space
space
space
 
ตุลาคม 2560
1234567
891011121314
15161718192021
22232425262728
293031 
space
space
31 ตุลาคม 2560
space
space
space

เรื่องเตียงเป็นเรื่องที่เขากำหนด เตียงผู้ป่วยมาตรฐานที่คุรุเเพทย์กำหนด


     โดยทั้วไปเเล้วคนเราไม่ค่อยจะให้เรื่องความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องเตียงผู้ป่วยมากหนัก เพราะเป็นเรื่องของทางโรงพยาบาลที่เขาได้กำหนดเรื่องเตียงให้เราอยู่เเล้วว่าเตียงผู้ป่วยเเต่ละเตียงนั้นเขาต้องมีมาตรฐานเท่าไหร่ 
  อย่างบทความนี้ผมจะเขียนว่ามาตรฐานที่ทางโรงพยาบาลนั้นกำหนดจะต้องเป็นลักษณะเตียงอย่างไร   ซึ่งทางคุรุภัณฑ์ทางการเเพทย์นั้นได้กำหนดว่าเตียงผู้ป่วยดังนี้
  ข้อกำหนดด้านความปลอดภัย (Safety)

เตียงผู้ป่วยจัดเป็นครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ซึ่งมีการออกแบบเป็นพิเศษเพื่อให้ผู้ป่วยฟักฟื้น และเคลื่นย้ายผู้ป่วยระหว่างการรักษา ซึ่งหากมีข้อบกพร่องอาจส่งผลเสียต่อผู้ป่วยได้ ในปี 2002  มีรายงานจานวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุที่มีอวัยวะติดในส่วนประกอบของเตียงของประเทศสหรัฐอเมริกามีสูงถึง 116 ราย จึงต้องพิจารณาประเด็นหลักด้านความปลอดภัย 3 ประเด็น ได้แก่ ความแข็งแรงของเตียง (วัสดุที่ใช้ผลิตและโครงสร้างของเตียง) ขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วย และโอกาสในการเกิดอุบัติเหตุกับร่างกายผู้ป่วย  (อาทิ การตกเตียง หรือมีอวัยวะติดในช่องว่างของเตียง)

ดังนั้น การออกแบบเตียงจึงพิจารณาถึงอวัยวะของผู้ป่วยและส่วนประกอบของเตียงที่มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุได้บ่อยขนาดเตียงต้องได้มาตรฐาน และผ่านการทดสอบน้าหนักสูงสุดที่สามารถรองรับได้  ดังนั้น เตียงผู้ป่วยจะต้องมีการควบคุมการผลิตหรือนาเข้าจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) 
1. เตียงผู้ป่วย ต้องเป็นไปตามมาตรฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 
   1.1 IEC 60601-2-38 Medical electrical equipment - Part 2: Particular requirements for the safety of electrically operated hospital beds 
   1.2 IEC 60601-2-52 Medical electrical equipment - Part 2-52: Particular requirements for basic safety and essential performance of medical beds 
   1.3 ข้อแนะนาขององค์การอาหารและยา FDA (2006)

ทั้งนี้เตียงผู้ป่วยไฟฟ้ำ ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน UL 60601-1 Medical electrical equipment – Part 1: General requirements for safety ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 
2. ขนาดของเตียง มีความกว้าง 90–130 เซนติเมตร ความยาวขั้นต่า 200 เซนติเมตร และสูงจากพื้นถึงพื้นเตียง 25–40 เซนติเมตร 
3. ควำมสูงและควำมยำวของรำวกั้นเตียง ควรมีขนาดได้มาตรฐานตามตารางที่ 1 
4. โครงสร้างของเตียง วัสดุที่ใช้ผลิตต้องมีความแข็งแรง ไร้สนิม การออกแบบโครงสร้างต้องผ่านการทดสอบความสามารถในการรับน้าหนัก และระบุน้าหนักสูงสุดที่เตียงสามารถรับได้ อาทิ 200 กิโลกรัม 
5. วัสดุที่ใช้ผลิต เตียงประกอบด้วยหลายชิ้นส่วน เตียง 1 หลังอาจใช้วัสดุหลายชนิด ได้แก่ เหล็ก อลูมิเนียม สแตนเลส พลาสติกABS (Acrylonitrile-butadiene-styrene) และไม้ ทั้งนี้ ต้องมีความทนทาน ปราศจากสนิม ง่ายต่อการทาความสะอาด ดูแลรักษา และทาให้ปราศจากเชื้อ 
6. ออกแบบโดยคำนึงถึงอวัยวะที่มีโอกำสเกิดอุบัติเหตุบ่อย  การออกแบบเตียงนั้นจาเป็นต้องให้ความระมัดระวังต่อการเกิดอันตรายต่อร่างกายของผู้ป่วย ซึ่งร่างกายส่วนที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งคือ ศรีษะ คอ และลาตัว จึงได้มีการกาหนดมาตรฐานเพิ่มใน IEC 60601-2-38 
   6.1 การลดอุบัติเหตุที่เกิดกับส่วนศรีษะ ช่องว่างต่างๆ ของเตียงไม่ควรมีขนาดใหญ่หรือกว้างพอที่ศรีษะจะเข้าไปติดได้  แนะนาควรใช้ขนาดความกว้างน้อยกว่า12 เซนติเมตร ทั้งนี้ ต้องอ้างอิงจากข้อมูลของประชากรส่วนใหญ่ 
   6.2 การลดอุบัติเหตุที่เกิดกับส่วนคอ ช่องว่างต่างๆ ของเตียงไม่ควรทาให้คอติดได้ แนะนาให้มีขนาดความกว้างของช่องว่างน้อยกว่า 6เซนติเมตร 
   6.3 มุมของราวกั้นเตียง กรณีมีลักษณะเป็นตัววี ควรออกแบบให้มุมของราวกั้นเตียงกับฟูกมีองศามากกว่า60 องศา (รูปที่ 4) 
   6.4 การลดอุบัติเหตุที่เกิดกับส่วนหน้าอก เพื่อไม่ทาให้ลาตัวติดระหว่างราวกั้นเตียง ควรใช้ขนาดความกว้างน้อยกว่า31.8 เซนติเมตร


