กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ(สํ.สฬ.18/217/166) เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า"ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
หลักปฏิบัติ: แยกจากหัวข้อใหญ่
สภาวธรรม
เบญจขันธ์
อายตนะ
ไตรลักษณ์
ปฏิจจสมุปบาท
กรรม
วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน
ผู้บรรลุนิพพาน
หลักบรรลุนิพพาน
มัชฌิมาปฏิปทา
ปรโตโฆสะ
โยนิโสมนสิการ
ปัญญา
ศีล
สมาธิ
อริยสัจ ๔
อารยธรรมวิถี
แรงจูงใจคน
ความสุข ๑
ความสุข ๒
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลาให้สังคม ฯ
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
เรื่องเหนือสามัญวิสัย
รู้เขา รู้เรา
คำพูดของคนใกล้สิ้นลม
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
มาฆบูชา กับ วาเลนไทน์
แรงผลักดันมนุษย์
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
ตุลาคม 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
22 ตุลาคม 2564
บัญญัติจะดี ปัญญาต้องเต็ม เจตนาต้องตรง
ปัญญาต้องรู้ชัด เจตนาตั้งไว้ถูก
รู้ธรรมแล้วบัญญัติวินัย
ธรรม กับ วินัย แยกให้ชัด
นิติ
ฆ่าเขาได้แล้วเราอยู่เป็นสุข
ตอบคำถามท้ายเรื่อง (จบ)
ตอบคำถามท้ายเรื่อง (ต่อ)
ตอบคำถามท้ายเรื่อง
Pictures
ตุลาการ ๔ ความหมาย
ธรรมะที่ทำให้เข้มแข็งและเป็นสุขในการทำหน้าที่
ข้างใน มีใจเที่ยงตรง ข้างนอก เป็นธรรมเสมอกันทุกคน
สมานัตตตา อีกแง่หนึ่ง
จริยธรรมในใจ ออกประสาน จริยธรรมทางสังคม
ถ้ารู้เข้าใจ อนิจจัง ผิด ก็ยุ่ง
ปัญญาที่แท้ก็ต้องชัด ถ้าไม่ชัดก็ยังไม่เป็นปัญญา
พรหมวิหาร หลักประกันสันติสุข
อุเบกขาดำรงรักษาธรรม
อำนาจ
มองพรหมวิหารคือคำนึงทุกสถานการณ์
พรหมวิหาร
ธรรมะอาศัยกันและกัน
มองพระพุทธศาสนาให้ครบ
ย้ำ เจตนา อีกที
เจตนาพามนุษย์ยุ่งนุงนังด้วยปัญหา
ไตรสิกขาระบบพัฒนาคนทั้งคน
ศีลธรรมค่อยๆหล่นหาย ตั้งแต่มีแผนพัฒนาฯ
ไปให้ถึงจริย(ธรรม)แท้ที่เป็นระบบ
เข้าใจ จริยธรรม ให้ชัด
ความไม่รู้บังความรู้
เน้นย้ำ บัญญัติธรรม อีกที
สภาวะ จริยะ บัญญัติ ซ่อนอยู่ใต้ ธรรมวินัย
พักเบรคความคิด
ปัญญา กับ เจตนา คุณสมบัติในตัวคน
บัญญัติจะดี ปัญญาต้องเต็ม เจตนาต้องตรง
ปัญญาต้องรู้ชัด เจตนาตั้งไว้ถูก
รู้ธรรมแล้วบัญญัติวินัย
ธรรม กับ วินัย แยกให้ชัด
ธรรม เป็นกฎธรรมชาติ มีอยู่ตามธรรมดาของมัน
ถ้าเป็นธรรม ก็ถูกต้องตามความจริง
จะนั่นนี่โน่นให้เป็นธรรม ต้องรู้จักธรรม
หลักเบื้องต้น คือ เจตนา กับ ปัญญา
ศัพท์ยาก ที่ต้องแปล
เจตนารมณ์หนังสือ ผู้พิพากษาตั้งตุลาฯ
ธรรม กับ วินัย แยกให้ชัด
คน
