Group Blog
กรกฏาคม 2563

 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
 
 
All Blog
รวมภาพธงกฐิน ร้านสะพานบุญ - จระเข้ มัจฉา เต่า ตะขาบ 089-6891465







โลเคชั่นร้าน คลิก
https://goo.gl/maps/Fg3bTMmGREnCsWb46

WEB :  www.saphanboon109.com

ธงกฐิน   คลิก 
















































ธงมัจฉา จระเข้ เต่า ตะขาบ 








banner







































ตำนานธงกฐิน ปริศนาธรรม 

( คลิกตรงนี้ ต้นฉบับ

"มีเศรษฐีขี้เหนียวคนหนึ่ง ตายแล้วไปเกิดเป็นจระเข้ ว่ายวนเวียนอยู่ท่าน้ำบ้านตัวเอง ความขี้เหนียวของแกเลื่องลือ เขาว่าขี้เหนียวถึงขนาด "กินข้าวเช้า กินเอาตอนเพล บางทีข้าวเย็น ก็เว้นไม่กิน ทนอดทนอยาก ลำบากเสียเปล่า เมียบ่นหิวข้าว ผัวเฒ่าตีดิ้น กลัวยากกลัวจน ยอมทนอมลิ้น เมียกลัวเหงื่อริน ก็เลยเป็นลม" ท้ายสุุดเศรษฐีตายไปทั้ง ๆ ที่อดอยาก กลายเป็นจระเข้วนเวียนอยู่แถวนั้น ไปไกลก็ไม่ได้ เพราะใจที่ผูกอยู่กับทรัพย์สินดึงเอาไว้

ด้วยความที่ดวงจิตดิ้นรนอยากจะไปเกิด ก็เลยไปเข้าฝันภรรยาตัวเอง บอกภรรยาให้ไปขุดสมบัติที่หัวสะพานขึ้นมาทำบุญ แกจะได้ไปเกิดที่อื่นได้ ภรรยาและลูกก็เลยไปช่วยกันขุดมา เมื่อขุดมาได้แล้วก็ตั้งใจที่จะทำบุญกฐินให้ จึงไปจองกฐิน พอดีมีวัดที่ยังไม่มีคนจองเป็นเจ้าภาพกฐิน ถึงเวลาก็แห่เครื่องกฐินไปทางเรือ จระเข้ก็พยายามว่ายน้ำตาม ว่ายไป ๆ ก็หมดแรงไปไม่ไหว อาจจะเป็นเพราะเฝ้าสมบัติมานาน อายุมากแล้ว ก็เลยบอกกับภรรยาและลูกว่า ให้วาดรูปตน (จระเข้) เอาไว้ในกองกฐิน เหมือนกับว่าตัวเองไปด้วย หลังจากนั้นจระเข้ก็สิ้นใจตาย

ดังนั้น รูปจระเข้ก็เลยเป็นสัญลักษณ์ในการทอดกฐิน ถ้าวัดไหนมีธงมัจฉาหรือธงจระเข้อยู่ ก็รู้ว่าวัดนั้นมีคนจองเป็นเจ้าภาพกฐินแล้วหรือได้รับกฐินแล้ว เขาก็จะไปหาวัดที่ไม่มี


ความหมาย ธงกฐิน 
( คลิกตรงนี้ ต้นฉบับ ) 

ปัจจุบัน ธงรูปจระเข้คาบดอกบัวจึงเป็นสัญลักษณ์การทอดกฐิน หรือธงตะขาบ มีตำนานคล้ายคลึงกัน ต่างกันเพียงแต่เมื่อตายไปก็เกิดเป็นตะขาบคอยเฝ้าสมบัติ ส่วนตำนานหรือนิทานพื้นบ้านเรื่องเล่าเกี่ยวกับธงกฐินรูปนางมัจฉายังไม่มีปรากฏให้เห็น นอกจากธงกฐินรูปจระเข้และนางมัจฉาแล้วบางแห่งใช้ธงเป็นรูปเต่า ตะขาบ หรือแมลงป่อง
ดังนี้แล้วปริศนาธรรมในธงกฐิน ทั้ง 4 ประเภท คนโบราณที่กล่าวไว้ สรุปได้ จระเข้ หมายถึง ความโลภ, กินรีหรือนางมัจฉา หมายถึง ความหลง, ตะขาบ หมายถึง ความโกรธ และเต่า หมายถึง สติ นั่นเอง

ส่วนเครื่องหมายและความสำคัญของธงกฐินนั้น ธงรูปจระเข้คาบดอกบัว เป็นเครื่องหมายแสดงว่าวัดนี้ได้มีการทอดกฐินแล้ว จะนำธงจระเข้นี้ไปปักไว้หน้าวัด ผู้คนที่ผ่านไปมาก็ยกมือขึ้นอนุโมทนาในกองการกุศลเรื่องกฐิน
ธงรูปกินรีหรือนางมัจฉาถือดอกบัว เป็นเครื่องหมายที่แสดงถึงความเชื่อว่า อานิสงส์จากการถวายผ้าแก่พระภิกษุสงฆ์แล้ว ผู้ถวายจะมีรูปร่างงดงาม, ธงรูปตะขาบ เป็นเครื่องหมายที่แสดงว่า วัดนี้มีคนมาจองกฐินแล้ว เพื่อให้ผู้จะมาปวารณาทอดกฐินผ่านไปวัดอื่น ไม่ต้องเสียเวลามาถาม
และธงรูปเต่า เป็นเครื่องหมายเพื่อแสดงว่า วัดนี้ทอดกฐินเรียบร้อยแล้ว โดยจะนำธงลงในวันเพ็ญ เดือน12





 อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับตำนานกฐิน คลิก 










นอกจากนี้ ธงวัดใช้มีหลายแบบ เช่น ธงธรรมจักร ธงฉัพพรรณรังสี ธงชาติไทย ธงราวสามเหลี่ยมจัดงานวัด ธงในหลวง ธงพระราชินี เป็นต้น 










































** รีวิวงานทอดกฐินลูกค้าร้านสะพานบุญ คลิก ** 


** ธงกฐินสะพานบุญ  คลิก ** 
 
แอดไลน์ออโต้ที่นี่ค่ะ
 
หรือ 
https://line.me/ti/p/@saphanboon109
  หรือ ไอดีไลน์ : @saphanboon109

อย่าลืมใส่ @
 



Create Date : 31 กรกฎาคม 2563
Last Update : 20 มีนาคม 2567 9:41:46 น.
Counter : 2961 Pageviews.

0 comments

อชิรวิชญ์
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 5 คน [?]