคลื่นความถี่วิทยุเป็นความถี่ย่อยจำนวนมาก เพื่อให้ส่งสัญญาณที่มี
ความคงทน สิ่งที่เหมือนกันของ DVB-T และ DVB-T2 มีการเสนอให้มีการปรับโหมดการทำงานได้หลายแบบ
เป็นมาตรฐานการส่งโทรทัศน์ที่มีความยืดหยุ่นอ่อนตัว DVB-T2 ใช้เทคนิคระบบป้ องกันแก้ไขความผิดพลาดของ
สัญญาณเหมือนกับมาตรฐานการส่งโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม (DVB-S2) และมาตรฐานการส่งโทรทัศน์ผ่านสาย
นำส่งสัญญาณ (DVB-C2) เทคนิคการเข้ารหัสสัญญาณ LDPC (Low Density Parity Check) รวมกันกับการ
เข้ารหัสสัญญาณ BCN (Bose-Chaudhuri-Hocquengham) เพื่อให้สัญญาณมีความคงทน หลาย ๆทางเลือกมี

   ให้ใช้ในการกำหนดจำนวนคลื่นความถี่ที่ใช้ออกอากาศ และกำหนดขนาดช่วงคาบเวลา (guard interval size) ใน
การกำหนดสัญญาณนำร่อง (pilot signal) ดังนัน้ สงิ่ ที่กล่าวมาข้างต้น จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพเป้ าหมายใน
ระบบส่งสัญญาณโทรทัศน์ในช่องคลื่นความถี่ที่กำหนด คุณสมบัติที่สำคัญของเทคโนโลยีใหม่ DVB-T คือ
   Multiple Physical Layer Pipe ให้มีการแยกปรับโหมดเกี่ยวกับการกำหนดค่าความคงทนของสัญญาณ
โทรทัศน์ ในการที่จะรองรับการให้บริการส่งโทรทัศน์ในรูปแบบต่างสภาพการใช้งาน ตัวอย่าง เช่น การรับ
สัญญาณโทรทัศน์ภายในอาคาร หรือการรับสัญญาณโทรทัศน์จากสายอากาศที่ติดตัง้ บนหลังคาของ
อาคารที่พักอาศัย อีกทัง้ ช่วยให้การส่งสัญญาณโทรทัศน์ โดยเฉพาะเครื่องรับโทรทัศน์ชว่ ยประหยัด
พลังงานในการถอดรหัสสัญญาณเฉพาะการส่งสัญญาณโทรทัศน์รายการเดียวเมื่อเทียบกับการถอดรหัส
การให้บริการส่งสัญญาณหลายรายการรวมกัน (Multiplex)
   Alamouti coding วิธีการหลากหลายในการส่งสัญญาณโทรทัศน์ จะช่วยปรับปรุงเขตบริการรับ
สัญญาณโทรทัศน์ ในเครือข่ายการส่งโทรทัศน์ความถี่เดียวกัน ในขนาดพืน้ ที่บริการขนาดเล็ก
   Rotated Constellations ให้การเพมิ่ ความคงทนของสัญญาณโทรทัศน์ ในการสงั่ การระดับต่ำ
   Extended interval ขยายช่องสัญญาณในการส่งข้อมูลสัญญาณ ในการเพมิ่ ข้อมูล (bit) เพิ่มขนาดกลุ่ม
ข้อมูล (cell) เพิ่มช่องคาบเวลา และเพิ่มช่วงการใช้คลื่นความถี่
   Future Extension Frame (FEF) ให้มาตรฐานการส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่สอดคล้องการปรับคุณภาพสูง
ขึน้ ในอนาคต

   จากผลสรุปดังกล่าว DVB-T2 สามารถเสนออัตราการส่งข้อมูลสูงกว่า DVB-T หรือสัญญาณโทรทัศน์มีความ
คงทนมากกว่า จากการเปรียบเทียมตามตารางข้างล่าง แสดงอัตราส่งข้อมูลสูงสุด เมื่อกำหนดค่าสัญญาณ
รบกวนเท่ากัน และเป็นค่าความต้องการในการใช้งานของอัตราส่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์



T2-Lite

   T2-Lite คือการเพิ่มกรอบบรรจุข้อมูลในการส่งสัญญาณโทรทัศน์ครัง้ แรกที่ให้เทคนิคสู่ระบบ FEF
รายละเอียดถูกนำเสนอในเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2554 ซึ่งรองรับการส่งโทรทัศน์แบบชนิดเคลื่อนที่ (portable)
และยังทำให้ค่าใช้จ่ายลดลงในการดำเนินการ รายละเอียดใหม่ที่เสนอเป็นส่วนย่อย ในการเพิ่มเติมอัตราการใช้ใน
การเข้ารหัสสัญญาณ LDPC ในข้อกำหนดเทคนิคของ DVB-T2 เมื่อให้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องเฉพาะการรับ
15
   สัญญาณโทรทัศน์แบบชนิดเคลื่อนที่ (Portable) ประกอบด้วยส่วนย่อยของ T2-Lite และอัตราข้อมูลที่จำกัด 4
Mbit/s ต่อระบบท่อส่งข้อมูล (Physical Layer Pipe : PLP) วิธีการดำเนินที่ซัดซ้อนถูกลดลง 50% กลไกของ
ระบบ FEF ช่วยให้การส่งข้อมูล T2-Lite และ T2-Base สามารถส่งข้อมูลในช่องสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุ (RF)
ในหนึ่งช่องสัญญาณ

>> รายละเอียดของ DVB-T2 << คลิ๊ก



Create Date : 09 มีนาคม 2556
Last Update : 9 มีนาคม 2556 14:52:29 น. 0 comments
Counter : 849 Pageviews.

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 
 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.