อยู่ในกำกับของกฎธรรมชาติ
จะอยู่กันให้ดี ก็บัญญัติ
"
วินัย
"
เป็น
กฎมนุษย์
ขึ้นมา
ทีนี้ เราจะเอาความจริงนั้นมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เราต้องการให้สังคมของเราเป็นอย่างไร ต้องการให้ชีวิตของเราเป็นอย่างไร เรามองเห็นว่า อ้อ...ต้องทำอย่างนี้นะๆๆ ถ้าทำอย่างนี้แล้วจะเกิดผลดีขึ้นมา เราต้องการให้มีการปฏิบัติอย่างนั้น ซึ่งสอดคล้องกับความจริงในทางที่เกิดผลดี
พร้อมกันนั้น เราก็ไม่ต้องการให้เกิดการปฏิบัติตรงข้ามที่จะเป็นเหตุปัจจัยนำมาซึ่งความเสื่อม
ถึงตอนนี้ เราก็เลยอาจจะมาตกลงกัน หรือว่าใครมีอำนาจ หรือได้รับความเชื่อถือศรัทธา ก็มาพูดกัน บอกกันว่า เออ...พวกเรา เอาอย่างนี้นะ เพื่อให้สังคมของเราดี เพื่อให้ชีวิตของพวกเราดี เราทำกันอย่างนี้นะๆ เราละเว้น ไม่ทำอย่างนั้นๆนะ
แล้วก็ เพื่อให้แน่นอนมั่นใจว่าจะทำจะปฏิบัติกันจริงจังตามนั้น ก็วางลงไปเป็นกฎ เป็นกติกา เป็นระเบียบ ให้ยึดถือปฏิบัติกันในสังคมในครอบครัว จนกระทั่งในชีวิต ว่าต้องทำอย่างนี้ๆ ต้องไม่ทำอย่างนั้นๆ
ยิ่งกว่านั้น ก็ยังสำทับให้หนักแน่นแม่นมั่นยิ่งขึ้นไปอีกว่า ถ้าขัดขืน หรือฝ่าฝืน ไม่ทำตาม หรือละเมิดข้นนั้นๆ สังคมคือคนด้วยกันนี้จะลงโทษอย่างนั้นๆ
(ตามความจริงของกฎธรรมชาติ ก็จะเกิดผลร้าย ซึ่งเรียกเป็น
บุคลาธิษฐาน
ว่า
ธรรมชาติจะลงโทษ
อยู่แล้ว แต่โทษตามธรรมชาตินั้น คนอาจจะไม่เห็นชัดเจน ไม่ทันใจ หรือซับซ้อนเกินกว่าที่คนทั่วไปจะเข้าใจ คนด้วยกันก็ลงโทษเสียเลยให้ได้ผลในทางปฏิบัติจนพอใจ)
อันนี้ก็เลยกลายเป็นการจัดตั้งวาง
แบบแผน ระเบียบ กฎเกณฑ์ กติกา
ตลอดจน
กฎหมาย
ขึ้นมา
กฎกติกา ระเบียบ แบบแผน ตลอดจนกฎหมาย ที่จัดตั้งวางลงไปให้ถือปฏิบัติกันนี้ เรียกรวมๆ ตามภาษาพระเป็นคำเดียวว่า "
วินัย
"
ส่วนการกระทำในการจัดตั้งวาง หรือกำหนดลงไป เรียกว่า "
บัญญัติ
"
ก็จึงมี "
วินัย
" คือ
กฎกติกา ข้อบังคับ ระเบียบ แบบแผน
ฯลฯ ตลอดจนกฎหมาย ที่
คนเรา
นี้เอง "
บัญญัติ
" ขึ้น คือจัดตั้งสั่งการ หรือ ตกลงกันวางกำหนด หรือ ตราลงไว้
นี้ก็มา เข้าคู่กับ "
ธรรม
" คือความจริงตามธรรมดาของธรรมชาติ (หรือตามกฎธรรมชาติ) ที่เป็นของมันอย่างที่มันเป็นอยู่ และเป็นไปนั้น ซึ่งท่านรู้หรือค้นพบแล้ว ก็นำมา "เทศน์" คือ แสดง ให้รู้ให้เข้าใจกัน
รวมความว่า เป็นเรื่องของคน หรือ สังคมมนุษย์ที่มีการบัญญัติ กฎเกณฑ์ กติกา กฎหมาย (วินัย) ขึ้นมา เพื่อจะให้ความจริงที่มีอยู่ตามธรรมดาของธรรมชาติ (ธรรม) นั้น เกิดผลดีแก่ชีวิตและสังคมมนุษย์ หรือว่าเพื่อให้มนุษย์ปฏิบัติให้สอดคล้องกับความจริงของธรรมดาในทางที่จะ เกิดผลดีแก่ชีวิตและสังคมของตนเอง