7. ออกแบบโดยคำนึงถึงส่วนประกอบของเตียงที่มีโอกำสเกิดอุบัติเหตุบ่อยซึ่งมี 7 ส่วนแสดงในรูปที่ 5



   7.1 ช่องว่างราวกั้นเตียงควรออกแบบให้ช่องว่างในราวกั้นเตียง กว้างน้อยกว่า 12 เซนติเมตร เพื่อให้มีขนาดเล็กเพียงพอที่จะปัองกันไม่ให้ศรีษะของผู้ป่วยติด 
   7.2 ช่องว่างใต้ราวกั้นเตียง หมายถึง ช่องว่างระหว่างใต้ราวกั้นเตียงกับฟูกควรมีความกว้างน้อยกว่า 12 เซนติเมตรเพื่อป้องกันอุบัติเหตุในส่วนคอที่อาจเข้าไปติดได้ ทั้งนี้ ขึ้นกับความหนาของฟูกซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลาการใช้งาน 
   7.3 ช่องว่างระหว่างราวกั้นเตียงกับฟูก หมายถึง ช่องว่างราวกั้นเตียงด้านในกับฟูกช่องว่างนี้ควรเล็กเพียงพอที่จะป้องกันไม่ให้ศรีษะของผู้ป่วยไปติด ควรมีความกว้างน้อยกว่า 12 เซนติเมตร 
   7.4 ช่องใต้ปลายราวกั้นเตียง หมายถึง ช่องว่างระหว่างใต้ปลายราวกั้นเตียงกับฟูก อาจทาให้คอของผู้ป่วยเข้าไปติดได้ จึงควรมีความกว้างน้อยกว่า 6 เซนติเมตรทั้งนี้ ขึ้นกับความหนาของฟูกซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลาการใช้งาน 
   7.5 ช่องว่างระหว่างคู่ของราวเตียง หมายถึง ช่องว่างระหว่างปลายราวกั้นเตียงของแต่ละคู่ที่อยู่ฝั่งเดียวกัน ช่องว่างนี้อาจทาให้ลาตัวหรือคอของผู้ป่วยติดได้ 
   7.6 ช่องว่างระหว่างราวกั้นเตียงกับส่วนหัวหรือส่วนท้ายเตียง อาจทาให้คอหรือลาตัวของผู้ป่วยติดได้ 
   7.7 ช่องว่างระหว่างหัวหรือท้ายเตียงกับฟูก อาจทาให้ศรีษะผู้ป่วยติด

ข้อกำหนดด้านประสิทธิภาพ
เตียงผู้ป่วยเป็นครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่ผู้ป่วยใช้พักฟื้นระหว่างการรักษา โดยมีกลไกในการปรับองศาของหลัง ขาและเข่า และความสูงต่าของเตียง มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันแผลกดทับในคน...

แนวทางการพิจารณาการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ดังนี้ 
1. ผู้นำเข้า ต้องมีหนังสือรับรองการขาย จาก อย. 
2. โรงงานผู้ผลิต ต้องได้รับมาตรฐาน...
    ซึ่งหากสนใจที่ต้องการเรียนรู้เเละเลือกซื้อเตียงผู้ป่วยเเบบไหมสามารถที่จะเข้าไปคลิกได้ที่ https://goo.gl/Eq4FzP








Create Date : 31 ตุลาคม 2560
Last Update : 31 ตุลาคม 2560 16:11:37 น. 0 comments
Counter : 3108 Pageviews.

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 
space

สมาชิกหมายเลข 4196744
Location :


[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]






space
space
[Add สมาชิกหมายเลข 4196744's blog to your web]
space
space
space
space
space