ทีนี้ ในด้านของ
มนุษย์
นั้น เมื่อจะให้สมความประสงค์ของตน ก็ต้องจัดการให้มีหลักประกันที่จะให้ "วินัย" ได้ผลจริง ดังนั้น เมื่อบัญญัติกฎ กติกา ระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย ฯลฯ ขึ้นมาแล้ว ก็จึงต้องพัฒนาระบบ กระบวน การ และมาตรการต่างๆ มากมายขึ้นมารับทอดต่อจากกฎหมาย เป็นต้น ที่ตนได้บัญญัติขึ้นนั้น
จึงเกิดมีการบริหารการปกครอง
ให้เป็นไปตามกฎหมายที่ได้บัญญัติ ตลอดมาถึงกระบวนการพิจารณาตัดสินโทษ และการลงโทษผู้ที่ขัดขืน และผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย เป็นต้น ที่ได้บัญญัติเหล่านั้น
ระบบกระบวนการ และมาตรการเหล่านี้ ซึ่งอยู่ในขั้นตอนของบัญญัติทั้งหมด (อย่างที่ปัจจุบันจัดเป็น นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ รวมทั้งกระบวนการยุติธรรมทั้งสิ้น)
ทางพระเรียกรวมคำเดียว
ว่า "
วินัย
"
ถึงตรงนี้ ก็เป็นอันได้มีคำคู่ว่า "ธรรมวินัย" ซึ่งประกอบด้วย
๑.
ธรรม
คือ ความจริงที่เป็นอยู่เป็นไปตามธรรมดาของธรรมชาติ
๒.
วินัย
คือ ข้อที่มนุษย์บัญญัติขึ้นมาให้พวกตนปฏิบัติให้ถูกต้อง
แต่วินัยในภาษาไทย มีความหมายไม่ตรงกับที่พระพุทธเจ้าสอนไว้ จึงต้องขอให้ทำความเข้าใจให้ชัด โดยแยกออกจากความหมายในภาษาไทย (ในภาษาไทย วินัยมีความหมายแคบลงไปมาก)
ธรรมเป็นความจริง ที่เป็นอยู่เป็นไปตามธรรมดาของมัน
พระพุทธเจ้าจึงทรงเพียงนำมาแสดงตามที่มันเป็น แต่
วินัยเป็นเรื่องที่ทรงจัดตั้ง วาง
หรือ
ตราขึ้นให้คนปฏิบัติ
ศัพท์สำหรับวินัย
ก็เลยเรียกว่า
บัญญัติ
ในธรรมชาติมีธรรมอยู่เอง แต่คนบัญญัติวินัยขึ้นมา และ ๒ อย่าง นี้ ต้องสอดคล้องซึ่งกันและกัน คือ
วินัย
ต้องตั้งอยู่บนฐานของ
ธรรม
หมายความว่า คนต้องรู้ความจริงว่าเป็นอย่างไร แล้วบัญญัติ กฎ กติกา ที่พวกตนจะต้องปฏิบัติให้ตรงตามความเป็นจริง เพื่อจะให้ได้ผลขึ้นมาตามความเป็นจริงนั้น
เมื่อ
จับหลักธรรม
กับ
วินัยได้
แล้ว ก็จะมองเห็นว่า พระพุทธศาสนาทั้งหมดก็มีเท่านี้เอง
เพราะฉะนั้น
พระพุทธเจ้า จึงใช้คำเรียกพระศาสนาของพระองค์สั้นๆ
ซึ่งเป็นคำสรุปพระพุทธศาสนาอยู่ในตัวว่า "
ธรรมวินัย
"
แยก ธรรม กับ วินัย ให้ขาด วินัย ก็มองให้กว้างถึง กฎ กติกา ระเบียบ แบบแผน ตลอดจนกฎหมายด้วย
Create Date : 22 ตุลาคม 2564
Last Update : 22 ตุลาคม 2564 11:28:49 น.
0 comments
Counter : 282 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ให้ทิปเจ้าของ Blog
[
?
]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 6 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com